SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 54
DIFFERENTIAL DIAGNOSIS  NEUROLOGIAL DISEASE RangsimaPoomsawat                       E mail :  rangsima@chiangmai.ac.th to_rangsima@hotmail.com http://rangsima.motionforum.net/forum.htm http://www.facebook.com/RangsimaPoomsawat 6/6/2010 1 rangsima@chiangmai.ac.th
OBjective วินิจฉัยแยกโรคในกลุ่มอาการระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อได้ อธิบายสาเหตุ อาการ ของโรคที่พบบ่อยในระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูกและข้อได้ ซักประวัติ ตรวจร่างกาย โรคระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อได้ บอกแนวทางการรักษาโรคที่พบบ่อยในระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อได้ 6/6/2010 2 rangsima@chiangmai.ac.th
NEUROLOGICAL ปวดศีรษะ                    --    HEADACHE เวียนศีรษะ                   --    DIZZINESS ชา                                 --   PARESTHESIA/NUMBNESS กล้ามเนื้ออ่อนแรง        -- WEAKNESS ชักมือเท้าเกร็ง             --  MOTOR CONTROL PROBLEM/ CRAMP MUSCULO-SKELETON ปวดข้อ                                      -- ARTHRALGIA ปวดหลัง                                    -- BACK  PAIN ปวดเมื่อยตามข้อกล้ามเนื้อ        -- MUSCULOTENDINIOUS STRAIN 6/6/2010 3 rangsima@chiangmai.ac.th
HEADACHE 6/6/2010 4 rangsima@chiangmai.ac.th
HEADACHE HISTORY TAKING Palliative factors : ใช้สายตามีรอบเดือนสุรา  Relieving factors : นอนพักยาเปลี่ยนท่า  อาการร่วม :  ชักกระตุก คอแข็ง ปวดศีรษะอย่างรุนแรง อาเจียนรุนแรง แขนขาอ่อนแรง  ปวดศีรษะนานเกิน 3 วัน ปวดชาลงแขน ความดันโลหิตสูง  คัดจมูก มีน้ำมูกมีเสมหะข้นเหลืองเขียว  ปวดบริเวณไซนัสหรือเคาะแล้วปวด COLDSPA ครั้งแรกหรือเคยเป็นมาก่อน Character : ตุบๆ ตื้อๆ เสียวแปล๊บ ปวดแสบปวดร้อน จี๊ดๆ Onset :  acute/ sub acute /chronic /recurrent/ progressive / frequency Location : starting / radiating  Duration /Timing / Frequency Severity: mild, moderate, severe  6/6/2010 5 rangsima@chiangmai.ac.th
PHYSICAL EXAM MMSE :  พฤติกรรม บุคลิก อารมณ์การพูด ความสนใจ ความจำ  Neuro. Exam : การทรงตัว   การมองเห็น และ ปฏิกิริยาต่อแสง (Light  reflex) Gen. Exam  6/6/2010 6 rangsima@chiangmai.ac.th
LAB INVESTIGATION CT Scan MRI CSF Exam 6/6/2010 7 rangsima@chiangmai.ac.th
8 ENCEPHALITIS Causes : Virus(Herpes/Rabies/Polio)  Japanese B virus : CulexAedes Post M-M-R-Chickenpox IP : 5-14 d S/Sx :  Headache ,Hi Fever, Weak, N/V , Confuse, Tetany Hyperreflexia , Paralysis ,Tremor, Stiff neck Ped : ไม่ active ไม่ดูดนม fontanelleโป่งตึง Complication :  Epilepsy, Dementia,  Paralysis, Cerebral Palsy Rx :   Refer  Emergency 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
9 MENINGITIS Causes :  Virus Bacteria Fungus Parasite S/Sx :  Headche *,  fever,Vomit, Stiff neck, Confuse, Photophobia, Diplopia, Dysphagia, Paralysis,  Ped : : ซึม ชัก ร้องเสียงแหลม Fontanelleโป่ง Rx : Refer 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
Age 10-30,  Female >Male Causes :  Decrease of Serotonin - -> Trigiminal neuropathy  Vasodilate - - > Cortex perfusion ลดลง S/Sx :  Temporal headache < 72 hrs ตาพร่า แสงวอบแวบ   กลัวแสง N/V,   Diarrhea Rx :  Naproxane Cafergot Brufen 10 MIGRAINE 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
11 TENSION HEADACHE-- FAINTING/SYNCOPE Causes :  Exhausted, Hot, Nervous, Pain - > Perfusion - S/Sx :  ตาพร่า หูอื้อ วิงเวียน เหงื่ออก มือเท้าเย็น  นอนลงแล้วดีขึ้น หมดสติ ฟื้นได้เอง 1-3 นาที Rx :  นอนศีรษะต่ำ (ไม่ต้องหนุนหมอน)  ปลดเสื้อผ้าและเข็มขัดให้หลวม  จัดให้อากาศถ่ายเท แอมโมเนียหอม  ห้ามกิน/ดื่มอะไรทางปากในขณะที่ยังไม่ฟื้น 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
12 BRAIN TUMOR Causes :  Mass Benign Malignant   S/Sx :  Chronic headache ** (เช้ามืด) Projectile Vomiting ตามัว เห็นภาพซ้อน วิงเวียน เดินเซ  แขนขาอ่อนแรง ชัก ความจำเสื่อม  Pituitary tumor : บุคคลิกภาพเปลี่ยน Cushing, Diabetes insidious, Giantismacromegaly , Amenorrhea , Galactorrhea Lab : CT MRI Rx : Refer - -> Surgery / Radiation 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
HEADACHE 6/6/2010 13 rangsima@chiangmai.ac.th
Dizziness VERTIGO 6/6/2010 14 rangsima@chiangmai.ac.th
6/6/2010 15 rangsima@chiangmai.ac.th
Dizziness HISTORY TAKING dizziness  /vertigo (latency, adaptation, fatigibility,  duration aggravating ,relieving position, recurrent ,sustained ) Associated symptoms : N/V Tinnitus Hearing loss Cerebella dysfunction Precipitating Factor : Ref.error Postural hypotension Past Hx :  DM  HD  Anemia  Bleeding Medication  Head injury 6/6/2010 16 rangsima@chiangmai.ac.th
PHYSICAL EXAM MMSE :  พฤติกรรม บุคลิก อารมณ์การพูด ความสนใจ ความจำ  Neuro. Exam : การทรงตัว   การมองเห็น และ ปฏิกิริยาต่อแสง (Light  reflex) Gen. Exam  6/6/2010 17 rangsima@chiangmai.ac.th
LAB INVESTIGATION CT Scan MRI CSF Exam 6/6/2010 18 rangsima@chiangmai.ac.th
19 POSTURAL HYPOTENSION Causes :   Drug : Antihypertensive Hypnotics Psychotic agents Neuritis Hypokalemia  Addison's disease S/Sx :  หน้ามืด วิงเวียน จะเป็นลมขณะลุกนั่งหรือยืนทุกครั้ง  คลื่นไส้ อาเจียน ตาพร่า ตาลายหมดสติ ชัก  Systolic P. ยืน < นอน 30 mmHg Rx : Advise Position  6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
20 ANXIETY NEUROSIS Causes : Anxiety Stress Female > Male  S/Sx :  Insomnia  ฝันร้าย หงุดหงิด โมโหง่าย ตื่นเต้น ตกใจง่าย ใจสั่น หวิว มึนศีรษะ หน้ามืด เบื่ออาหาร วูบวาบตามตัว แขน ขา มือสั่น เหงื่ออก หายใจไม่อิ่ม  มือจีบเกร็ง ซึมเศร้า  Rx :  Diazepam Symptomatic Rx Palpitation - - Refer : Propanolol Depression - - Psychiatrist 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
6/6/2010 21 rangsima@chiangmai.ac.th
PARESTHESIA/ numbness 6/6/2010 22 rangsima@chiangmai.ac.th
numbness HISTORY TAKING Past Hx : DM HT Alc. Local  / General / One side or both side Duration :  >   2 weeks - - ? Tumor Numb @ Skin Lesions ? ด่างขาว ตุ่ม แผ่นหนา Arthralgia?   Back pain? Neck pain ?    6/6/2010 23 rangsima@chiangmai.ac.th
PHYSICAL EXAM Sensation :Two point discrimination Reflexes Muscle Power LAB INVESTIGATION CT MRI 6/6/2010 24 rangsima@chiangmai.ac.th
25 PERIPHERAL NEUROPATHY Type :  Mononeuropathy / Polyneuropathy Causes :  Malnutrition (Alcoholism) DM Toxicity Infection SLE CA Nerve Compression Nerve injury S/Sx :  Gradually /numb/  ซู่ซ่า /ปวดแสบ ปวดร้อน ปวดมากเวลาสัมผัส กลางคืน กล้ามเนื้อลีบ เดินเซ  อัมพาต Rx : Refer  6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
Causes :  Thrombotic / Embolic /  Hemorrhagic S/Sx :  ชา อ่อนแรง ตามัว อัมพาต  พูดอ้อแอ้ ปากเบี้ยว หมดสติ  TIA = Transient ischemic attack ปวดศีรษะรุนแรง  Pupil response - Lab :  CT MRI  Complication :  Pulm.Embolism, Pneumonia, Bed sore Rx :  TIA : ASA- Ticlodipine ,  Thrombus Emboli : Heparin NG Tube IV Fluid Rehabilitation 26 CVA 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
27 BERIBERI Causes :  Thiamine -ข้าวขัดสี เมี่ยง ชา หมากพลู ปลาร้า Preg .ให้นมบุตร Infection   Liver dis. S/Sx :  เด็ก 2-6  ;  ร้องเสียงแหบไม่มีเสียง ซึม หอบเหนื่อย  ตัวเขียว ขาบวม   nystagmusหนังตาตก ชัก หมดสติ  ตายได้ ผู้ใหญ่ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เบื่ออาหาร ท้องผูก ท้องอืดเฟ้อ  ความจำเสื่อม ชา Rx :  Refer Thiamine hydrochloride 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
28 HERNIATED DISK : HNP Age 16-60 Male   >  Female Causes :   Disk เสื่อม กดทับรากประสาท Sciatic - - >  Sciatica S/Sx :   ปวดร้าวลงขา ปวดคร้าวลงแขน อ่อนแรงของขา Straight leg rasing test - - SLRT +ve Lab :  MyelographyCT MRI  Rx :   Collar  Surgery 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
SLRT-  Straight Leg Raising Test 6/6/2010 29 rangsima@chiangmai.ac.th
PARESTHESIA/ numbness 6/6/2010 30 rangsima@chiangmai.ac.th
6/6/2010 31 rangsima@chiangmai.ac.th
ชักมือ เท้า เกร็ง HISTORY TAKING Past History : ลมบ้าหมู / ชักจากไข้สูง  / เคยมีอาการชัก อาการ : ก่อนชัก ขณะชัก หลังชัก Duration : ความบ่อย (วัน เดือน) ระยะเวลา (นาที)  Severity : การหายใจ สิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการชัก ประวัติถูกสุนัขหรือแมวกัด การเข้าป่า/ยุงกัด 6/6/2010 32 rangsima@chiangmai.ac.th
PHYSICAL EXAM Conscious Pupil Reflexes Muscle power LAB INVESTIGATION ,[object Object]
MRI6/6/2010 33 rangsima@chiangmai.ac.th
34 HEAD INJURY Causes :   Blunt Trauma  ,  Penetrating Type :  Concussion / Contusion / Laceration / ICN Hge S/Sx :  Conscious alter /Paralysis /  Tetany Confuse N/V ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด Personality Severe Headache /   Pupil response – เลือดออกหู   Lab :CT MRI Rx : Refer Emergency 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
35 EPILEPSY Age : 2-25 Causes :  Genetics / Febrile convulsion in Ped. Brain abscess, Tumor, Parasite สิ่งกระตุ้น : อากาศร้อน อารมณ์ แสงจ้า S/Sx :  Fall เกร็ง ชัก (1-3 min, 30 min)หายใจลำบาก เขียว ตาค้าง น้ำลายฟูมปาก ปัสสาวะ อุจจาระราด Prodomal syndrome :  aura กลิ่นหรือรสแปลก ๆ, หูแว่วเสียงคนพูด, เห็นภาพหลอน,เวียนศีรษะ, มีอาการชาตามร่างกาย, ตากระตุก, แขนกระตุก, รู้สึกแน่นยอดอก หรือไม่สบายท้อง  6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
36 EPILEPSY ,[object Object]
Fx, Trauma กัดลิ้น
Lab :
EEG CT
Rx :
ตะแคงหน้า
DZP
Phenobarbital Phenytoin
Carbamazepine6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
37 CRAMP Causes :   Exercise / Hypocalcium / Elderly / Cold Diarrheah Vomit Sweating Atherosclerosis S/Sx :  ปวด เกร็ง กล้ามเนื้อน่อง ต้นขา Rx :  Stretching นม Calcium lactate ORS Dimen - hs -  - >  Prophylaxis 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
6/6/2010 38 rangsima@chiangmai.ac.th
6/6/2010 39 rangsima@chiangmai.ac.th
weakness HISTORY TAKING กล้ามเนื้อส่วนใด  ลักษณะ  UMN : เดินเกร็งล้มง่าย ขาสั่น กระตุก เมื่อยกเท้าแตะพื้นอาจมีอาการแขน ขาแข็ง LMN :กล้ามเนื้ออ่อนเพลีย ลีบลง กล้ามเนื้อเต้น        เป็นตลอดเวลาหรือเป็นๆ หายๆ  อ่อนแรงสมมาตรกันหรือไม่ อาการร่วม :  ชา  ไข้ ปวดหลัง  ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน อาการทางจิต  การถูกงูกัด  6/6/2010 40 rangsima@chiangmai.ac.th
PHYSICAL EXAM Sensory : Two point discrimination Reflex Muscle power  LAB INVESTIGATION ,[object Object]
MRI6/6/2010 41 rangsima@chiangmai.ac.th
42 SPINAL TRAUMA Causes : Trauma S/Sx :  Weak Paralysiaถ่ายไม่ได้ T spine - - >Dyspnea Rx :  Refer **  Transfer 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
SNAKE BITE 6/6/2010 43 rangsima@chiangmai.ac.th
SNAKE BITE Neuorotoxin จงอาง (Ophiophagushannah งูสามเหลี่ยม (Bungarusfasciatus) งูเห่า (Najanaja 6/6/2010 44 rangsima@chiangmai.ac.th

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Aphisit Aunbusdumberdor
 
แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 2
แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 2แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 2
แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 2Know Mastikate
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee GuidelineAiman Sadeeyamu
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังChutchavarn Wongsaree
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558Utai Sukviwatsirikul
 

Was ist angesagt? (20)

ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
 
แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 2
แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 2แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 2
แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบที่ 2
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม OA knee Guideline
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 

Andere mochten auch

The musculoskeletal system (student version)
The musculoskeletal system (student version)The musculoskeletal system (student version)
The musculoskeletal system (student version)marivic pabrua
 
Matrix Reimprinting for Forgiving the Unforgivable
Matrix Reimprinting for Forgiving the UnforgivableMatrix Reimprinting for Forgiving the Unforgivable
Matrix Reimprinting for Forgiving the UnforgivableCheryl White
 
Il settore agroalimentare e le sfide ambientali ed energetiche
Il settore agroalimentare e le sfide ambientali ed energeticheIl settore agroalimentare e le sfide ambientali ed energetiche
Il settore agroalimentare e le sfide ambientali ed energeticheRiccardo Pallecchi
 
Pediatric Trauma-FINAL
Pediatric Trauma-FINALPediatric Trauma-FINAL
Pediatric Trauma-FINALaalthekair
 
Building the Team Building the Brand
Building the Team Building the BrandBuilding the Team Building the Brand
Building the Team Building the BrandJoey Reyes
 
Models de negoci @estrategica
Models de negoci   @estrategicaModels de negoci   @estrategica
Models de negoci @estrategicaIQS Barcelona
 
โรคปอดฝุ่นทราย
โรคปอดฝุ่นทรายโรคปอดฝุ่นทราย
โรคปอดฝุ่นทรายWan Ngamwongwan
 
Review Perbandingan UU Minerba No. 11 Th. 1967 VS UU No.4 Th. 2009
Review Perbandingan UU Minerba No. 11 Th. 1967 VS UU No.4 Th. 2009Review Perbandingan UU Minerba No. 11 Th. 1967 VS UU No.4 Th. 2009
Review Perbandingan UU Minerba No. 11 Th. 1967 VS UU No.4 Th. 2009Nikka Sasongko
 
Qué es marketing
Qué es marketingQué es marketing
Qué es marketingUANL
 
Apparent Life Threatening Events
Apparent Life Threatening EventsApparent Life Threatening Events
Apparent Life Threatening EventsRashid Abuelhassan
 
Presentation Social Media Day
Presentation Social Media DayPresentation Social Media Day
Presentation Social Media DaySpeakersbase.com
 
Lydia Proschinger Matrix Reimprinting 20 april 2013
Lydia Proschinger Matrix Reimprinting 20 april 2013Lydia Proschinger Matrix Reimprinting 20 april 2013
Lydia Proschinger Matrix Reimprinting 20 april 2013Lydia Proschinger
 
Orthopaedic examination elbow and knee
Orthopaedic examination elbow and kneeOrthopaedic examination elbow and knee
Orthopaedic examination elbow and kneeDPS2015
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 

Andere mochten auch (20)

The musculoskeletal system (student version)
The musculoskeletal system (student version)The musculoskeletal system (student version)
The musculoskeletal system (student version)
 
2.3
2.32.3
2.3
 
Matrix Reimprinting for Forgiving the Unforgivable
Matrix Reimprinting for Forgiving the UnforgivableMatrix Reimprinting for Forgiving the Unforgivable
Matrix Reimprinting for Forgiving the Unforgivable
 
Tieptuyen
TieptuyenTieptuyen
Tieptuyen
 
Il settore agroalimentare e le sfide ambientali ed energetiche
Il settore agroalimentare e le sfide ambientali ed energeticheIl settore agroalimentare e le sfide ambientali ed energetiche
Il settore agroalimentare e le sfide ambientali ed energetiche
 
Pediatric Trauma-FINAL
Pediatric Trauma-FINALPediatric Trauma-FINAL
Pediatric Trauma-FINAL
 
Building the Team Building the Brand
Building the Team Building the BrandBuilding the Team Building the Brand
Building the Team Building the Brand
 
Models de negoci @estrategica
Models de negoci   @estrategicaModels de negoci   @estrategica
Models de negoci @estrategica
 
Clinical Anatomy 9566
Clinical Anatomy 9566Clinical Anatomy 9566
Clinical Anatomy 9566
 
โรคปอดฝุ่นทราย
โรคปอดฝุ่นทรายโรคปอดฝุ่นทราย
โรคปอดฝุ่นทราย
 
Review Perbandingan UU Minerba No. 11 Th. 1967 VS UU No.4 Th. 2009
Review Perbandingan UU Minerba No. 11 Th. 1967 VS UU No.4 Th. 2009Review Perbandingan UU Minerba No. 11 Th. 1967 VS UU No.4 Th. 2009
Review Perbandingan UU Minerba No. 11 Th. 1967 VS UU No.4 Th. 2009
 
Qué es marketing
Qué es marketingQué es marketing
Qué es marketing
 
Apparent Life Threatening Events
Apparent Life Threatening EventsApparent Life Threatening Events
Apparent Life Threatening Events
 
Presentation Social Media Day
Presentation Social Media DayPresentation Social Media Day
Presentation Social Media Day
 
Lydia Proschinger Matrix Reimprinting 20 april 2013
Lydia Proschinger Matrix Reimprinting 20 april 2013Lydia Proschinger Matrix Reimprinting 20 april 2013
Lydia Proschinger Matrix Reimprinting 20 april 2013
 
2010_PMC Musculoskeleton
2010_PMC Musculoskeleton2010_PMC Musculoskeleton
2010_PMC Musculoskeleton
 
Orthopaedic examination elbow and knee
Orthopaedic examination elbow and kneeOrthopaedic examination elbow and knee
Orthopaedic examination elbow and knee
 
Things You Want See
Things You Want SeeThings You Want See
Things You Want See
 
cerebro spinal fluid analysis
 cerebro spinal fluid analysis cerebro spinal fluid analysis
cerebro spinal fluid analysis
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 

Ähnlich wie 2010_PMC Neurological Disease

Ähnlich wie 2010_PMC Neurological Disease (8)

Chronic Back Pain
Chronic Back PainChronic Back Pain
Chronic Back Pain
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
Muscle Skeletal (Thai)
Muscle Skeletal (Thai)Muscle Skeletal (Thai)
Muscle Skeletal (Thai)
 
Presentation 7
Presentation 7Presentation 7
Presentation 7
 
Extern conference-Osteosarcoma
Extern conference-OsteosarcomaExtern conference-Osteosarcoma
Extern conference-Osteosarcoma
 
Ihd
IhdIhd
Ihd
 
Spinal stenosis ext.nataphol
Spinal stenosis ext.natapholSpinal stenosis ext.nataphol
Spinal stenosis ext.nataphol
 

Mehr von Nursing Room By Rangsima

2018 concepts and management of complicated eye problems
2018  concepts and management of complicated eye problems2018  concepts and management of complicated eye problems
2018 concepts and management of complicated eye problemsNursing Room By Rangsima
 
2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...
2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...
2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...Nursing Room By Rangsima
 
2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner
2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner
2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse PractitionerNursing Room By Rangsima
 

Mehr von Nursing Room By Rangsima (20)

2018 concepts and management of complicated eye problems
2018  concepts and management of complicated eye problems2018  concepts and management of complicated eye problems
2018 concepts and management of complicated eye problems
 
2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...
2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...
2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...
 
2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner
2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner
2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner
 
2016 Neurological Assessment
2016 Neurological Assessment2016 Neurological Assessment
2016 Neurological Assessment
 
2016 GI Assessment
2016 GI Assessment2016 GI Assessment
2016 GI Assessment
 
2016 CVS assessment
2016 CVS assessment2016 CVS assessment
2016 CVS assessment
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
4.strategies 53
4.strategies  534.strategies  53
4.strategies 53
 
3.public policy 53
3.public policy  533.public policy  53
3.public policy 53
 
2.primary health care 53
2.primary health care 532.primary health care 53
2.primary health care 53
 
1.Health Community_Concept
1.Health Community_Concept1.Health Community_Concept
1.Health Community_Concept
 
2010 breast & reproductve examination
2010 breast & reproductve examination2010 breast & reproductve examination
2010 breast & reproductve examination
 
2010 musculo skeleton assessment
2010 musculo skeleton assessment2010 musculo skeleton assessment
2010 musculo skeleton assessment
 
Eye assessment
Eye assessmentEye assessment
Eye assessment
 
Case Conference_PMC
Case Conference_PMCCase Conference_PMC
Case Conference_PMC
 
2010_GI Assessment
2010_GI Assessment2010_GI Assessment
2010_GI Assessment
 
2010_Thyroid Examination
2010_Thyroid Examination2010_Thyroid Examination
2010_Thyroid Examination
 
2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment
 
2010_Health assessment
2010_Health assessment2010_Health assessment
2010_Health assessment
 
2010_Concept of Nursing Process
2010_Concept of Nursing Process2010_Concept of Nursing Process
2010_Concept of Nursing Process
 

2010_PMC Neurological Disease

  • 1. DIFFERENTIAL DIAGNOSIS NEUROLOGIAL DISEASE RangsimaPoomsawat E mail : rangsima@chiangmai.ac.th to_rangsima@hotmail.com http://rangsima.motionforum.net/forum.htm http://www.facebook.com/RangsimaPoomsawat 6/6/2010 1 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 2. OBjective วินิจฉัยแยกโรคในกลุ่มอาการระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อได้ อธิบายสาเหตุ อาการ ของโรคที่พบบ่อยในระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูกและข้อได้ ซักประวัติ ตรวจร่างกาย โรคระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อได้ บอกแนวทางการรักษาโรคที่พบบ่อยในระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อได้ 6/6/2010 2 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 3. NEUROLOGICAL ปวดศีรษะ -- HEADACHE เวียนศีรษะ -- DIZZINESS ชา -- PARESTHESIA/NUMBNESS กล้ามเนื้ออ่อนแรง -- WEAKNESS ชักมือเท้าเกร็ง -- MOTOR CONTROL PROBLEM/ CRAMP MUSCULO-SKELETON ปวดข้อ -- ARTHRALGIA ปวดหลัง -- BACK PAIN ปวดเมื่อยตามข้อกล้ามเนื้อ -- MUSCULOTENDINIOUS STRAIN 6/6/2010 3 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 4. HEADACHE 6/6/2010 4 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 5. HEADACHE HISTORY TAKING Palliative factors : ใช้สายตามีรอบเดือนสุรา Relieving factors : นอนพักยาเปลี่ยนท่า อาการร่วม : ชักกระตุก คอแข็ง ปวดศีรษะอย่างรุนแรง อาเจียนรุนแรง แขนขาอ่อนแรง ปวดศีรษะนานเกิน 3 วัน ปวดชาลงแขน ความดันโลหิตสูง คัดจมูก มีน้ำมูกมีเสมหะข้นเหลืองเขียว ปวดบริเวณไซนัสหรือเคาะแล้วปวด COLDSPA ครั้งแรกหรือเคยเป็นมาก่อน Character : ตุบๆ ตื้อๆ เสียวแปล๊บ ปวดแสบปวดร้อน จี๊ดๆ Onset : acute/ sub acute /chronic /recurrent/ progressive / frequency Location : starting / radiating Duration /Timing / Frequency Severity: mild, moderate, severe 6/6/2010 5 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 6. PHYSICAL EXAM MMSE : พฤติกรรม บุคลิก อารมณ์การพูด ความสนใจ ความจำ Neuro. Exam : การทรงตัว การมองเห็น และ ปฏิกิริยาต่อแสง (Light reflex) Gen. Exam 6/6/2010 6 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 7. LAB INVESTIGATION CT Scan MRI CSF Exam 6/6/2010 7 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 8. 8 ENCEPHALITIS Causes : Virus(Herpes/Rabies/Polio) Japanese B virus : CulexAedes Post M-M-R-Chickenpox IP : 5-14 d S/Sx : Headache ,Hi Fever, Weak, N/V , Confuse, Tetany Hyperreflexia , Paralysis ,Tremor, Stiff neck Ped : ไม่ active ไม่ดูดนม fontanelleโป่งตึง Complication : Epilepsy, Dementia, Paralysis, Cerebral Palsy Rx : Refer Emergency 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 9. 9 MENINGITIS Causes : Virus Bacteria Fungus Parasite S/Sx : Headche *, fever,Vomit, Stiff neck, Confuse, Photophobia, Diplopia, Dysphagia, Paralysis, Ped : : ซึม ชัก ร้องเสียงแหลม Fontanelleโป่ง Rx : Refer 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 10. Age 10-30, Female >Male Causes : Decrease of Serotonin - -> Trigiminal neuropathy Vasodilate - - > Cortex perfusion ลดลง S/Sx : Temporal headache < 72 hrs ตาพร่า แสงวอบแวบ กลัวแสง N/V, Diarrhea Rx : Naproxane Cafergot Brufen 10 MIGRAINE 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 11. 11 TENSION HEADACHE-- FAINTING/SYNCOPE Causes : Exhausted, Hot, Nervous, Pain - > Perfusion - S/Sx : ตาพร่า หูอื้อ วิงเวียน เหงื่ออก มือเท้าเย็น นอนลงแล้วดีขึ้น หมดสติ ฟื้นได้เอง 1-3 นาที Rx : นอนศีรษะต่ำ (ไม่ต้องหนุนหมอน) ปลดเสื้อผ้าและเข็มขัดให้หลวม จัดให้อากาศถ่ายเท แอมโมเนียหอม ห้ามกิน/ดื่มอะไรทางปากในขณะที่ยังไม่ฟื้น 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 12. 12 BRAIN TUMOR Causes : Mass Benign Malignant S/Sx : Chronic headache ** (เช้ามืด) Projectile Vomiting ตามัว เห็นภาพซ้อน วิงเวียน เดินเซ แขนขาอ่อนแรง ชัก ความจำเสื่อม Pituitary tumor : บุคคลิกภาพเปลี่ยน Cushing, Diabetes insidious, Giantismacromegaly , Amenorrhea , Galactorrhea Lab : CT MRI Rx : Refer - -> Surgery / Radiation 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 13. HEADACHE 6/6/2010 13 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 14. Dizziness VERTIGO 6/6/2010 14 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 16. Dizziness HISTORY TAKING dizziness /vertigo (latency, adaptation, fatigibility, duration aggravating ,relieving position, recurrent ,sustained ) Associated symptoms : N/V Tinnitus Hearing loss Cerebella dysfunction Precipitating Factor : Ref.error Postural hypotension Past Hx : DM HD Anemia Bleeding Medication Head injury 6/6/2010 16 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 17. PHYSICAL EXAM MMSE : พฤติกรรม บุคลิก อารมณ์การพูด ความสนใจ ความจำ Neuro. Exam : การทรงตัว การมองเห็น และ ปฏิกิริยาต่อแสง (Light reflex) Gen. Exam 6/6/2010 17 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 18. LAB INVESTIGATION CT Scan MRI CSF Exam 6/6/2010 18 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 19. 19 POSTURAL HYPOTENSION Causes : Drug : Antihypertensive Hypnotics Psychotic agents Neuritis Hypokalemia Addison's disease S/Sx : หน้ามืด วิงเวียน จะเป็นลมขณะลุกนั่งหรือยืนทุกครั้ง คลื่นไส้ อาเจียน ตาพร่า ตาลายหมดสติ ชัก Systolic P. ยืน < นอน 30 mmHg Rx : Advise Position 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 20. 20 ANXIETY NEUROSIS Causes : Anxiety Stress Female > Male S/Sx : Insomnia ฝันร้าย หงุดหงิด โมโหง่าย ตื่นเต้น ตกใจง่าย ใจสั่น หวิว มึนศีรษะ หน้ามืด เบื่ออาหาร วูบวาบตามตัว แขน ขา มือสั่น เหงื่ออก หายใจไม่อิ่ม มือจีบเกร็ง ซึมเศร้า Rx : Diazepam Symptomatic Rx Palpitation - - Refer : Propanolol Depression - - Psychiatrist 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 22. PARESTHESIA/ numbness 6/6/2010 22 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 23. numbness HISTORY TAKING Past Hx : DM HT Alc. Local / General / One side or both side Duration : > 2 weeks - - ? Tumor Numb @ Skin Lesions ? ด่างขาว ตุ่ม แผ่นหนา Arthralgia? Back pain? Neck pain ? 6/6/2010 23 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 24. PHYSICAL EXAM Sensation :Two point discrimination Reflexes Muscle Power LAB INVESTIGATION CT MRI 6/6/2010 24 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 25. 25 PERIPHERAL NEUROPATHY Type : Mononeuropathy / Polyneuropathy Causes : Malnutrition (Alcoholism) DM Toxicity Infection SLE CA Nerve Compression Nerve injury S/Sx : Gradually /numb/ ซู่ซ่า /ปวดแสบ ปวดร้อน ปวดมากเวลาสัมผัส กลางคืน กล้ามเนื้อลีบ เดินเซ อัมพาต Rx : Refer 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 26. Causes : Thrombotic / Embolic / Hemorrhagic S/Sx : ชา อ่อนแรง ตามัว อัมพาต พูดอ้อแอ้ ปากเบี้ยว หมดสติ TIA = Transient ischemic attack ปวดศีรษะรุนแรง Pupil response - Lab : CT MRI Complication : Pulm.Embolism, Pneumonia, Bed sore Rx : TIA : ASA- Ticlodipine , Thrombus Emboli : Heparin NG Tube IV Fluid Rehabilitation 26 CVA 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 27. 27 BERIBERI Causes : Thiamine -ข้าวขัดสี เมี่ยง ชา หมากพลู ปลาร้า Preg .ให้นมบุตร Infection Liver dis. S/Sx : เด็ก 2-6 ; ร้องเสียงแหบไม่มีเสียง ซึม หอบเหนื่อย ตัวเขียว ขาบวม nystagmusหนังตาตก ชัก หมดสติ ตายได้ ผู้ใหญ่ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เบื่ออาหาร ท้องผูก ท้องอืดเฟ้อ ความจำเสื่อม ชา Rx : Refer Thiamine hydrochloride 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 28. 28 HERNIATED DISK : HNP Age 16-60 Male > Female Causes : Disk เสื่อม กดทับรากประสาท Sciatic - - > Sciatica S/Sx : ปวดร้าวลงขา ปวดคร้าวลงแขน อ่อนแรงของขา Straight leg rasing test - - SLRT +ve Lab : MyelographyCT MRI Rx : Collar Surgery 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 29. SLRT- Straight Leg Raising Test 6/6/2010 29 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 30. PARESTHESIA/ numbness 6/6/2010 30 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 32. ชักมือ เท้า เกร็ง HISTORY TAKING Past History : ลมบ้าหมู / ชักจากไข้สูง / เคยมีอาการชัก อาการ : ก่อนชัก ขณะชัก หลังชัก Duration : ความบ่อย (วัน เดือน) ระยะเวลา (นาที) Severity : การหายใจ สิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการชัก ประวัติถูกสุนัขหรือแมวกัด การเข้าป่า/ยุงกัด 6/6/2010 32 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 33.
  • 35. 34 HEAD INJURY Causes : Blunt Trauma , Penetrating Type : Concussion / Contusion / Laceration / ICN Hge S/Sx : Conscious alter /Paralysis / Tetany Confuse N/V ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด Personality Severe Headache / Pupil response – เลือดออกหู Lab :CT MRI Rx : Refer Emergency 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 36. 35 EPILEPSY Age : 2-25 Causes : Genetics / Febrile convulsion in Ped. Brain abscess, Tumor, Parasite สิ่งกระตุ้น : อากาศร้อน อารมณ์ แสงจ้า S/Sx : Fall เกร็ง ชัก (1-3 min, 30 min)หายใจลำบาก เขียว ตาค้าง น้ำลายฟูมปาก ปัสสาวะ อุจจาระราด Prodomal syndrome : aura กลิ่นหรือรสแปลก ๆ, หูแว่วเสียงคนพูด, เห็นภาพหลอน,เวียนศีรษะ, มีอาการชาตามร่างกาย, ตากระตุก, แขนกระตุก, รู้สึกแน่นยอดอก หรือไม่สบายท้อง 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 37.
  • 39. Lab :
  • 41. Rx :
  • 43. DZP
  • 46. 37 CRAMP Causes : Exercise / Hypocalcium / Elderly / Cold Diarrheah Vomit Sweating Atherosclerosis S/Sx : ปวด เกร็ง กล้ามเนื้อน่อง ต้นขา Rx : Stretching นม Calcium lactate ORS Dimen - hs - - > Prophylaxis 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 49. weakness HISTORY TAKING กล้ามเนื้อส่วนใด ลักษณะ UMN : เดินเกร็งล้มง่าย ขาสั่น กระตุก เมื่อยกเท้าแตะพื้นอาจมีอาการแขน ขาแข็ง LMN :กล้ามเนื้ออ่อนเพลีย ลีบลง กล้ามเนื้อเต้น เป็นตลอดเวลาหรือเป็นๆ หายๆ อ่อนแรงสมมาตรกันหรือไม่ อาการร่วม : ชา ไข้ ปวดหลัง ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน อาการทางจิต การถูกงูกัด 6/6/2010 40 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 50.
  • 52. 42 SPINAL TRAUMA Causes : Trauma S/Sx : Weak Paralysiaถ่ายไม่ได้ T spine - - >Dyspnea Rx : Refer ** Transfer 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 53. SNAKE BITE 6/6/2010 43 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 54. SNAKE BITE Neuorotoxin จงอาง (Ophiophagushannah งูสามเหลี่ยม (Bungarusfasciatus) งูเห่า (Najanaja 6/6/2010 44 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 55. SNAKE BITE Myotoxin 6/6/2010 45 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 56. งูแมวเซา (Viperarussellisiamensis งูกะปะ (Calloselasmarhodostoma SNAKE BITE Hemato-toxin งูเขียวหางไหม้ท้องเหลือง (Tri-meresurusalbolabris) งูเขียวหางไหม้ท้องเขียว (Tri-meresurus pop 6/6/2010 46 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 57. 47 SNAKE BITE งูพิษทางระบบประสาท หนังตาตก ขากรรไกรแข็ง พูดไม่ชัด กลืนน้ำลายไม่ได้ แน่นหน้าอก ตาพร่า อ่อนเพลีย เป็นอัมพาต อาจตายเพราะการหายใจล้มเหลว งูพิษประเภทนี้ได้แก่ งูเห่า งูจงอาง งูสามเหลี่ยม งูพิษทางระบบกล้ามเนื้อ อาการค่อนข้างช้าอาจถึง 1 วัน ผู้ป่วยมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ บางรายเป็นอัมพาต ปัสสาวะลดลงและสีเข้มขึ้น ผู้ป่วยมักถึงแก่กรรมเนื่องจากไตวายหรือการหายใจล้มเหลว งูพิษประเภทนี้ ได้แก่ งูทะเลชนิดต่างๆ งูพิษทางระบบโลหิต มีเลือดซึมตามรอยเขี้ยวที่แผล ปวดบวม มีเลือดออกใต้ผิวหนัง อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระและปัสสาวะมีเลือดปน อวัยวะภายในตกเลือด มักตายด้วยอาการไตวาย งูพิษประเภทนี้ได้แก่ งูแมวเซา งูกะปะ และงูเขียวหางไหม้ 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 58. 48 SNAKE BITE Rx : ขันเชนาะ (เหนือรอยเขี้ยว 2-4 นิ้วฟุต) คลายทุกๆ 15 นาที นาน 30-60 วินาที นิ่ง ห้ามเดิน จัดในระดับต่ำกว่าหัวใจ นำงูไปสถานพยาบาล ห้ามดื่มสุรา ยาดองเหล้า ยากระตุ้นประสาท ชา กาแฟ ยาแอสไพริน อย่าใช้ไฟหรือเหล็กร้อนจี้ที่แผลงูกัด หรือมีดกรีดแผล ทำให้เลือดออกมาก ถ้าหยุดหายใจ (จากงูที่มีพิษต่อประสาท) เป่าปากช่วยหายใจ ถ้ารู้สึกปวดแผล ให้กินพาราเซตามอล ใช้เครื่องช่วยหายใจ ในรายที่หยุดหายใจ ให้เลือด ถ้ามีเลือดออกรุนแรง dialysisในรายที่มีภาวะไตวายเฉียบพลัน 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 59. 49 MYELITIS Causes : ไวรัส หัด, หัดเยอรมัน, อีสุกอีใส, คางทูม, เริม, งูสวัด, โปลิโอ, โรคพิษสุนัขบ้า S/Sx : ขาชาและไม่มีแรง ปวดหลัง ขาจะอ่อนแรง เป็นอัมพาต เดินไม่ได้ ถ่ายปัสสาวะและอุจจาระไม่ได้ Rx : ส่งโรงพยาบาลด่วน สเตอรอยด์ กายภาพบำบัด ถ้าหายใจไม่ได้อาจต้องเจาะคอ และให้เครื่องช่วยหายใจ 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 60. 50 SPINAL CORD TUMORS Causes : เนื้องอกจาก มะเร็งปอด เต้านม ต่อมลูกหมาก ต่อมไทรอยด์ ต่อมน้ำเหลือง S/Sx : แขนขาอ่อนแรง เดินไม่ได้ อาจมีอาการถ่ายปัสสาวะอุจจาระเองไม่ได้ Lab : Myelography MRI Rx : Surgery Radiation 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 61. 51 MYASTHENIA GRAVIS Age : 20-30 : Female > Male Causes : กระแสประสาทไม่สามารถส่งทอดไปสั่งการให้กล้ามเนื้อทำงาน Autoimmune : แอนติบอดีต่อ acetyl-choline receptors 2 ใน 3 มีภาวะต่อมไทมัสโต อาจพบร่วมกับโรคกลุ่มออโตอิมมูนอื่นๆ เช่น Toxic goiter, โรคปวดข้อ Rhumatoid, เอสแอลอี (SLE) S/Sx : หนังตาตก (ตาปรือ) มักเกิดเพียงข้างเดียว ตาเข เห็นภาพซ้อน พูดอ้อแอ้ กลืนลำบาก สำลักอาหาร พูดเสียงขึ้นจมูก อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายอ่อนแรงของกล้ามเนื้อส่วนต้นของแขนขาจนลุกขึ้นยืนหรือเดินไม่ได้ ถ้าเป็นรุนแรง ก็อาจทำให้กล้ามเนื้อช่วยหายใจเป็นอัมพาต หยุดหายใจ ตายได้ โดยเฉพาะในช่วง 2 ปีแรกหลังมีอาการ ถือว่าเป็นช่วงวิกฤตที่อาจเกิดอันตรายได้มาก หากนานเกิน 10 ปีขึ้นไป อาการก็มักจะไม่รุนแรง 6/6/2010 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 62. MYASTHENIA GRAVIS อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ เป็นมากขึ้น ไข้หวัด โรคติดเชื้อ ตื่นเต้นตกใจร่างกายเหนื่อยล้า นอนไม่หลับ ขณะมีประจำเดือน ขณะตั้งครรภ์ช่วง 3 เดือนแรก หลังกินอาหารพวกแป้งหรือน้ำตาลมาก หลังดื่มเหล้าหรือใช้ยาบางชนิด (เช่น Neomycin, Streptomycin, Gentamycin, Tetracycline, Erythromycin, กลุ่มยาBeta block, Diazepam เป็นต้น) Complication : กล้ามเนื้อช่วยหายใจเป็นอัมพาต หยุดหายใจได้ ปอดอักเสบเนื่องจากสำลักเศษอาหาร Rx : Refer neostigmine 1.5 มิลลิกรัมเข้าใต้หนัง Edrophoniumเช่น เทนซิลอน (Tensilon) 10 มิลลิกรัม เข้าหลอดเลือดดำ ซึ่งจะทำให้อาการดีขึ้นทันที 6/6/2010 52 rangsima@chiangmai.ac.th
  • 64. DIFFERENTIAL DIAGNOSIS NEUROLOGIAL DISEASE RangsimaPoomsawat E mail : rangsima@chiangmai.ac.th to_rangsima@hotmail.com http://rangsima.motionforum.net/forum.htm http://www.facebook.com/RangsimaPoomsawat 6/6/2010 54 rangsima@chiangmai.ac.th

Hinweis der Redaktion

  1. วินิจฉัยแยกโรคในกลุ่มอาการระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อได้อธิบายสาเหตุ อาการ โดยสังเขปของโรคที่พบบ่อยในระบบระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูกและข้อได้ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ความผิดปกติในโรคระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อได้บอกแนวทางการรักษาโรคที่พบบ่อยในระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อได้
  2. แนวทางการซักประวัติ ซักประวัติตามหลักการซักประวัติทั่วไป และสิ่งบ่งชี้ถึงอาการปวดศีรษะปวดศีรษะครั้งแรกหรือเคยเป็นมาก่อนการเริ่มต้นของการปวดศีรษะ : acute/ sub acute /chronic /recurrentการดำเนินโรค : อาการปวดมากขึ้นบ่อยๆ : progressive / frequencyการเปลี่ยนแปลงของลักษณะการปวด : การมี symptom free periodระยะเวลา : ชั่วโมง วัน สัปดาห์ เดือนความถี่ของการปวด (ความบ่อย) ชั่วโมง วัน สัปดาห์ เดือนลักษณะการปวด : ตุบๆ ตื้อๆ เสียวแปล๊บ ปวดแสบปวดร้อน จี๊ดๆตำแหน่งของการปวด : starting radiating settingความรุนแรง : mind, moderate, server, incapacitatingเวลาจำเพาะที่มักปวดศีรษะ : ความเกี่ยวเนื่องของเวลา เช่น ตอนเช้า เย็น ฯลฯสิ่งกระตุ้นการปวด : การใช้สายตา, การมีรอบเดือน, การดื่มสุรา ฯลฯสิ่งทุเลาการปวด : การนอนพัก, การทานยา, การเปลี่ยนท่า ฯลฯอาการที่ร่วมกับปวดศีรษะ : ก.) ชักกระตุก คอแข็ง ปวดศีรษะอย่างรุนแรง อาเจียนรุนแรง แขนขาอ่อนแรง ฯลฯ ข.) ปวดศีรษะนานเกิน 3 วัน ปวดชาลงแขน ความดันโลหิตสูง ค.) คัดจมูก มีน้ำมูกมีเสมหะข้นเหลืองเขียว ง.) ปวดบริเวณไซนัสหรือเคาะแล้วปวด
  3. ตรวจร่างกาย สังเกตผู้ป่วยเมื่อแรกพบพฤติกรรม บุคลิก อารมณ์การพูด ความสนใจ ความจำ ประเมินความเชื่อถือได้ของข้อมูล ตรวจทางระบบประสาท ทำร่วมกับตรวจร่างกายทั่วไป เช่น การทรงตัว การมองเห็น และ ปฏิกิริยาต่อแสง (Light reflex) การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน : การรับประทานอาหาร ชำระร่างกาย ขับถ่าย
  4. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : การเจาะน้ำไขสันหลัง , การทำ CT scan หรือ MRI
  5. สมองอักเสบ (Encephalitis)เป็นการอักเสบของเนื้อสมอง ถือเป็นโรคอันตรายร้ายแรง พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่สาเหตุ จากการติดเชื้อไวรัส เช่น เชื้อเริม เชื้อพิษสุนัขบ้า เชื้อโปลิโอ เป็นต้น ในบ้านเรามีเชื้อไวรัส Japanese B virus ปกติอาศัยอยู่ในสัตว์ เช่น หมู ม้า แพะ หนู นก ติดต่อถึงคนโดยยุงประเภท Culexและ Aedesบางชนิด ซึ่งเป็นยุงรำคาญที่อยู่ตามบ้านเป็นพาหะนำโรค ทำให้เกิดโรคสมองอักเสบ บางครั้งอาจพบระบาดในช่วงฤดูฝน ในแทบทุกภาคของประเทศ แต่พบระบาดบ่อยในภาคเหนือ มักพบในเด็กต่ำกว่า 15 ปี และในคนแก่ ระยะฟักตัว 5-14 วัน โรคนี้ยังอาจพบเป็นโรคแทรกซ้อนตามหลังหัด หัดเยอรมัน อีสุกอีใส คางทูมอาการไข้สูงเฉียบพลัน ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน ผู้ป่วยจะซึมลงเรื่อย ๆ จนไม่รู้สึกตัว อาจเกิดขึ้นใน 24-72 ชั่วโมงหลังมีอาการ บางคนอาจชักร่วมด้วย เด็กเล็กอาจไข้สูง ซึม ไม่ดูดนม อาเจียน กระหม่อมโป่งตึงสิ่งตรวจพบ: ไข้สูง ซึม หรือหมดสติ deep tendon reflex ไวกว่าปกติ อาจมีอัมพาตของแขนขา มือสั่น คอแข็ง อาจพบได้ในรายที่เยื่อหุ้มสมองอักเสบร่วมด้วยอาการแทรกซ้อน อาจทำให้เป็นโรคลมชัก ความจำเสื่อม แขนขาเป็นอัมพาต สมองพิการการรักษา หากสงสัยให้ส่งโรงพยาบาลด่วน
  6. เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)เยื่อหุ้มสมอง หมายถึง แผ่นเยื่อบางๆ ที่ห่อหุ้มเนื้อสมองและไขสันหลังไว้ ถ้าเยื่อนี้เกิดการติดเชื้ออักเสบ เรียกว่า เยื่อหุ้มสมองอักเสบสาเหตุ เยื่อหุ้มสมองอักเสบแบ่งออกได้หลายชนิด ซึ่งมีสาเหตุและความรุนแรงแตกต่างกันไป ที่พบบ่อยได้แก่ เยื่อหุ้มสมองอักเสบเฉียบพลันชนิดมีหนอง เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากวัณโรค เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากไวรัส เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา และเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากพยาธิเป็นต้นอาการ มีไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียนมาก และคอแข็ง (คอแอ่นไปข้างหลัง และก้มไม่ลง) ผู้ป่วยส่วนมากจะบ่นปวดทั่วศีรษะ โดยเฉพาะเวลามีการเคลื่อนไหวของศีรษะ มักจะปวดติดต่อกันหลายวัน และอาจรู้สึกปวดคล้ายศีรษะจะระเบิด กินยาแก้ปวดก็ไม่ช่วยให้ทุเลา ส่วนอาการไข้ อาจมีไข้สูงตลอดเวลาหรือไข้ต่ำๆ ก็ได้ แล้วแต่สาเหตุ ถ้ามีสาเหตุจากพยาธิอาจมีไข้ต่ำๆ หรือไม่มีไข้ก็ได้ หากไม่ได้รับการรักษา ต่อมาผู้ป่วยจะมีอาการกระสับกระส่าย สับสน ซึมลงเรื่อยๆ จนกระทั่งหมดสติ บางรายอาจมีอาการกลัวแสง เห็นภาพซ้อน กลืนลำบาก แขนขาเป็นอัมพาตหรือชักติด กันนานๆ ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี อาการอาจไม่ค่อยชัดเจน อาจมีไข้สูง กระสับกระส่าย ร้องไห้เสียงแหลม อาเจียน ชัก และกระหม่อมโป่งตึง อาจตรวจไม่พบอาการคอแข็งการรักษา ถ้าสงสัย ควรส่งไปตรวจที่โรงพยาบาล ให้การรักษาตามอาการ ยาปฏิชีวะนะ
  7. ไมเกรน (Migraine)ไมเกรน พบได้ประมาณร้อยละ 5 – 10 ของประชากรทั่วไป พบได้ในคนทุกวัย แต่พบมากในช่วงอายุ 10 – 30 ปี พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย มักเป็นๆ หายๆ เรื้อรัง เริ่มเป็นครั้งแรกตอนย่างเข้าวัยรุ่น ผู้ป่วยหญิงมักเป็นโรคนี้ตอนเริ่มมีประจำ ผู้หญิงที่เคยเป็นไมเกรนมาก่อน เมื่อถึงวัยประจำเดือนใกล้หมด (40 – 50 ปี) อาจมีอาการปวดศีรษะบ่อยขึ้น โรคนี้มักจะหายไปเองเมื่ออายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไปสาเหตุ สาเหตุยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด สันนิษฐานว่าเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในสมองที่มีชื่อว่า ซีโรโทนิน (serotonin) (พบว่ามีปริมาณลดลงขณะที่มีอาการกำเริบ) ร่วมกับสารเคมีในสมองกลุ่มอื่นๆ ส่งผลให้เกิดการอักเสบของเส้นใยประสาทสมองเส้นที่ 5 (trigeminal nerve fiber ที่เลี้ยงบริเวณใบหน้าและศีรษะ) รวมทั้งการอักเสบร่วมกับการหดและขยายตัวของหลอดเลือดแดงทั้งในและนอกกะโหลกศีรษะ ทำให้สมองส่วนcortex มีเลือดไปเลี้ยงน้อยลง กระตุ้นให้เกิดอาการปวดศีรษะและอาการร่วมต่างๆ ขึ้นมาอาการ ปวดที่ขมับหรือเบ้าตาซีกใดซีกหนึ่ง ปวดแบบตุบๆ เข้ากับจังหวะการเต้นของหัวใจ แต่บางครั้งก็อาจปวดแบบตื้อๆ ก็ได้ อาจปวดสลับข้างในแต่ละครั้ง หรือปวดพร้อมกันทั้ง 2 ข้าง บางรายอาจปวดทั้งศีรษะ มักปวดนานเป็นชั่วโมงๆ หรือเป็นวันๆ (แต่มักไม่เกิน 72 ชั่วโมง) บางรายก่อนปวดหรือขณะปวด อาจมีอาการตาพร่า ตาลาย ตาเห็นแสงวอบแวบ หรือตามืดมัวไปครึ่งซีก นอกจากนี้ บางครั้งอาจมีอาการเวียนศีรษะ กลัวแสง ปวดเสียวหนังศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ท้องเดินร่วมด้วยการรักษา เมื่อเริ่มมีอาการปวดศีรษะให้นั่งหรือนอนพักในห้องมืดและเงียบๆ กินยาแก้ปวด 1 – 2 เม็ด หรือนาโพรเซน(Naproxen) 3 เม็ด ในรายที่ใช้ไม่ได้ผล ในการปวดครั้งต่อไปให้กินยาเม็ดคาเฟอร์กอต(carfergot)ทันทีที่เริ่มมีอาการครั้งแรกให้กิน 1 เม็ด ซึ่งมักจะได้ผล แต่ถ้าไม่หาย อีก 1 ชั่วโมงต่อมา ให้ซ้ำได้อีก 1 เม็ด วันหนึ่งไม่ควรกินเกิน 2 เม็ด และไม่ควรกินติดต่อกันเกิน 3 วัน มิฉะนั้นอาจเกิดพิษต่อร่างกายได้ ถ้าปวดรุนแรงหรือกินคาเฟอร์กอต(carfergot)แล้วยังไม่ดีขึ้น ควรแนะนำไปโรงพยาบาล เพื่อตรวจหาสาเหตุให้แน่ใจ
  8. ปวดศีรษะจากความเครียด (Fainting/Syncope)พบได้ค่อนข้างบ่อยในคนทุกวัยสาเหตุ มักพบเนื่องจากร่างกายอ่อนเพลียหรือเหนื่อยจัด, อยู่ในฝูงชนแออัด อาการไม่พอหายใจ, อยู่กลางแดดที่ร้อนจัด, อยู่ในที่ที่อาการร้อนอบอ้าว, ตื่นเต้นตกใจ หรือเสียใจอย่างกะทันหัน, มีความรู้สึกเจ็บปวดรุนแรง ทำให้เกิดภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอชั่วขณะหนึ่ง ไม่รู้สึกตัวไปชั่วขณะ แล้วฟื้นคืนสติได้เอง มักจะไม่ทำให้เกิดอันตรายร้ายแรง อาการ รู้สึกไม่ค่อยสบาย ศีรษะเบาหวิว วิงเวียนเห็นพื้นหมุน และรู้สึกโคลงเคลง ตาพร่า หูอื้อ คลื่นไส้ บางครั้งอาจอาเจียน เหงื่อออก มือเท้าเย็น ถ้าได้นั่งหรือนอนลงทันทีจะรู้สึกค่อยยังชั่ว แต่ถ้ายังอยู่ในท่าเดิม ผู้ป่วยก็จะอ่อนปวกเปียกทั้งตัว ล้มลงกับพื้น หมดสติในทันที เมื่อผู้ป่วยนอนลงกับพื้นแล้ว มักจะฟื้นภายในเวลาอันรวดเร็ว (ผู้ป่วยมักจะหมดสตินานไม่เกิน 1 นาทีหรืออย่างมาก 2 - 3 นาที)  การรักษาให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำ (ไม่ต้องหนุนหมอน) ปลดเสื้อผ้าและเข็มขัดให้หลวม เพื่อให้เลือดไปเลี้ยงสมองได้เร็วและพอเพียงห้ามคนมุงดู เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้ให้ดมยาแอมโมเนียหอม อาจใช้น้ำเย็นเช็ดบริเวณคอและและใบหน้า ซึ่งจะช่วยให้รู้สึกตัวเร็วห้ามกินหรือดื่มอะไรทางปากในขณะที่ยังไม่ฟื้นเมื่อเริ่มรู้สึกตัว ให้ผู้ป่วยนอนพักต่อ อย่าเพิ่งลุกนั่งเร็วเกินไป อาจทำให้เป็นลมซ้ำอีกได้เมื่อผู้ป่วยเริ่มกลืนได้ อาจให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ (ถ้ารู้สึกกระหายน้ำ) หรือให้ดื่มน้ำหวาน (ถ้ารู้สึกหิว)
  9. เนื้องอกในสมอง (Brain tumor)สาเหตุ เนื้องอกในสมองที่พบในเด็กมักเป็นเนื้องอกที่เกิดขึ้นในกะโหลกศีรษะ ส่วนในผู้ใหญ่หรือคนสูงอายุอาจเป็นเนื้องอกที่เกิดขึ้นภายในกะโหลกศีรษะ หรือ เป็นเนื้องอกที่เกิดขึ้นภายในกะโหลกศีรษะ หรือเป็นเนื้องอกที่แพร่กระจายมากจากที่อื่น (เช่น ปอด เต้านม ไต ต่อมไทรอยด์ กระเพาะลำไส้)อาการ ปวดศีรษะเรื้อรัง ปวดมากเวลาตื่นนอนตอนเช้า พอสายๆ ค่อยยังชั่ว หรือาจปวดมากเวลาล้มตัวลงนอน หรือเวลาไอ จาม หรือเบ่งอุจจาระ อาการปวดศีรษะจะรุนแรงขึ้นทุกวัน จนผู้ป่วยต้องสะดุ้งตื่นตอนเช้ามืดเพราะอาการปวดศีรษะ ระยะต่อมา (เมื่อก้อนเนื้องอกโตขึ้น) จะมีอาการอาเจียนร่วมกับอาการปวดศีรษะ ซึ่งอาจมีลักษณะอาเจียนพุ่งรุนแรง โดยไม่มีอาการคลื่นไส้นำมาก่อนนอกจากนี้ยังอาจมีอาการตามัวลงเรื่อยๆ เห็นภาพซ้อน หูอื้อ ตาเหล่ ตากระตุก วิงเวียน เดินเซ มือเท้าทำงานไม่ถนัด แขนขาชาหรืออ่อนแรง ชัก ซึ่งอาจชักทั้งร่างกายหรือเฉพาะส่วนของร่างกาย ความจำเสื่อม หรือบุคลิกภาพเปลี่ยนไปจากเดิมในรายที่เป็นเนื้องอกต่อมใต้สมอง (pituitary tumor) บางรายอาจมีอาการของโรคคุชชิง หรือเบาจืด หรือรูปร่างสูงใหญ่ผิดปกติ (giantismacromegaly) ถ้าพบในผู้หญิงอาจทำให้ประจำเดือนไม่มา หรือมีน้ำนมออกผิดธรรมชาติ (galactorrhea)การรักษา ถ้าสงสัย ควรส่งไปตรวจที่โรงพยาบาล อาจต้องเอกซเรย์กะโหลกศีรษะ เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองถ่ายภาพด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ตรวจคลื่นสมอง ตรวจพิเศษอื่นๆ ถ้าพบว่าเป็นเนื้องอกในสมอง อาจต้องรักษาด้วยการผ่าตัด หรือฉายรังสี
  10. แนวทางการรักษาตามกลุ่มอาการที่เกิดร่วมกับอาการปวดศีรษะ มีดังนี้1. ถ้ามีอาการร่วมกับอาการข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้1.1 ชักกระตุก 1.2 คอแข็ง 1.3 ปวดศีรษะรุนแรง1.4 อาเจียนรุนแรง 1.5 แขนขาอ่อนแรงหรือเดินเซ 1.6 ตามืดลงฉับพลัน เห็นภาพซ้อน1.7 ความดันโลหิต &gt;หรือ = 210/120ให้ส่งต่อทันที โดยให้การรักษาเบื้องต้น ดังนี้ (ประเมินอาการ : ฉุกเฉิน)1) งดน้ำและอาหาร 2) ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามความจำเป็น และ 3) ระวังอุบัติเหตุ ตกเตียง หกล้ม ขณะส่งต่อ2. ถ้ามีอาการร่วมกับอาการข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้2.1 ปวดหัวข้างเดียวในคนอายุมากกว่า 40ปี โดยไม่เคยปวดหัวไมเกรนมาก่อน2.2 ปวดศีรษะติดต่อกันนานเกิน 3 วัน2.3 ปวดชาลงแขนข้างใดข้างหนึ่ง2.4 ความดันโลหิต มากกว่าหรือเท่ากับ 160/100การรักษาเบื้องต้น /ส่งต่อ แนะนำพักผ่อน ให้ยาบรรเทาปวด สังเกตประเมินอาการและส่งต่อภายใน 3 วัน3. ถ้ามีอาการร่วมกับอาการข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้3.1 มีอาการคัดจมูก ร่วมกับมีน้ำมูก หรือเสมหะข้นเหลืองเขียวการรักษาเบื้องต้น /ส่งต่อแนะนำการพักผ่อน ดื่มน้ำอุ่นมากๆ ให้ยาแก้ปววด, ยาลดน้ำมูก (Chlorpheniramine) และให้ยาปฏิชีวนะ (AmoxycilinCortimoxazoleหรือ Erythromycin) เป็นเวลา 3 วัน3.2 ถ้าปวดบริเวณไซนัสและหรือเคาะบริเวณไซนัสแล้วปวดการรักษาเบื้องต้น /ส่งต่อ ให้ยาแก้ปวด ยาปฏิชีวนะ (AmoxycilinCortimoxazoleหรือ Erythromycin) เป็นเวลา 3 วัน ถ้าดีขึ้นเกินต่ออีก 2-3 สัปดาห์ และควรส่งต่อ ถ้าไม่ดีขึ้น หรือเป็นๆ หายๆ3.3 ถ้ามีประวัติเป็นไมเกรน (ปวดตุบๆ ที่ขมับ ข้างเดียวหรือ 2 ข้าง นานเป็นชั่วโมง หรือเป็นวันโดยมีเหตุกำเริบชัดเจนและเป็นๆ หายๆ ตั้งแต่วัยรุ่นหรือวัยหนุ่มสาว ความดันโลหิตปกติ)การรักษาเบื้องต้น /ส่งต่อ 1) ให้ยาแก้ปวด Paracetamolกินทันที เมื่เริ่มมีอาการ 2) นอนหลับหรือนั่งพักผ่อน หายใจเข้าออกยาวๆ ในห้องที่มืด เงียบและเย็นสบาย 3) แนะนำวิธีป้องกันโดยพยายามหลีกเลี่ยงสาเหตุกำเริบ และ4) ควรส่งต่อ ถ้ามีอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อไปนี้ได้แก่ กินยาไม่ทุเลา ปวดนานเกิน 3 วัน ปวดแรงหรือถี่ขึ้นกว่าเดิม มีอาการครั้งแรก เมื่ออายุมากกว่า 40 ปี และความดันโลหิตสูง SBP  140 หรือ DBP  90 มม.ปรอท3.4 ถ้าปวดศีรษะโดยไม่มีอาการร่วมดังกล่าวข้างต้นการรักษาเบื้องต้น /ส่งต่อ ให้คำแนะนำดังนี้ใช้นิ้วนวดบริเวณที่ปวด นอนพักในห้องมืดๆ เงียบๆ ถ้าไม่หายปวดให้กินยาแก้ปวด Paracetamolควรพิจารณาส่งต่อเมื่อกินยาแล้วอาการปวดไม่ทุเลา     
  11. แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ อาการมึนงง (dizziness) กับอาการรู้สึกหมุน (vertigo)Dizziness เกิดจากความผิดปกติของส่วนใดส่วนหนึ่งในระบบประสาทที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัว มักมีสาเหตุหลายอย่างและอาจเกิดร่วมกันได้ ผู้ป่วยจะบ่นว่า มึนงง เวียนหัว ทรงตัวไม่ดี จะเป็นลม ล้มง่าย ซึ่งมีอาการไม่จำเพาะ แต่จะไม่มีอาการหมุน หรือโคลงเคลงร่วมด้วยVertigo คือ อาการวิงเวียนที่มีความรู้สึกหมุน (อาจเป็นตัวผู้ป่วยหมุน หรือสิ่งแวดล้อมหมุน แกว่ง เอียง หรือโคลงเคลงของสิ่งรอบตัว)
  12. แนวทางการซักประวัติ ซักประวัติตามหลักการซักประวัติทั่วไป และสิ่งบ่งชี้ถึงอาการเวียนศีรษะถามเพื่อแยกว่าเป็น dizziness หรือ vertigo โดยถามอาการบ้านหมุน เป็น vertigoถามรายละเอียดของ vertigo เช่น latency, adaptation, fats gability duration aggravating และ relieving position, recurrent หรือ sustained ถามประวัติการทรงตัวผิดปกติ อาการคลื่นไส้ อาเจียนร่วมด้วยถามอาการทางหู เช่น การได้ยินลดลง เสียงหึ่งในหู ซึ่งจะบ่งบอกว่าเป็นหูชั้นในถามอาการของ brain storm และ cerebella dysfunction หากเป็น dizzinessถามดูการกระตุ้นให้เกิดอาการ เช่น สายตาผิดปกติ การเปลี่ยนท่า เช่น ท่านอน เป็นท่านั่งซักถามประวัติเพื่อหาสาเหตุ เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ซีดการใช้ยาจากการที่ศีรษะได้รับอันตราย การถ่ายอุจจาระ (ท้องเสีย ถ่ายดำ) การตกเลือด
  13. ตรวจร่างกาย สังเกตผู้ป่วยเมื่อแรกพบพฤติกรรม บุคลิก อารมณ์การพูด ความสนใจ ความจำ ประเมินความเชื่อถือได้ของข้อมูล ตรวจทางระบบประสาท ทำร่วมกับตรวจร่างกายทั่วไป เช่น การทรงตัว การมองเห็น และ ปฏิกิริยาต่อแสง (Light reflex) การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน : การรับประทานอาหาร ชำระร่างกาย ขับถ่าย
  14. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : การเจาะน้ำไขสันหลัง , การทำ CT scan หรือ MRI
  15. ความดันโลหิตต่ำ: ส่วนใหญ่มักพบเป็นความดันตกในท่ายืน (Postural hypotension) ในคนปกติ เมื่อลุกขึ้นยืน จะทำให้เลือดคั่งที่เท้าเป็นเหตุให้ปริมาตรเลือดที่ไหลเวียนในกระแสเลือดลดลง ร่างกายจะปรับตัวโดยอัตโนมัติ ให้หลอดเลือดแดงหดตัวทันที เพื่อให้ความดันเลือดอยู่ในภาวะปกติ แต่ผู้ป่วยจะไม่สามารถปรับตัวได้ตามปกติ ขณะที่เปลี่ยนจากท่านอนเป็นยืน จะมีภาวะความดันต่ำกว่าปกติทันที ทำให้หน้ามืด วิงเวียนคล้ายเป็นลมชั่วขณะ เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ เรียกภาวะความดันต่ำขณะลุกขึ้นนี้ว่า ความดันตกในท่ายืนสาเหตุ ที่พบบ่อยคือ เกิดจากยา เช่น ยารักษาความดันโลหิตสูง, ยานอนหลับ, ยารักษาโรคจิตบางชนิด อาจพบในผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยโรคปลายประสาทอักเสบ ผู้ป่วยที่ขาดอาหาร มีโพแทสเซียมในเลือดต่ำ โรคแอดดิสัน (Addison&apos;s disease) หรือบางรายอาจตรวจไม่พบสาเหตุอาการ หน้ามืด วิงเวียน จะเป็นลมขณะลุกนั่งหรือยืนทุกครั้ง อาจรู้สึกคลื่นไส้ อาเจียน ตาพร่า ตาลายร่วมด้วย สักครู่หนึ่งก็หายเป็นปกติ รายที่เป็นมากอาจหมดสติ ชัก เมื่อล้มตัวลงนอนก็จะหายได้เองสิ่งที่ตรวจพบ ความดันช่วงบนที่วัดในท่ายืนต่ำกว่าท่านอนมากกว่า 30 มิลลิเมตรปรอท การรักษาภาวะความดันตกในท่ายืน เป็นเพียงอาการที่ปรากฎให้เห็น ไม่ใช่โรค ดังนั้นจึงควรค้นหาสาเหตุ และให้การรักษาตามสาเหตุที่พบควรแนะนำให้ผู้ป่วยลุกขึ้นจากเตียงช้าๆ อย่าลุกพรวดพราด ควรแยกออกจากอาการวิงเวียนกลุ่มที่มีสาเหตุไม่ชัดเจนแม้ว่าสองโรคนี้จะมีความดันเลือดต่ำคล้ายกัน แต่ในผู้ที่มีภาวะความดันตกในท่ายืน จะมีค่าความดันช่วงบนในท่ายืนต่ำกว่าในท่านอนมากกว่า 30 mmHg. ในขณะที่ความดันทั้งในท่านั่งและท่านอนของผู้ป่วยอีกโรคหนึ่งไม่ต่างกันหรือต่างกันน้อยกว่า 30 mmHg.
  16. 10.โรคกังวล/โรคประสาทกังวล (Anxiety neurosis/Anxiety reaction)โรคกังวล เป็นโรคประสาทที่พบได้บ่อยที่สุด พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ประมาณ 2 เท่า พบมากในช่วงอายุ 20 – 35 ปี และวัยสูงอายุคนทุกระดับการศึกษาและฐานะมีโอกาสเป็นโรคนี้เท่าๆ กันสาเหตุ อาจมีสาเหตุทางกรรมพันธุ์ หรือเกิดจากบุคลิกภาพเดิมที่หวาดหวั่นวิตกกังวลง่ายหรือขี้อาย หรือเกิดจากความเครียดทางจิตใจ เช่น ปัญหาครอบครัว ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่การงาน การเรียน หรือเกิดจากมีการสูญเสีย เป็นต้น อาจมีอาการทันทีที่เกิดความเครียดหรือภายหลังจากเกิดความเครียดเป็นเวลานานอาการ มีความวิตกกังวลโดยไม่มีสาเหตุชัดเจนหรือจากสาเหตุเล็กน้อยที่ไม่สมเหตุผล อาการที่พบได้บ่อย คือ นอนหลับยาก และอาจมีการฝันร้ายบ่อยหงุดหงิด โมโหง่าย ไม่มีสมาธิ ตื่นเต้นตกใจง่ายมักมีอาการใจสั่นหวิว เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ปวดมึนศีรษะ หน้ามืดบ่อย เบื่ออาหาร หรือวูบวาบตามตัวและแขนขา มือสั่น เหงื่อออกง่าย บางรายอาจบ่นว่ามีอาการหายใจไม่อิ่ม จุกแน่นในลำคอ ออกร้อนในท้อง หรือเจ็บหน้าอก หรืออาจมีอาการหายใจหอบและมือจีบเกร็งจากโรคหอบจากอารมณ์ ซึมเศร้า ท้อแท้สิ้นหวัง มีความรู้สึกกลัว (phobia) เช่น กลัวตาย กลัวเป็นโรคต่างๆ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังสามารถทำงานหรือดำเนินชีวิตได้เป็นปกติ  การรักษาให้ยากล่อมประสาท ได้แก่ ไดอะซีแพม (diazepam) ถ้านอนไม่หลับให้ยานี้ขนาด 5 -20 มิลลิกรัม ก่อนนอน ไม่ควรให้ยาติดต่อกันนานเกิน 2 เดือน เพราะอาจทำให้ติดยาได้ เมื่ออาการดีขึ้น ควรหยุดยาให้ยารักษาตามอาการ เช่น ให้ยาแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ, ยาแก้ปวด, ถ้าเบื่ออาหารให้วิตามินรวม หรือวิตามินบีรวมถ้าอาการไม่ดีขึ้นภายใน 1 – 2 เดือน หรือผู้ป่วยมีอาการซึมเศร้า ท้อแท้ สิ้นหวัง หรืออยากตาย ควรปรึกษาจิตแพทย์ เพื่อตรวจวินิจฉัยให้แน่ใจ และปรับเปลี่ยนวิธีการรักษาให้เหมาะสมถ้ามีอาการเหนื่อยง่าย เหงื่อออก มือสั่น ใจสั่น ชีพจรเต้นเร็วกว่านาทีละ 100 ครั้ง อาจให้ยาปิดกั้นบีตา เช่น โพรพราโนลอล (propranolol) ครั้งละ 10 – 40 มิลลิกรัม วันละ 2 – 3 ครั้ง ยานี้อาจทำให้ชีพจรเต้นช้าและความดันตก หน้ามืด วิงเวียนเป็นลมได้ ยานี้จึงห้ามใช้ในคนที่เป็นหืด
  17. แนวการรักษาตามกลุ่มอาการที่เกิดร่วมกับอาการเวียนศีรษะ มีดังนี้ถ้ามีอาการร่วมกับอาการข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ช็อค 2) เจ็บหน้าอกรุนแรง 3) ปวดท้องรุนแรง 4) อาเจียนรุนแรง 5) ท้องเดินรุนแรง 6) ตกเลือด 7) ถ่ายอุจจาระดำ 8) ความดัน SBP  210 หรือ DBP  120 มม. ปรอทการรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ ควรส่งต่อทันที โดยให้การรักษาเบื้องต้น ดังนี้วัดสัญญาณชีพ ดูแลภาวะฉุกเฉิน (ABCs) งดน้ำ และอาหาร และถ้ามีภาวะช็อค หรือขาดน้ำให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ2. ถ้ามีอาการร่วมกับอาการข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้มีเสียงดังในหู 2) หูอื้อ 3) เดินเช 4) ตากระตุก 5) อาเจียนจนกินไม่ได้ 6) มีอาการเห็นพื้น หรือเพดานหมุนเกิน 1 สัปดาห์ 7) ความดัน SBP  140 หรือ ความดัน DBP  90 มม. ปรอทการรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ ควรส่งต่อ ภายใน 24 ชั่วโมง โดยให้การรักษาขั้นต้น ดังนี้ถ้าอาเจียนหรือเห็นพื้นหรือเพดานหมุน ให้ยาแก้อาเจียน (Dimenhydrinate)ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามความจำเป็น3. ถ้าไม่มีอาการดังในข้อ 1 และ 2 แต่มีอาการเห็นพื้นหรือเพดานหมุนร่วมด้วยการรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ ระวังอย่าหันศีรษะไปในทิศทางที่กระตุ้นให้เกิดอาการให้ยาแก้อาเจียน (Dimenhydrinate) ควรส่งต่อ ถ้ามีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ อาการไม่ดีขึ้นใน 3 วัน กินไม่ได้ลุกเดินไม่ได้ และมีอาการเป็นๆ หายๆ บ่อยถ้ามีประวัติขาดประจำเดือนการรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ ทำการทดสอบการตั้งครรภ์ ถ้าพบว่าตั้งครรภ์ แนะนำให้ฝากครรภ์ถ้ามีอาการหลังกินยาหรือดื่มเหล้าการรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ ควรหยุดยาหรือเหล้า และควรส่งต่อ ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ใน 24 ชั่วโมง หรือมีโรคประจำตัวที่ต้องกินยาต่อถ้าไม่มีอาการดังกล่าวตามข้อ 1) – 3)การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เวลาลุกหรือยืนให้เคลื่อนไหวช้าๆ อย่าลุกพรวดพลาด ถ้ามีอาการอาเจียน ให้ยาแก้อาเจียน (Dimenhydrinate) ควรส่งต่อถ้าอาการไม่ดีขึ้นใน 1 สัปดาห์ หรือเป็นๆ หายๆ บ่อย
  18. แนวทางการซักประวัติ ซักประวัติตามหลักการซักประวัติทั่วไป และสิ่งบ่งชี้ของอาการชาถามความดันโลหิตของผู้ป่วยประวัติการเจ็บป่วย : โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงการดื่มสุราชาซีกใดซีกหนึ่งของร่างกายระยะเวลาการปวด (นานกว่า 2 สัปดาห์ : เนื้องอกในสมอง)การชาบริเวณรอยด่างขาว ตุ่ม แผ่นหนามีอาการปวดข้อ ปวดหลัง ปวดคอ ร่วมด้วยหรือไม่
  19. การตรวจร่างกาย สังเกตผู้ป่วยเมื่อแรกพบพฤติกรรม บุคลิก อารมณ์การพูด ความสนใจ ความจำ ประเมินความเชื่อถือได้ของข้อมูลตรวจระบบประสาทร่วมกับตรวจร่างกายทั่วไป Two point discrimination, การตรวจ sensory ต่างๆ, Reflex, การอ่อนแรงของกล้ามเนื้อการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การทำ CT, MRI
  20. ปลายประสาทอักเสบจากสุรา (Peripheral neuropathy) เป็นความผิดปกติของประสาทส่วนปลาย ทำให้ส่วนปลายของแขนขามีอาการชาและอ่อนแรง ซึ่งอาจเกิดขึ้นกับประสาทเส้นเดียว (mononeuropathy) หรือหลายเส้นพร้อมกัน (polyneuropathy) ก็ได้ โรคนี้พบมากในวัยกลางคนที่เป็นเบาหวานหรือดื่มสุราจัดสาเหตุ เกิดจากประสาทส่วนปลายเสื่อม ซึ่งอาจมีสาเหตุจากการขาดสารอาหาร (เช่น โรคเหน็บชา โรคพิษสุราเรื้อรัง), เบาหวาน, จากพิษของยา , พิษของสารเคมี , โรคติดเชื้อ , เอสแอลอี มะเร็ง , เนื้องอกที่กดทับเส้นประสาท, ภาวะบีบรัดเส้นประสาท , หรือการได้รับบาดเจ็บของเส้นประสาทอาการ มักค่อยๆ เกิดขึ้นช้าๆ กินเวลาเป็นเดือนหรือเป็นปี โดยมีอาการชา รู้สึกซู่ซ่า หรือปวดแสบปวดร้อนตามปลายมือปลายเท้า มักจะเป็นมากตอนกลางคืนหรือเวลาสัมผัสถูก ถ้าเป็นมากจะรู้สึกชา เข็มแทงไม่เจ็บโดยกินบริเวณปลายมือปลายเท้าคล้ายกับการใส่ถุงมือถุงเท้าอาจมีอาการปลายมือปลายเท้าอ่อนแรง ถ้าเป็นมากอาจเป็นอัมพาต กล้ามเนื้อลีบ เดินเซอาการแทรกซ้อน อาจทำให้เกิดบาดแผลได้ง่าย เนื่องจากไม่มีความรู้สึก หรือ อาจทำให้แขนขาเป็นอัมพาตได้การรักษา ควรส่งโรงพยาบาลเพื่อตรวจหาสาเหตุ อาจต้องตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ เอกซเรย์ หรือตรวจพิเศษอื่นๆ แล้วให้การรักษาตามสาเหตุที่พบ ถ้าแขนขาอ่อนแรง อาจให้การรักษาทางกายภาพบำบัดร่วมด้วย
  21. โรคหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular Accident/CVA) อัมพาตครึ่งซีก จัดว่าเป็นโรคที่พบได้บ่อย มักพบในวัยกลางคน และเป็นได้ทั้งหญิงและชายโรคนี้เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดแดงในสมอง กล่าวคือ อาจมีการแตก ตีบหรือตันของหลอดเลือดเหล่านี้ ทำให้เนื้อสมองบางส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของร่างกายตายไปและหยุดสั่งงาน จึงทำให้เกิดอาการอัมพาตของร่างกายส่วนนั้นๆ ขึ้น อาการมักจะเกิดขึ้นฉับพลันทันที เรียกว่า โรคลมอัมพาต หรือโรคลมปัจจุบัน (stroke) หรือโรคหลอดเลือดสมอง (cerebrovascular accident/CVA)สาเหตุ แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ซึ่งมีความรุนแรงและวิธีการรักษาที่ต่างกัน ดังนี้หลอดเลือดสมองตีบ (thrombotic stroke) เกิดจากภาวะหลอดเลือดแดงแข็งและตีบ ซึ่งจะค่อยๆ เกิดขึ้นทีละน้อย ในที่สุดจะมีลิ่มเลือดหรือทรอมโบซิส (thrombosis) เกิดขึ้นจนอุดตันหลอดเลือด ทำให้เซลล์สมองตายเพราะขาดเลือดไปเลี้ยง พบมากในคนสูงอายุ โรคนี้มักพบเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยในผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง, เบาหวาน, ภาวะไขมันในเลือดสูง, ผู้ที่สูบบุหรี่หรือดื่มเหล้าจัด, หรือคนอ้วน ซึ่งมีโอกาสเกิดภาวะนี้ได้ก่อนวัยสูงอายุ เนื่องจากกลุ่มคนเหล่านี้มักมีภาวะหลอดเลือดแดงแข็งแร็วกว่าปกติภาวะหลอดเลือดสมองตีบเป็นสาเหตุของอาการอัมพาตครึ่งซีกที่พบได้บ่อยกว่าสาเหตุอื่นๆ และมีอันตรายน้อยกว่าหลอดเลือดสมองแตกภาวะสิ่งหลุดอุดตันหลอดเลือดสมอง (embolic stroke)เนื่องจากมี “สิ่งหลุด” (embolus) ซึ่งเป็นลิ่มเลือดที่เกิดขึ้นในหลอดเลือดที่อยู่นอกสมอง (ที่พบบ่อย คือ ลิ่มเลือดที่เกิดขึ้นในหัวใจ) หลุดลอยตามกระแสเลือดขึ้นไปอุดตันในหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองทำให้เซลล์สมองตายเพราะขาดเลือด มักพบในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจ เช่น โรคหัวใจรูมาติก, กล้ามเนื้อหัวใจตาย, หัวใจเต้นผิดจังหวะ, โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด, เยื่อบุหัวใจอักเสบ, ผู้ป่วยที่ผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม เป็นต้นหลอดเลือดสมองแตก หรือ การตกเลือดในสมอง (hemorrhagic stroke)ทำให้เนื้อสมองโดยรอบตาย นับว่าเป็นสาเหตุที่มีอันตรายร้ายแรง อาจทำให้ผู้ป่วยตายได้ในเวลารวดเร็วอาการอยู่ๆ ก็มีอาการแขนขาซีกหนึ่งอ่อนแรงทันทีทันใด ผู้ป่วยอาจสังเกตพบอาการอัมพาตขณะตื่นนอน หรือขณะเดินหรือทำงานอยุ่ก็รู้สึกทรุดล้มลงไป ผู้ป่วยอาจมีอาการชาตามแขนขา ตามัวตาเห็นภาพซ้อน พูดไม่ได้ หรือพูดอ้อแอ้ ปากเบี้ยวหรือกลืนไม่ได้ร่วมด้วย บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ วิงเวียน หรือมีความรู้สึกสับสนนำมาก่อนที่จะมีอาการอัมพาตของแขนขา มักมีความผิดปกติที่ซีกใดซีกหนึ่งของร่างกายผู้ป่วยส่วนมากจะรู้สึกตัวดี หรืออาจจะซึมลงเล็กน้อย ยกเว้นในรายที่เป็นรุนแรง อาจมีอาการหมดสติร่วมด้วย อาการอัมพาตมักจะเป็นอยู่นานกว่า 24 ชั่วโมงขึ้นไป และจะเป็นอยู่นานเป็นแรมเดือนแรมปี หรือตลอดชีวิต ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาตบางราย อาจมีประวัติแขนขาชาและอ่อนแรง ปากเบี้ยว พูดไม่ได้ ตามัว หรือเวียนศีรษะ ซึ่งจะเป็นนานเพียง 2 – 3 นาที (บางรายอาจนานเป็นชั่วโมง แต่จะไม่เกิน 24 ชั่วโมง) แล้วหายเป็นปกติได้เอง โดยไม่ต้องให้การรักษาแต่อย่างใด อาการดังกล่าวเกิดจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยง เนื่องจากมีการอุดตันของหลอดเลือดแดงในสมองซึ่งเกิดขึ้นเพียงชั่วคราว เรียกว่า โรคสมองขาดเลือดชั่วขณะ หรือทีไอเอ (TIA ซึ่งย่อมาจาก transient ischemic attack) ผู้ป่วยอาจมีอาการดังกล่าวเป็นๆ หายๆ มาก่อนสักระยะหนึ่ง (อาจประมาณ 6 เดือนถึง 1 ปี) จึงค่อยเกิดอาการอัมพาตอย่างถาวรตามมาในภายหลัง2. ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาตเนื่องจากภาวะสิ่งหลุดอุดตันหลอดเลือดสมอง จะมีอาการคล้ายในข้อ 1 แต่อาการอัมพาตมักเกิดขึ้นฉับพลันทันที3. ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาตเนื่องจากหลอดเลือดสมองแตก (มักพบในคนหนุ่มสาวหรือวัยกลางคน) อาการมักเกิดขึ้นทันทีทันใด ขณะทำงานออกแรงมากๆ โดยไม่มีสิ่งบอกเหตุล่วงหน้า อาจบ่นปวดศีรษะ หรือปวดศีรษะซีกเดียวอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน แล้วก็มีอาการปากเบี้ยว พูดไม่ได้ แขนขาค่อยๆ อ่อนแรง อาจชักและหมดสติในเวลารวดเร็ว ผู้ป่วยมักมีอาการหมดสติ ตัวเกร็ง รูม่านตาหดเล็กทั้ง 2 ข้าง ซึ่งมักจะตายใน 1 – 2 วัน ถ้าตกเลือดไม่รุนแรง ก็อาจมีโอกาสฟื้นและค่อยๆ ดีขึ้น หรือถ้าได้รับการผ่าตัดได้ทันท่วงทีก็อาจช่วยให้รอดได้อาการแทรกซ้อน รายที่เป็นรุนแรง อาจตายด้วยโรคแทรกทางสมอง หัวใจ โรคหัวใจ หรือภาวะสิ่งหลุดอุดตันหลอดเลือดแดงปอด (pulmonary embolism), ปอดอักเสบในรายที่เป็นอัมพาตเรื้อรังและลุกนั่งไม่ได้ อาจนอนมากจนมีแผลกดทับ (bed sores) อาจสำลักอาหาร เกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจ หรือปอดอักเสบ เป็นโรคทางเดินปัสสาวะอักเสบได้ง่ายเป็นแผลถลอกของกระจกตา หรือเป็นโรคซึมเศร้าการรักษา ถ้าหมดสติ ซึม คอแข็ง ชัก กินไม่ได้ ควรส่งโรงพยาบาลด่วน ถ้ามีภาวะขาดน้ำ ควรให้น้ำเกลือไประหว่างส่งต่อ ส่วนผู้ป่วยที่ยังรู้สึกตัวดี ควรส่งโรงพยาบาลภายใน 24 ชั่วโมง อาจต้องตรวจหาสาเหตุโดยการเอกซเรย์คอมพิวเตอร์, ถ่ายภาพด้วยคลื่นไม่เหล็กไฟฟ้า (MRI), เจาะหลัง ตรวจเลือด, ตรวจปัสสาวะและอื่นๆ แล้วให้การรักษาตามสาเหตุ ดังนี้1. ในรายที่เป็นเพียง TIA คือ มีอาการของอัมพาตไม่เกิน 24 ชั่วโมง แล้วหายได้เอง อาจให้แอสไพริน(Aspirin)วันละ 75 – 325 มิลลิกรัม ทุกวันตลอดไป เพื่อป้องกันมิให้มีการอุดตันของหลอดเลือดอย่างถาวร ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยกลายเป็นอัมพาต ชนิดถาวร ในรายที่กินแอสไพรินไม่ได้ อาจให้ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด เช่น ไทโคลดิพีน (Ticlodipine) ขนาด 250 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้งแทนในรายที่เกิดจากหลอดเลือดตีบ หรือภาวะสิ่งหลุดอุดตันหลอดเลือด ให้การรักษาตามอาการ (เช่น ให้น้ำเกลือ ให้อาหารทางสายยาง ให้ยาลดความดัน ยารักษาเบาหวานหรือยาลดไขมัน เป็นต้น) ให้แอสไพรินวันละ 75 – 325 มิลลิกรัม ทุกวันหรือไทโคลดิพีน 250 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง เพื่อป้องกันมิให้หลอดเลือดตีบตันมากขึ้น และให้การรักษาทางกายภาพบำบัด รวมทั้งฝึกพูด ฝึกเขียน ฯลฯ ในรายที่เกิดจากลิ่มเลือดอุดตัน ในระยะ 2 – 3 วันแรก อาจให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด เช่น เฮพาริน (Heparin) ฉีดเข้าหลอดเลือดดำผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรง ถ้าจะดีขึ้นก็จะเริ่มมีอาการดีขึ้นให้เห็นภายใน 2 – 3 สัปดาห์ และจะค่อยๆ ฟื้นตัวขึ้นเรื่อยๆ จนสามารถช่วยตัวเองหรือหายเกือบเป็นปกติได้ ถ้าอาการไม่ดีขึ้นหลัง 6 เดือนไปแล้ว ก็มักจะพิการ ซึ่งจะเป็นมากน้อยขึ้นกับความรุนแรงของโรคในรายที่เกิดจากหลอดเลือดสมองแตก ให้การรักษาตามอาการ และอาจต้องผ่าตัดสมอง เมื่อปลอดภัยแล้ว ค่อยให้การรักษาทางกายภาพบำบัด ฝึกพูดหรือฝึกเขียนต่อไป
  22. โรคเหน็บชา (Beri-beri)พบได้บ่อยในท้องที่ชนบท เช่น ทางภาคอีสาน ภาคเหนือ เนื่องมาจากการกินข้าวขาวที่ขัดสีจากโรงสี และกินเนื้อสัตว์น้อย ทำให้ร่างกายได้รับวิตามินบีหนึ่ง (Thiamine) ไม่เพียงพอ หรืออาจเกิดจากการกินอาหารที่มีสารทำลายวิตามินบีหนึ่ง เช่น ชา เมี่ยง หมากพลู สีเสียด ปลาร้า โรคนี้ยังอาจเกิดจากร่างกายมีการเผาผลาญอาหารเพิ่มขึ้น จึงมีความต้องการวิตามินบีหนึ่งสูงขึ้นด้วย เช่น หญิงตั้งครรภ์ หญิงที่ให้นมบุตร เด็กในวัยเจริญเติบโต คนที่ทำงานหนัก ผู้ป่วยที่มีไข้สูง หรือเป็นโรคติดเชื้อ หรือคอพอกเป็นพิษ เป็นต้น ผู้ป่วยที่เป็นโรคตับเรื้อรัง (เช่น ตับแข็ง) ก็อาจเป็นโรคนี้ได้ เพราะตับไม่สามารถนำวิตามินบีหนึ่งไปใช้ประโยชน์ได้ คนที่ติดสุราเรื้อรังก็มีโอกาสเป็นโรคนี้ได้ง่าย เนื่องจากกินวิตามินบีหนึ่งไม่เพียงพอ ร่วมกับการดูดซึมของลำไส้ไม่ดี และตับทำงานได้ไม่ดี (เช่น ตับแข็ง)อาการ ในทารก มักจะมีอาการระหว่างอายุ 2 – 6 เดือน (พบในทารกที่กินนมมารดา และมารดากินอาหารที่ขาดวิตามินบีหนึ่ง หรืออดของแสลง หรือมารดาเป็นโรคเหน็บชา) เด็กจะมีอาการร้องเสียงแหบหรือไม่มีเสียง ซึม หอบเหนื่อย ตัวเขียว ขาบวม บางรายอาจมีอการตากระตุก(nystagmus) หนังตาตก ชัก หรือหมดสติ ถ้าหากไม่ได้รับการรักษา อาจตายได้ในเวลาไม่กี่ชั่วโมงในเด็กโตและผู้ใหญ่ระยะเริ่มแรก หรืออาการขนาดอ่อนๆ ผู้ป่วยรู้สึกอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เบื่ออาหาร ท้องผูก ท้องอืดเฟ้อ ความจำเสื่อม รู้สึกชา แต่ตรวจร่างกายไม่พบสิ่งผิดปกติ ในรายที่เกิดจากโรคพิษสุราเรื้อรัง ผู้ป่วยจะมีอาการตาเหล่ ตาเข (เนื่องจากกล้ามเนื้อเคลื่อนไหว ลูกตาเป็นอัมพาต) เดินเซ (ataxia) มีความผิดปกติทางจิตอาจหมดสติถึงตายได้
  23. หมอนรองประสาทถูกกด, รากประสาทถูกกด(Herniated disk)พบได้บ่อยในคนอายุ 16-60 ปี พบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงประมาณ 2 เท่า มักพบในคนที่แบกของหนัก หรือได้รับบาดเจ็บที่บริเวณหลัง หรือในคนสูงอายุที่มีหมอนรองกระดูกเสื่อมสาเหตุ เกิดจากหมอนรองกระดูกหรือดิสก์ (disk) เลื่อนลงไปกดทับรากประสาทที่ไปเลี้ยงแขนหรือขา ทำให้มีอาการปวดเสียวและชาของแขนหรือขาส่วนนั้น จากได้รับบาดเจ็บหรือเกิดจากความเสื่อมตามอายุส่วนมากมักเกิดตรงบริเวณกระดูกสันหลัง ทำให้มีการกดทับรากประสาทไซอาติก (siatic) ที่ไปเลี้ยงขาเรียกว่าโรคไซอาติคา(sciatica)ส่วนน้อยอาจเกิดที่กระดูกคอ ทำให้มีการกดทับรากประสาทบริเวณคอ มีอาการปวดเสียวและชาที่แขนอาการ หากประสาทถูกกดทับบริเวณใดก็จะมีอาการในบริเวณนั้น เช่น ผู้ป่วยจะมีอาการปวดต้นคอ คอแข็ง และมีอาการปวดร้าวและเสียวชาลงมาที่แขนและมือ อาการจะเป็นมากเวลาเงยหน้า ถ้าปล่อยไว้นานๆ อาจมีการฝ่อตัวของกล้ามเนื้อบริเวณแขนและมือ หากมีการกดทับของไขสันหลังอาจมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อขาการรักษา หากสงสัย ควรส่งไปโรงพยาบาล อาจต้องเอกซเรย์ ถ่ายภาพด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า myelography และ/หรือตรวจพิเศษอื่นๆผู้ป่วยส่วนมากจะมีอาการไม่มาก อาจให้การรักษาโดยการใส่ “ปลอกคอ(collar)” ให้ยาแก้ปวด และDiazepam บางรายอาจต้องรักษาด้วยการใช้น้ำหนักดึงคอ(traction) ในรายที่เป็นมากโดยเฉพาะอย่างถ้ามีการกดไขสันหลัง อาจต้องผ่าตัดเพื่อขจัดการกดทับ และป้องกันมิให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงมากขึ้น หลังผ่าตัดอาการปวดจะทุเลา และสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้แ
  24. แนวทางการรักษาตามกลุ่มอาการที่เกิดร่วมดับอาการชา มีดังนี้มีอาการแขนขาอ่อนแรงหรืออัมพาตเฉียบพลันการรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ ส่งต่อทันที2. ถ้ามีอาการร่วมกับอาการข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ปัสสาวะบ่อย ดื่มน้ำบ่อยความดัน SBP  140 DBP  90 มม. ปรอทมีประวัติเป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือดื่มเหล้าจัดปวดศีรษะเรื้อรังปวดต้นคอ และเสียวชาลงแขนปวดหลัง และเสียวชาลงขาปวดชาปลายมือเวลางอข้อมือชาตรงรอยด่างขาว ตุ่มหรือแผ่นหนาการรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ 1)แนะนำการควบคุมเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2) เจาะเลือดปลายนิ้ว ตรวจหาน้ำตาล3) แนะนำป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ 4)ให้วิตามินบี 1 หรือบีรวม 5) ส่งต่อภายใน 1 สัปดาห์3. ไม่มีอาการดังในข้อ 1 และ 2 การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ ให้วิตามินบี 1 หรือบีรวม ควรส่งต่อ ถ้าไม่ดีขึ้นใน 2 สัปดาห์
  25. ซักประวัติตามหลักการป่วยเป็นโรค : ลมบ้าหมู / ชักจากไข้สูง หรือาการเคยมีอาการชักลักษณะของการชัก : ก่อนชัก ขณะชัก หลังชักซักถามประวัติเพื่อประเมินปริมาณและความรุนแรงของการชัก : ความบ่อย (วัน เดือน) ระยะเวลา (นาที) ความรุนแรง (ภาวะแทรกซ้อนเรื่องการหายใจ การสูญเสียหน้าที่การงาน)สิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการชักการมีประวัติถูกสุนัขหรือแมวกัดการเข้าป่า/ยุงกัด
  26. การตรวจร่างกาย สังเกตพฤติกรรม ผู้ป่วย บุคลิก อารมณ์การพูด ความสนใจ ความจำ ประเมินความเชื่อถือได้ของข้อมูลตรวจระบบประสาทร่วมกับการตรวจทั่วไปความรู้สึกตัว การตอบสนองต่อแสง การหายใจติดขัด/ปัสสาวะราด/การกัดลิ้น ตรวจหาโรคทางกาย เช่น โรคตับ เบาหวาน ตรวจดูสิ่งกินที่ในกระโหลก ความหดเกร็งของกล้ามเนื้อ, ความอ่อนแรงของกล้ามเนื้อการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การทำ CT , MRI
  27. ศีรษะได้รับบาดเจ็บ/เลือดออกในสมอง การบาดเจ็บอาจเป็นเพียงแผลเล็กน้อยหรือฟกช้ำที่หนังศีรษะ ซึ่งไม่มีอันตรายร้ายแรงแต่อย่างใด หรืออาจทำให้กะโหลกศีรษะร้าว สมองฟกช้ำ หรือหลอดเลือดในสมองมีการฉีกขาด ทำให้มีการตกเลือดในสมองเป็นอันตรายได้อาการ มีบาดแผลหรืออาการฟกช้ำที่หนังศีรษะแล้ว ผู้ป่วยอาจแสดงอาการได้หลายลักษณะ ขึ้นกับความผิดปกติที่เกิดขึ้นในสมอง ดังนี้สมองได้รับการกระทบกระเทือน (brain concussion) โดยไม่มีการฟกช้ำหรือฉีกขาดของสมองหรือเลือดออกในสมอง ผู้ป่วยมักจะมีอาการหมดสติไปเพียงชั่วครู่หนึ่ง (บางรายอาจนานเป็นชั่วโมงๆ แต่จะไม่เกิน 24 ชั่วโมง) เมื่อฟื้นแล้วอาจรู้สึกงุนงง จำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ ซึ่งอาจเป็นอยู่เพียงชั่วขณะหรือเป็นวันบางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ ซึ่งจะค่อยๆ หายไปได้เองในที่สุดสมองฟกช้ำ (brain contusion) หรือสมองฉีกขาด (brain laceration) ผู้ป่วยจะมีอาการหมดสติหลังบาดเจ็บทันที (บางรายอาจเกิดหลังบาดเจ็บ 24 – 48 ชั่วโมง) อาจหมดสติอยู่นานเป็นชั่วโมง เป็นวัน เป็นสัปดาห์ หรือเป็นเดือน อาจมีอาการอัมพาตครึ่งซีก กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง ชัก ถ้าเป็นไม่รุนแรง ผู้ป่วยมักฟื้นคืนสติได้ แต่อาจมีอาการปวดสีรษะ รู้สึกสับสน เพ้อ เอะอะ คลื่นไส้ อาเจียน แขนขาเป็นอมพาต ปากเบี้ยว พูดไม่ชัดหรือพูดไม่ได้ อาจมีอาการหลงๆ ลืมๆ หรือบุคลิกภาพเปลี่ยนไปจากเดิมสักระยะหนึ่งเลือดออกในสมอง (intracranial hemorrhage) ถือว่าเป็นภาวะร้ายแรง หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที อาจตายได้ ผู้ป่วยมักมีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ซึมลงเรื่อยๆ แขนขาเป็นอัมพาต ตัวเกร็ง ชีพจรเต้นช้า หายใจตื้นขัด ความดันเลือดสูง คอแข็ง รูม่านตา 2 ข้างไม่เท่ากัน (ข้างที่มีก้อนเลือดจะโตกว่า และไม่หดลงเมื่อใช้ไฟส่อง)อาการแทรกซ้อน ถ้าเป็นรุนแรงอาจถึงตายได้ หรือไม่ก็อาจมีภาวะแทรกซ้อนในภายหลัง เช่น เป็นโรคลมชัก บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง แขนขาเป็นอัมพาต ความจำเสื่อมการรักษาถ้ามีอาการทางสมอง เช่น หมดสติ ปลุกไม่ค่อยตื่น ซึม ปวดศีรษะมากขึ้นทุกขณะ อาเจียนรุนแรง คอแข็ง เพ้อคลั่ง ชัก บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง แขนขาอ่อนแรง รูม่านตา 2 ข้างไม่เท่ากัน หรือมีเลือดหรือน้ำใสๆ ออกจากจมูกหรือหู เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้ส่งโรงพยาบาลด่วน อาจต้องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง ถ่ายภาพด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และถ้าจำเป็นอาจต้องทำการตรวจพิเศษอื่นๆ ถ้าตรวจพบว่ามีเลือดออกในสมอง มักจะต้องทำการผ่าตัดสมองทันทีถ้าผู้ป่วยยังรู้สึกตัวดี และไม่มีอาการผิดปกติอื่นๆ ควรเฝ้าสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในช่วง 24 ชั่วโมงแรก ควรดูอาการทางสมองทุก 2 – 4 ชั่วโมง ไม่ว่าผู้ป่วยจะมีประวัติหมดสติหลังบาดเจ็บหรือไม่ก็ตาม ถ้ามีอาการทางสมองอย่างใดอย่างหนึ่งแทรกซ้อนตามมาภายหลัง ให้ส่งโรงพยาบาลด่วน
  28. ลมบ้าหมู (Epilepsy ) พบได้ในคนทุกวัย แต่มักจะพบในเด็กตั้งแต่ 2 - 14 ปี ซึ่งส่วนมากจะชักโดยไม่พบสาเหตุที่แน่ชัด ถ้าพบในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี หรือชักครั้งแรกในคนอายุมากกว่า 25 ปี อาจมีสาเหตุจากโรคทางสมองหรืออื่นๆ บางรายอาจมีอาการชักเพียง 1-2 ครั้งแล้วหายขาด แต่บางรายอาจมีอาการเป็นๆ หายๆ อยู่เป็นประจำนานเป็นปีๆ ซึ่งต้องอาศัยยาควบคุม อาการชักอาจเกิดในเวลาใดก็ได้ ระหว่างที่ไม่มีอาการ ผู้ป่วยจะรู้สึกตัวดี และสามารถทำงานเป็นปกติ โรคนี้เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดของผู้ที่มีอาการชักโดยไม่มีไข้สาเหตุ ส่วนใหญ่ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด บางรายอาจพบเกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์ บางรายอาจมีประวัติชักจากไข้สูงตั้งแต่ตอนเด็กคนที่มีอาการชักเป็นครั้งแรกเมื่ออายุมากกว่า 25 ปี อาจเกิดจากความผิดปกติในสมอง เช่น มีเนื้องอก ก้อนเลือด ฝีหรือพยาธิในสมอง หรืออาจมีประวัติได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะมาก่อนอาการ ผู้ป่วยอยู่ดีๆ ก็มีอาการหมดสติ เป็นลมล้มพับกับพื้นทันที พร้อมกับมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งทั้งตัว หายใจลำบาก หน้าเขียว ต่อมาเพียงไม่กี่วินาทีก็จะมีอาการชักกระตุกของกล้ามเนื้อทุกส่วนของร่างกายเป็นระยะๆ และมีอาการตาค้าง ตาเหลือก ในระยะแรกมักจะถี่แล้วค่อยๆ ลดลงตามลำดับ จนกระทั่งหยุดกระตุก ในช่วงนี้จะมีอาการน้ำลายฟูมปาก และอาจมีเลือดออก เพราะผู้ป่วยกัดริมฝีปากหรือลิ้นตัวเอง อาจปัสสาวะหรืออุจจาระราดอาการชักจะเป็นอยู่นาน 1-3 นาที (บางรายอาจถึงครึ่งชั่วโมง) แล้วฟื้นสติตื่นขึ้นมาด้วยความรู้สึกมึนงง อ่อนเพลีย บางรายอาจม่อยหลับไปนานเป็นชั่วโมงๆ ผู้ป่วยมักจะจำไม่ได้ว่าตัวเองล้มลง หลังจากหลับและตื่นขึ้นมาแล้ว อาจมีอาการปวดศีรษะ มึนงง สับสน หาวนอน ลืมตัว และอาจทำอะไรที่ตัวเองจำไม่ได้ก่อนจะชัก ผู้ป่วยอาจมีอาการบอกเหตุ (prodomal symptoms) ล่วงหน้า มาก่อนหลายชั่วโมงหรือ 2-3 วัน โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ (เช่น หงุดหงิด รู้สึกเครียด ซึมเศร้า) เวียนศีรษะกล้ามเนื้อกระตุก เป็นต้น และก่อนหมดสติเพียงไม่กี่วินาที ผู้ป่วยมักจะมีอาการเตือนหรือออรา (aura) โดยมีความรู้สึกแปลก ๆ เช่น ได้กลิ่นหรือรสแปลก ๆ, หูแว่วเสียงคนพูด, เห็นภาพหลอน,เวียนศีรษะ, มีอาการชาตามร่างกาย, ตากระตุก, แขนกระตุก, รู้สึกแน่นยอดอก หรือไม่สบายท้อง เป็นต้นสาเหตุที่กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีโอากาสชักได้ง่ายขึ้น เช่น อดนอน, หิวข้าว, กินอาหารมากเกินไป, ทำงานเหนื่อยเกินไป, คิดมาก, ดื่มเหล้า, กินยากระตุ้นประสาท, ท้องผูก, มีประจำเดือน, มีไข้สูง, อยู่ในที่ ๆ มีเสียงอึกทึก หรือมีแสงจ้า หรือแสงวอบแวบ, การหายใจเข้าออกเร็ว ๆ เป็นต้นอาการแทรกซ้อน ระหว่างชัก ผู้ป่วยอาจกัดลิ้นตัวเอง หรืออาจได้รับบาดเจ็บหรือกระดูกหักข้อสำคัญ คือ อาจทำให้ได้รับอุบัติเหตุ เช่น ตกน้ำ รถชน ตกจากที่สูง อาจถึงตายได้ในรายที่ชักบ่อย อาจมีความผิดปกติของอารมณ์ และบุคลิกลักษณะ บางคนอาจมีสติปัญญาต่ำกว่าปกติในรายที่ชักรุนแรงติดต่อกันเป็นชั่วโมง ๆ อาจเป็นอันตรายถึงตายได้การรักษา1. ระหว่างที่ชัก ให้การปฐมพยาบาล โดยโยกย้ายผู้ป่วยไปยังที่ ๆ ปลอดภัย เช่น ให้ห่างจากน้ำและไฟปลดเสื้อผ้า เครื่องแต่งกายให้หลวมคอยพยุงศีรษะ อย่าให้กระแทกพื้นหรือกำแพง และจับศีรษะเอียงให้หน้าตะแคงลงกับพื้นถ้ามีเศษอาหาร เสมหะ หรือฟันปลอม ให้เอาออกจากปากโดยทั่วไป ผู้ป่วยจะชักอยู่เพียง 1-3 นาที ก็จะหยุดชักได้เอง แต่ถ้าชักติด ๆ กันนาน ให้ฉีดไดอะชีแพม 1/2-1 หลอด เข้าหลอดเลือดดำ ถ้าไม่ได้ผล ให้ส่งโรงพยาบาลด่วน2. ถ้าเป็นการชักครั้งแรก หรือยังไม่เคยได้รับการตรวจจากแพทย์มาก่อน ควรแนะนำให้ไปตรวจที่โรงพยาบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบ หรือคนอายุมากกว่า 25 ปี อาจต้องทำการตรวจคลื่นสมอง หรือ อีอีจี (EEG ซึ่งย่อมาจาก Electroenecphalogram) เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง เพื่อค้นหาสาเหตุถ้ามีความผิดปกติในสมอง ก็ให้การรักษาตามสาเหตุที่พบ เช่น ถ้าเป็นเนื้องอกในสมอง ก็อาจต้องทำผ่าตัด แต่ถ้าเป็นโรคลมชักโดยไม่มีสาเหตุแน่ชัด ควรให้ยากันชัก เช่น ฟีโนบาร์บิทาล(phenobarbital) หรือเฟนิโทอิน (Phenytoin) ต้องกินยากันชักชนิดใดชนิดหนึ่ง ติดต่อกันทุกวัน จนกระทั่งไม่มีอาการชักเกิดขึ้นเลยเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี จึงจะเริ่มหยุดยา โดยค่อย ๆ ลดลงทีละน้อย ถ้าหยุดยาทันที อาจทำให้เกิดอาการชักรุนแรงไม่หยุดได้ถ้าลดยาหรือหยุดยาแล้ว กลับมีอาการชักใหม่ ก็ควรกลับไปใช้ยาดังเดิมอีก บางคนอาจต้องกินยากันชักคุมอาการตลอดไป3. สำหรับผู้ที่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคลมชักอย่างแน่ชัด ถ้าพบว่ามีอาการชักเพราะขาดยาหรือกินยาไม่ครบขนาดตามแพทย์สั่ง ก็ให้ยากันชักดังในข้อ 2 โดยให้ขนาดตามที่เคยใช้แต่ถ้าชักโดยที่ผู้ป่วยกินยาได้ตามขนาดที่แพทย์สั่งอยู่แล้ว ก็ควรเพิ่มขนาดของยาที่ใช้ หรือเปลี่ยนไปใช้ยาชนิดอื่น เช่น โซเดียมวาลโพรเอต (Sodium valproate), คาร์บามาซีพีน (Carbamazepine) เป็นต้น
  29. ลมบ้าหมู (Epilepsy ) พบได้ในคนทุกวัย แต่มักจะพบในเด็กตั้งแต่ 2 - 14 ปี ซึ่งส่วนมากจะชักโดยไม่พบสาเหตุที่แน่ชัด ถ้าพบในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี หรือชักครั้งแรกในคนอายุมากกว่า 25 ปี อาจมีสาเหตุจากโรคทางสมองหรืออื่นๆ บางรายอาจมีอาการชักเพียง 1-2 ครั้งแล้วหายขาด แต่บางรายอาจมีอาการเป็นๆ หายๆ อยู่เป็นประจำนานเป็นปีๆ ซึ่งต้องอาศัยยาควบคุม อาการชักอาจเกิดในเวลาใดก็ได้ ระหว่างที่ไม่มีอาการ ผู้ป่วยจะรู้สึกตัวดี และสามารถทำงานเป็นปกติ โรคนี้เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดของผู้ที่มีอาการชักโดยไม่มีไข้สาเหตุ ส่วนใหญ่ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด บางรายอาจพบเกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์ บางรายอาจมีประวัติชักจากไข้สูงตั้งแต่ตอนเด็กคนที่มีอาการชักเป็นครั้งแรกเมื่ออายุมากกว่า 25 ปี อาจเกิดจากความผิดปกติในสมอง เช่น มีเนื้องอก ก้อนเลือด ฝีหรือพยาธิในสมอง หรืออาจมีประวัติได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะมาก่อนอาการ ผู้ป่วยอยู่ดีๆ ก็มีอาการหมดสติ เป็นลมล้มพับกับพื้นทันที พร้อมกับมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งทั้งตัว หายใจลำบาก หน้าเขียว ต่อมาเพียงไม่กี่วินาทีก็จะมีอาการชักกระตุกของกล้ามเนื้อทุกส่วนของร่างกายเป็นระยะๆ และมีอาการตาค้าง ตาเหลือก ในระยะแรกมักจะถี่แล้วค่อยๆ ลดลงตามลำดับ จนกระทั่งหยุดกระตุก ในช่วงนี้จะมีอาการน้ำลายฟูมปาก และอาจมีเลือดออก เพราะผู้ป่วยกัดริมฝีปากหรือลิ้นตัวเอง อาจปัสสาวะหรืออุจจาระราดอาการชักจะเป็นอยู่นาน 1-3 นาที (บางรายอาจถึงครึ่งชั่วโมง) แล้วฟื้นสติตื่นขึ้นมาด้วยความรู้สึกมึนงง อ่อนเพลีย บางรายอาจม่อยหลับไปนานเป็นชั่วโมงๆ ผู้ป่วยมักจะจำไม่ได้ว่าตัวเองล้มลง หลังจากหลับและตื่นขึ้นมาแล้ว อาจมีอาการปวดศีรษะ มึนงง สับสน หาวนอน ลืมตัว และอาจทำอะไรที่ตัวเองจำไม่ได้ก่อนจะชัก ผู้ป่วยอาจมีอาการบอกเหตุ (prodomal symptoms) ล่วงหน้า มาก่อนหลายชั่วโมงหรือ 2-3 วัน โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ (เช่น หงุดหงิด รู้สึกเครียด ซึมเศร้า) เวียนศีรษะกล้ามเนื้อกระตุก เป็นต้น และก่อนหมดสติเพียงไม่กี่วินาที ผู้ป่วยมักจะมีอาการเตือนหรือออรา (aura) โดยมีความรู้สึกแปลก ๆ เช่น ได้กลิ่นหรือรสแปลก ๆ, หูแว่วเสียงคนพูด, เห็นภาพหลอน,เวียนศีรษะ, มีอาการชาตามร่างกาย, ตากระตุก, แขนกระตุก, รู้สึกแน่นยอดอก หรือไม่สบายท้อง เป็นต้นสาเหตุที่กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีโอากาสชักได้ง่ายขึ้น เช่น อดนอน, หิวข้าว, กินอาหารมากเกินไป, ทำงานเหนื่อยเกินไป, คิดมาก, ดื่มเหล้า, กินยากระตุ้นประสาท, ท้องผูก, มีประจำเดือน, มีไข้สูง, อยู่ในที่ ๆ มีเสียงอึกทึก หรือมีแสงจ้า หรือแสงวอบแวบ, การหายใจเข้าออกเร็ว ๆ เป็นต้นอาการแทรกซ้อน ระหว่างชัก ผู้ป่วยอาจกัดลิ้นตัวเอง หรืออาจได้รับบาดเจ็บหรือกระดูกหักข้อสำคัญ คือ อาจทำให้ได้รับอุบัติเหตุ เช่น ตกน้ำ รถชน ตกจากที่สูง อาจถึงตายได้ในรายที่ชักบ่อย อาจมีความผิดปกติของอารมณ์ และบุคลิกลักษณะ บางคนอาจมีสติปัญญาต่ำกว่าปกติในรายที่ชักรุนแรงติดต่อกันเป็นชั่วโมง ๆ อาจเป็นอันตรายถึงตายได้การรักษา1. ระหว่างที่ชัก ให้การปฐมพยาบาล โดยโยกย้ายผู้ป่วยไปยังที่ ๆ ปลอดภัย เช่น ให้ห่างจากน้ำและไฟปลดเสื้อผ้า เครื่องแต่งกายให้หลวมคอยพยุงศีรษะ อย่าให้กระแทกพื้นหรือกำแพง และจับศีรษะเอียงให้หน้าตะแคงลงกับพื้นถ้ามีเศษอาหาร เสมหะ หรือฟันปลอม ให้เอาออกจากปากโดยทั่วไป ผู้ป่วยจะชักอยู่เพียง 1-3 นาที ก็จะหยุดชักได้เอง แต่ถ้าชักติด ๆ กันนาน ให้ฉีดไดอะชีแพม 1/2-1 หลอด เข้าหลอดเลือดดำ ถ้าไม่ได้ผล ให้ส่งโรงพยาบาลด่วน2. ถ้าเป็นการชักครั้งแรก หรือยังไม่เคยได้รับการตรวจจากแพทย์มาก่อน ควรแนะนำให้ไปตรวจที่โรงพยาบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบ หรือคนอายุมากกว่า 25 ปี อาจต้องทำการตรวจคลื่นสมอง หรือ อีอีจี (EEG ซึ่งย่อมาจาก Electroenecphalogram) เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง เพื่อค้นหาสาเหตุถ้ามีความผิดปกติในสมอง ก็ให้การรักษาตามสาเหตุที่พบ เช่น ถ้าเป็นเนื้องอกในสมอง ก็อาจต้องทำผ่าตัด แต่ถ้าเป็นโรคลมชักโดยไม่มีสาเหตุแน่ชัด ควรให้ยากันชัก เช่น ฟีโนบาร์บิทาล(phenobarbital) หรือเฟนิโทอิน (Phenytoin) ต้องกินยากันชักชนิดใดชนิดหนึ่ง ติดต่อกันทุกวัน จนกระทั่งไม่มีอาการชักเกิดขึ้นเลยเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี จึงจะเริ่มหยุดยา โดยค่อย ๆ ลดลงทีละน้อย ถ้าหยุดยาทันที อาจทำให้เกิดอาการชักรุนแรงไม่หยุดได้ถ้าลดยาหรือหยุดยาแล้ว กลับมีอาการชักใหม่ ก็ควรกลับไปใช้ยาดังเดิมอีก บางคนอาจต้องกินยากันชักคุมอาการตลอดไป3. สำหรับผู้ที่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคลมชักอย่างแน่ชัด ถ้าพบว่ามีอาการชักเพราะขาดยาหรือกินยาไม่ครบขนาดตามแพทย์สั่ง ก็ให้ยากันชักดังในข้อ 2 โดยให้ขนาดตามที่เคยใช้แต่ถ้าชักโดยที่ผู้ป่วยกินยาได้ตามขนาดที่แพทย์สั่งอยู่แล้ว ก็ควรเพิ่มขนาดของยาที่ใช้ หรือเปลี่ยนไปใช้ยาชนิดอื่น เช่น โซเดียมวาลโพรเอต (Sodium valproate), คาร์บามาซีพีน (Carbamazepine) เป็นต้น
  30. ตะคริว(cramp)ตะคริว หมายถึง อาการกล้ามเนื้อเกร็งแข็งและปวดซึ่งจะเกิดขึ้นรวดเร็ว และมักจะเป็นอยู่เพียงไม่กี่นาที กล้ามเนื้อที่พบเป็นตะคริวได้บ่อย ได้แก่ กล้ามเนื้อน่องและต้นขา ตะคริวเป็นภาวะที่พบได้บ่อยมาก ซึ่งจะพบได้เป็นครั้วคราวในคนเกือบทุกคนสาเหตุ ส่วนมากจะไม่มีสาเหตุร้ายแรง เป็นเพียงชั่วคราวจะหายได้เองบางคนอาจเป็นหลังออกกำลังมากกว่าปกติหรือนอน นั่งหรือยืนในท่าที่ไม่สะดวกนาน ๆ ผู้ที่มีภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำก็อาจเป็นตะคริวได้บ่อยในผู้หญิงที่ตั้งครรภ์อาจเป็นตะคริวได้บ่อยขึ้น เนื่องจากระดับของแคลเซียมในเลือดต่ำ หรืออาจเกิดจากการไหลเวียนของเลือดไปที่ขาไม่สะดวกในคนที่มีภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง (arteriosclerosis) เช่น คนสูงอายุก็มีโอกาสเป็นตะคริวได้บ่อยขึ้น และอาจเป็นขณะที่เดินนาน ๆ หรือขณะที่อากาศเย็นตอนดึกหรือเช้ามืด เนื่องจากการไหลเวียนของเลือดไปที่ขาไม่ดี ส่วนในผู้ป่วยที่ร่างกายเสียเกลือโซเดียม เนื่องจากท้องเดิน อาเจียน หรือสูญเสียไปทางเหงื่อเนื่องจากความร้อน อาจเป็นตะคริวรุนแรง คือ เกิดกับกล้ามเนื้อหลายส่วนของร่างกายและมักจะเป็นอยู่นาน)อาการ ผู้ป่วยอยู่ ๆ รู้สึกกล้ามเนื้อส่วนใดส่วนหนึ่ง (เช่น น่อง หรือต้นขา) มีการแข็งตัวและปวดมาก เอามือคลำดูจะรู้สึกแข็งเป็นก้อน ถ้าพยายามขยับเขยื้อนกล้ามเนื้อส่วนนั้นจะทำให้ยิ่งแข็งตัว และปวดมากขึ้นการนวดและยืดกล้ามเนื้อส่วนนั้น จะช่วยให้ตะคริวหายเร็วขึ้นถ้าเป็นขณะนอนหลับ อาจรู้สึกปวดจนสะดุ้งตื่นจะเป็นอยู่เพียงไม่กี่นาทีก็หายได้เอง และไม่มีความผิดปกติอื่น ๆ เกิดร่วมด้วย การรักษา1. ขณะที่เป็นตะคริว ให้ทำการปฐมพยาบาล โดยใช้มือนวดกล้ามเนื้อที่เป็นตะคริว หรือยืดกล้ามเนื้อส่วนนั้นให้ตึง 2. ถ้าเป็นตะคริวขณะเข้านอนตอนกลางคืนบ่อย ๆ (เช่น หญิงที่ตั้งครรภ์ คนสูงอายุ) ก่อนนอนควรดื่มนมให้มากขึ้นและยกขาสูง (ใช้หมอนรองในหญิงตั้งครรภ์ อาจให้ยาเม็ดแคลเซียมแลกเทตกินวันละ 1-3 เม็ดในผู้สูงอายุที่เป็นตะคริวตอนกลางคืนเป็นประจำ ควรให้กินไดเฟนไฮดรามีน ขนาด 50 มิลลิกรัม ก่อนนอนทุกคืน อาจช่วยป้องกันไม่ให้เป็นตะคริวขณะเข้านอนได้3. ถ้าเป็นตะคริวจากการเสียเกลือโซเดียม (เช่น เกิดจากท้องเดิน อาเจียน เหงื่อออกมาก) ควรให้ดื่มสารละลายน้ำตาลเกลือแร่ ถ้าดื่มไม่ได้ ควรให้น้ำเกลือ NSS ทางหลอดเลือดดำ4. ถ้าเป็น ๆ หาย ๆ บ่อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นขณะเดินนาน ๆ ควรแนะนำผู้ป่วยไปโรงพยาบาลเพื่อตรวจหาสาเหตุ อาจมีความผิดปกติเกี่ยวกับการไหลเวียนของเลือดที่ขา หรือมีภาวะหลอดเลือดแดงแข็งจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลอืดสูง สูบบุหรี่จัด หรือภาวะไตวายเรื้อรัง
  31. แนวทางการซักประวัติ ซักประวัติตามหลักการซักประวัติทั่วไปและสิ่งบ่งชี้ของอาการอ่อนแรงได้แก่ การอ่อนแรงจากกล้ามเนื้อส่วนใด และลักษณะการอ่อนแรง ประกอบด้วย UMN : เดินเกร็งล้มง่าย ขาสั่น กระตุก เมื่อยกเท้าแตะพื้นอาจมีอาการแขน ขาแข็ง และ LMN :กล้ามเนื้ออ่อนเพลีย ลีบลง กล้ามเนื้อเต้น ควรถามลักษณะการเป็นตลอดเวลาหรือเป็นๆ หายๆ อ่อนแรงสมมาตรกันหรือไม่มีอาการชาร่วมด้วย การมีอาการของ cranial nerve ร่วมด้วย การมีอาการของ autonomic nervous system ร่วมด้วย และการมีไข้ร่วมด้วยซักประวัติการเจ็บป่วยที่อาจเป็นสาเหตุของ weakness เช่นเวลาที่เริ่มเป็น อาการปวดหลัง อาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียนอาการชักประวัติโรคทางกายอาการทางจิต และการถูกงูกัด เป็นต้น
  32. การตรวจร่างกาย สังเกตผู้ป่วยเมื่อแรกพบพฤติกรรม บุคลิก อารมณ์การพูด ความสนใจ ความจำ ประเมินความเชื่อถือได้ของข้อมูล ตรวจระบบประสาทร่วมกับตรวจร่างกายทั่วไปเช่น Two point discrimination, การตรวจ sensory ต่างๆ , Reflex และการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ, Reflex ของ tendon + ลักษณะการหายใจการตรวจทางห้องปฏิบัติการ : การทำ CT MRI
  33. . ไขสันหลังได้รับบาดเจ็บ (spinal trauma)สาเหตุ ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บที่บริเวณคอหรือหลัง เช่น รถชน ตกจากที่สูง ถูกยิง ถูกแทง เป็นต้น อาจทำให้ประสาทไขสันหลังได้รับ บาดเจ็บ เป็นเหตุให้ผู้ป่วยมีอาการอัมพาตของแขนขาเกิดขึ้นทันทีอาการ ถ้าบาดเจ็บตรงระดับเอว ขาทั้งสองข้างมักจะชา (เข็มแทงไม่เจ็บ) กระดุกกระดิกไม่ได้ ถ่ายปัสสาวะและอุจจาระเองไม่ได้ ถ้าบาดเจ็บตรงระดับคอ จะมีอาการอัมพาตของแขนทั้งสองข้าง ร่วมด้วย และถ้ากระทบกระเทือนถูกส่วนที่ควบคุมการหายใจ ผู้ป่วยจะ หายใจไม่ได้ และอาจตายในเวลารวดเร็ว โดยทั่วไป ผู้ป่วยมักมีความรู้สึกตัวดีเหมือนคนปกติอาการแทรกซ้อน กรณีเป็นอัมพาตนาน ๆ อาจมีแผลกดทับ (bed sores) หรือเป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบได้ง่ายการรักษา ควรส่งโรงพยาบาลด่วน อาจต้องใช้น้ำหนักดึงถ่วง (traction) และอาจต้องทำการผ่าตัดด่วน หลังจากนั้น อาจให้การรักษาทางกายภาพบำบัด ผลการรักษา ถ้าผู้ป่วยสามารถขยับแขนขา หรือมีความรูสึกเจ็บดีขึ้นให้เห็นภายใน 1 สัปดาห์ ก็อาจมีทางหายได้ แต่ถ้าไม่ดีขึ้นเลยภายหลัง 6 เดือน ก็มักจะเกิดความพิการอย่างถาวรในรายที่มีการบาดเจ็บตรงคอ และมีอาการอัมพาตหมดทั้งแขนขามักจะฟื้นตัวได้ยากและมีชีวิตอยู่ได้ไม่นาน
  34. งูกัด (snake bite)สาเหตุถูกงูที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อ ประสาทกัด เช่น งูที่มีพิษต่อประสาท (neurotoxin) ได้แก่ งูเห่า งูจงอาง ทำให้กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต, งูที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อ (myotoxin) ได้แก่ งูทะเล ทำให้กล้ามเนื้ออักเสบและกล้ามเนื้อตาย ส่วนงูสามเหลี่ยม และงูทับสมิงคลา จะมีพิษต่อประสาทและเลือด แต่ละทำให้เกิดอาการคล้ายงูเห่าอาการ อาการงูพิษกัด แบ่งเป็นอาการเฉพาะที่ กับอาการทั่วไปอาการเฉพาะที่ :แผลที่ถูกงูพิษกัด จะมีลักษณะแตกต่างไปจากงูไม่มีพิษกัด คือ จะพบรอยเขี้ยว 2 รอย เห็นเป็นจุดหรือขีดเล็กๆ และมีอาการปวดกับบวมในบริเวณที่ถูกกัด บางครั้งมีเลือดออกซิบๆ ต่อมากลายเป็นสีเขียวคล้ำ มีตุ่มพอง ทิ้งไว้จะแตกออก และกลายเป็นแผลเน่า อาจต้องรักษาด้วยการผ่าตัดปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft) ส่วนงูไม่มีพิษกัดจะไม่พบรอยเขี้ยว อาจเห็นเพียงรอยถากหรือรอยถลอกสำหรับงูที่มีพิษต่อเลือดกัด อาการบวมจะเกิดขึ้นรวดเร็วภายใน 15-20 นาที และมีน้ำเหลืองหรือเลือดไหลออกจากรอยเขี้ยวไม่หยุด อาการบวมจะลุกลามมากขึ้นส่วนงูเห่ากัด จะมีอาการปวดพอทน อาการปวดค่อยเพิ่มมากขึ้นและแผ่ซ่านไป และจะมีอาการบวมบริเวณที่ถูกกัดเล็กน้อยภายหลังหนึ่งชั่วโมงส่วนงูทะเลและงูสามเหลี่ยมกัด มักไม่ค่อยมีอาการปวดบวม2. อาการทั่วไป งูที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อ ได้แก่ งูทะเล รอยเขี้ยวห่างกันเล็กน้อยและไม่มีอาการปวดบวมแต่อย่างใด, 1-2 ชั่วโมงต่อมาจะรู้สึกปวดเมื่อยกล้ามเนื้อตามแขน ขา คอและลำตัว ยิ่งเคลื่อนไหวตัวยิ่งปวด, 8 ชั่วโมงต่อมาจะมีอาการปวดมากขึ้น แขนขาเป็นอัมพาต อ้าปากไม่ได้ หนังตาตก และปัสสาวะเป็นสีดำ ผู้ป่วยมักตายภายในเวลา 14-16 ชั่วโฒงหลังถูกกัด ผู้ป่วยบางรายอาจมีภาวะไตวายเนื่องจากพิษของงูทำให้ไตเสียสำหรับผู้ป่วยถูกงูทะเลกัด ในขณะนี้ยังไม่มีเซรุ่มแก้พิษที่ได้ผล จึงได้แต่ให้การรักษาตามอาการ ถ้ารอดไปได้ประมาณ 6 เดือน อาการอัมพาตและอาการอื่นๆ ก็จะค่อยๆ หายไปการรักษา /ปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล เป็นสิ่งที่ต้องกระทำหลังถูกงูกัดทันที ก่อนที่จะนำส่งโรงพยาบาล มักจะกระทำโดยผู้ป่วยเอง ญาติพี่น้องหรือเพื่อนฝูง คำแนะนำในการให้การปฐมพยาบาลผู้ที่ถูกงูกัด สำหรับบุคคลเหล่านี้ ได้แก่ใช้เชือก ผ้า หรือสายยางรัดแขนหรือขา ระหว่างแผลงูกัดกับหัวใจ (เหนือรอยเขี้ยว 2-4 นิ้วฟุต) เพื่อป้องกันมิให้พิษงูถูกดูดซึมเข้าร่างกายโดยเร็ว ควรคลายเชือกทุกๆ 15 นาที โดยคลายนานครั้งละ 30-60 วินาที จนกว่าจะถึงสถานพยาบาลเคลื่อนไหวแขนหรือขาส่วนที่ถูกงูกัดให้น้อยที่สุด ควรจัดตำแหน่งของส่วนที่ถูกงูกัดให้อยู่ในระดับต่ำกว่าหัวใจ อย่าให้ผู้ป่วยเดิน ควรให้ผู้ป่วยนั่งรถหรือแค่หาม ทั้งนี้เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของพิษงูควรดูให้รู้แน่ว่าเป็นงูอะไร แต่ถ้าไม่แน่ใจ ควรบอกให้คนอื่นที่อยู่ในที่เกิดเหตุช่วยตีงูให้ตาย และนำไปยังสถานพยาบาลด้วย (อย่าตีให้เละจนจำลักษณะไม่ได้)อย่าให้ผู้ป่วยดื่มสุรา หรือยาดองเหล้า หรือกินยากระตุ้นประสาท รวมทั้งชา กาแฟอย่าใช้ไฟหรือเหล็กร้อนจี้ที่แผลงูกัด และอย่าใช้มีดกรีดแผลเป็นอันขาด เพราะอาจทำให้เลือดออกมาก ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ (จากงูที่มีพิษต่อประสาท) ให้ทำการเป่าปากช่วยหายใจไปตลอดทางจนกว่าจะถึงสถานพยาบาลที่ใกล้บ้านที่สุดสำหรับบาดแผลให้ใช้ยาฆ่าเชื้อทำความสะอาดบาดแผล ถ้ารู้สึกปวดแผล ให้กินพาราเซตามอล ห้ามให้แอสไพริน เพราะอาจทำให้เลือดออกง่ายขึ้นให้รักษาตามอาการ เช่นใช้เครื่องช่วยหายใจ ในรายที่หยุดหายใจ (เช่น ถูกงูเห่า หรืองูทะเลกัด)ให้เลือด ถ้ามีเลือดออกรุนแรง (เช่น ถูกงูแมวเซากัด)ในรายที่มีภาวะไตวายเฉียบพลัน (มักเกิดจากงูทะเล หรืองุแมวเซากัด) ต้องรักษาด้วยการฟอกล้างของเสียหรือไดอะไลซิส (dialysis) โดยมากภาวะนี้จะเป็นอยู่นาน 2-10 วันให้ยาแก้ปวด ควรให้พาราเซตามอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเกิดจากงุที่มีพิษต่อเลือดกัด เพราะถ้าใช้แอสไพริน อาจทำให้เลือดออกง่ายขึ้น
  35. งูกัด (snake bite)สาเหตุถูกงูที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อ ประสาทกัด เช่น งูที่มีพิษต่อประสาท (neurotoxin) ได้แก่ งูเห่า งูจงอาง ทำให้กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต, งูที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อ (myotoxin) ได้แก่ งูทะเล ทำให้กล้ามเนื้ออักเสบและกล้ามเนื้อตาย ส่วนงูสามเหลี่ยม และงูทับสมิงคลา จะมีพิษต่อประสาทและเลือด แต่ละทำให้เกิดอาการคล้ายงูเห่าอาการ อาการงูพิษกัด แบ่งเป็นอาการเฉพาะที่ กับอาการทั่วไปอาการเฉพาะที่ :แผลที่ถูกงูพิษกัด จะมีลักษณะแตกต่างไปจากงูไม่มีพิษกัด คือ จะพบรอยเขี้ยว 2 รอย เห็นเป็นจุดหรือขีดเล็กๆ และมีอาการปวดกับบวมในบริเวณที่ถูกกัด บางครั้งมีเลือดออกซิบๆ ต่อมากลายเป็นสีเขียวคล้ำ มีตุ่มพอง ทิ้งไว้จะแตกออก และกลายเป็นแผลเน่า อาจต้องรักษาด้วยการผ่าตัดปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft) ส่วนงูไม่มีพิษกัดจะไม่พบรอยเขี้ยว อาจเห็นเพียงรอยถากหรือรอยถลอกสำหรับงูที่มีพิษต่อเลือดกัด อาการบวมจะเกิดขึ้นรวดเร็วภายใน 15-20 นาที และมีน้ำเหลืองหรือเลือดไหลออกจากรอยเขี้ยวไม่หยุด อาการบวมจะลุกลามมากขึ้นส่วนงูเห่ากัด จะมีอาการปวดพอทน อาการปวดค่อยเพิ่มมากขึ้นและแผ่ซ่านไป และจะมีอาการบวมบริเวณที่ถูกกัดเล็กน้อยภายหลังหนึ่งชั่วโมงส่วนงูทะเลและงูสามเหลี่ยมกัด มักไม่ค่อยมีอาการปวดบวม2. อาการทั่วไป งูที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อ ได้แก่ งูทะเล รอยเขี้ยวห่างกันเล็กน้อยและไม่มีอาการปวดบวมแต่อย่างใด, 1-2 ชั่วโมงต่อมาจะรู้สึกปวดเมื่อยกล้ามเนื้อตามแขน ขา คอและลำตัว ยิ่งเคลื่อนไหวตัวยิ่งปวด, 8 ชั่วโมงต่อมาจะมีอาการปวดมากขึ้น แขนขาเป็นอัมพาต อ้าปากไม่ได้ หนังตาตก และปัสสาวะเป็นสีดำ ผู้ป่วยมักตายภายในเวลา 14-16 ชั่วโฒงหลังถูกกัด ผู้ป่วยบางรายอาจมีภาวะไตวายเนื่องจากพิษของงูทำให้ไตเสียสำหรับผู้ป่วยถูกงูทะเลกัด ในขณะนี้ยังไม่มีเซรุ่มแก้พิษที่ได้ผล จึงได้แต่ให้การรักษาตามอาการ ถ้ารอดไปได้ประมาณ 6 เดือน อาการอัมพาตและอาการอื่นๆ ก็จะค่อยๆ หายไปการรักษา /ปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล เป็นสิ่งที่ต้องกระทำหลังถูกงูกัดทันที ก่อนที่จะนำส่งโรงพยาบาล มักจะกระทำโดยผู้ป่วยเอง ญาติพี่น้องหรือเพื่อนฝูง คำแนะนำในการให้การปฐมพยาบาลผู้ที่ถูกงูกัด สำหรับบุคคลเหล่านี้ ได้แก่ใช้เชือก ผ้า หรือสายยางรัดแขนหรือขา ระหว่างแผลงูกัดกับหัวใจ (เหนือรอยเขี้ยว 2-4 นิ้วฟุต) เพื่อป้องกันมิให้พิษงูถูกดูดซึมเข้าร่างกายโดยเร็ว ควรคลายเชือกทุกๆ 15 นาที โดยคลายนานครั้งละ 30-60 วินาที จนกว่าจะถึงสถานพยาบาลเคลื่อนไหวแขนหรือขาส่วนที่ถูกงูกัดให้น้อยที่สุด ควรจัดตำแหน่งของส่วนที่ถูกงูกัดให้อยู่ในระดับต่ำกว่าหัวใจ อย่าให้ผู้ป่วยเดิน ควรให้ผู้ป่วยนั่งรถหรือแค่หาม ทั้งนี้เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของพิษงูควรดูให้รู้แน่ว่าเป็นงูอะไร แต่ถ้าไม่แน่ใจ ควรบอกให้คนอื่นที่อยู่ในที่เกิดเหตุช่วยตีงูให้ตาย และนำไปยังสถานพยาบาลด้วย (อย่าตีให้เละจนจำลักษณะไม่ได้)อย่าให้ผู้ป่วยดื่มสุรา หรือยาดองเหล้า หรือกินยากระตุ้นประสาท รวมทั้งชา กาแฟอย่าใช้ไฟหรือเหล็กร้อนจี้ที่แผลงูกัด และอย่าใช้มีดกรีดแผลเป็นอันขาด เพราะอาจทำให้เลือดออกมาก ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ (จากงูที่มีพิษต่อประสาท) ให้ทำการเป่าปากช่วยหายใจไปตลอดทางจนกว่าจะถึงสถานพยาบาลที่ใกล้บ้านที่สุดสำหรับบาดแผลให้ใช้ยาฆ่าเชื้อทำความสะอาดบาดแผล ถ้ารู้สึกปวดแผล ให้กินพาราเซตามอล ห้ามให้แอสไพริน เพราะอาจทำให้เลือดออกง่ายขึ้นให้รักษาตามอาการ เช่นใช้เครื่องช่วยหายใจ ในรายที่หยุดหายใจ (เช่น ถูกงูเห่า หรืองูทะเลกัด)ให้เลือด ถ้ามีเลือดออกรุนแรง (เช่น ถูกงูแมวเซากัด)ในรายที่มีภาวะไตวายเฉียบพลัน (มักเกิดจากงูทะเล หรืองุแมวเซากัด) ต้องรักษาด้วยการฟอกล้างของเสียหรือไดอะไลซิส (dialysis) โดยมากภาวะนี้จะเป็นอยู่นาน 2-10 วันให้ยาแก้ปวด ควรให้พาราเซตามอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเกิดจากงุที่มีพิษต่อเลือดกัด เพราะถ้าใช้แอสไพริน อาจทำให้เลือดออกง่ายขึ้น
  36. งูกัด (snake bite)สาเหตุถูกงูที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อ ประสาทกัด เช่น งูที่มีพิษต่อประสาท (neurotoxin) ได้แก่ งูเห่า งูจงอาง ทำให้กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต, งูที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อ (myotoxin) ได้แก่ งูทะเล ทำให้กล้ามเนื้ออักเสบและกล้ามเนื้อตาย ส่วนงูสามเหลี่ยม และงูทับสมิงคลา จะมีพิษต่อประสาทและเลือด แต่ละทำให้เกิดอาการคล้ายงูเห่าอาการ อาการงูพิษกัด แบ่งเป็นอาการเฉพาะที่ กับอาการทั่วไปอาการเฉพาะที่ :แผลที่ถูกงูพิษกัด จะมีลักษณะแตกต่างไปจากงูไม่มีพิษกัด คือ จะพบรอยเขี้ยว 2 รอย เห็นเป็นจุดหรือขีดเล็กๆ และมีอาการปวดกับบวมในบริเวณที่ถูกกัด บางครั้งมีเลือดออกซิบๆ ต่อมากลายเป็นสีเขียวคล้ำ มีตุ่มพอง ทิ้งไว้จะแตกออก และกลายเป็นแผลเน่า อาจต้องรักษาด้วยการผ่าตัดปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft) ส่วนงูไม่มีพิษกัดจะไม่พบรอยเขี้ยว อาจเห็นเพียงรอยถากหรือรอยถลอกสำหรับงูที่มีพิษต่อเลือดกัด อาการบวมจะเกิดขึ้นรวดเร็วภายใน 15-20 นาที และมีน้ำเหลืองหรือเลือดไหลออกจากรอยเขี้ยวไม่หยุด อาการบวมจะลุกลามมากขึ้นส่วนงูเห่ากัด จะมีอาการปวดพอทน อาการปวดค่อยเพิ่มมากขึ้นและแผ่ซ่านไป และจะมีอาการบวมบริเวณที่ถูกกัดเล็กน้อยภายหลังหนึ่งชั่วโมงส่วนงูทะเลและงูสามเหลี่ยมกัด มักไม่ค่อยมีอาการปวดบวม2. อาการทั่วไป งูที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อ ได้แก่ งูทะเล รอยเขี้ยวห่างกันเล็กน้อยและไม่มีอาการปวดบวมแต่อย่างใด, 1-2 ชั่วโมงต่อมาจะรู้สึกปวดเมื่อยกล้ามเนื้อตามแขน ขา คอและลำตัว ยิ่งเคลื่อนไหวตัวยิ่งปวด, 8 ชั่วโมงต่อมาจะมีอาการปวดมากขึ้น แขนขาเป็นอัมพาต อ้าปากไม่ได้ หนังตาตก และปัสสาวะเป็นสีดำ ผู้ป่วยมักตายภายในเวลา 14-16 ชั่วโฒงหลังถูกกัด ผู้ป่วยบางรายอาจมีภาวะไตวายเนื่องจากพิษของงูทำให้ไตเสียสำหรับผู้ป่วยถูกงูทะเลกัด ในขณะนี้ยังไม่มีเซรุ่มแก้พิษที่ได้ผล จึงได้แต่ให้การรักษาตามอาการ ถ้ารอดไปได้ประมาณ 6 เดือน อาการอัมพาตและอาการอื่นๆ ก็จะค่อยๆ หายไปการรักษา /ปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล เป็นสิ่งที่ต้องกระทำหลังถูกงูกัดทันที ก่อนที่จะนำส่งโรงพยาบาล มักจะกระทำโดยผู้ป่วยเอง ญาติพี่น้องหรือเพื่อนฝูง คำแนะนำในการให้การปฐมพยาบาลผู้ที่ถูกงูกัด สำหรับบุคคลเหล่านี้ ได้แก่ใช้เชือก ผ้า หรือสายยางรัดแขนหรือขา ระหว่างแผลงูกัดกับหัวใจ (เหนือรอยเขี้ยว 2-4 นิ้วฟุต) เพื่อป้องกันมิให้พิษงูถูกดูดซึมเข้าร่างกายโดยเร็ว ควรคลายเชือกทุกๆ 15 นาที โดยคลายนานครั้งละ 30-60 วินาที จนกว่าจะถึงสถานพยาบาลเคลื่อนไหวแขนหรือขาส่วนที่ถูกงูกัดให้น้อยที่สุด ควรจัดตำแหน่งของส่วนที่ถูกงูกัดให้อยู่ในระดับต่ำกว่าหัวใจ อย่าให้ผู้ป่วยเดิน ควรให้ผู้ป่วยนั่งรถหรือแค่หาม ทั้งนี้เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของพิษงูควรดูให้รู้แน่ว่าเป็นงูอะไร แต่ถ้าไม่แน่ใจ ควรบอกให้คนอื่นที่อยู่ในที่เกิดเหตุช่วยตีงูให้ตาย และนำไปยังสถานพยาบาลด้วย (อย่าตีให้เละจนจำลักษณะไม่ได้)อย่าให้ผู้ป่วยดื่มสุรา หรือยาดองเหล้า หรือกินยากระตุ้นประสาท รวมทั้งชา กาแฟอย่าใช้ไฟหรือเหล็กร้อนจี้ที่แผลงูกัด และอย่าใช้มีดกรีดแผลเป็นอันขาด เพราะอาจทำให้เลือดออกมาก ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ (จากงูที่มีพิษต่อประสาท) ให้ทำการเป่าปากช่วยหายใจไปตลอดทางจนกว่าจะถึงสถานพยาบาลที่ใกล้บ้านที่สุดสำหรับบาดแผลให้ใช้ยาฆ่าเชื้อทำความสะอาดบาดแผล ถ้ารู้สึกปวดแผล ให้กินพาราเซตามอล ห้ามให้แอสไพริน เพราะอาจทำให้เลือดออกง่ายขึ้นให้รักษาตามอาการ เช่นใช้เครื่องช่วยหายใจ ในรายที่หยุดหายใจ (เช่น ถูกงูเห่า หรืองูทะเลกัด)ให้เลือด ถ้ามีเลือดออกรุนแรง (เช่น ถูกงูแมวเซากัด)ในรายที่มีภาวะไตวายเฉียบพลัน (มักเกิดจากงูทะเล หรืองุแมวเซากัด) ต้องรักษาด้วยการฟอกล้างของเสียหรือไดอะไลซิส (dialysis) โดยมากภาวะนี้จะเป็นอยู่นาน 2-10 วันให้ยาแก้ปวด ควรให้พาราเซตามอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเกิดจากงุที่มีพิษต่อเลือดกัด เพราะถ้าใช้แอสไพริน อาจทำให้เลือดออกง่ายขึ้น
  37. ไขสันหลังอักเสบ (Myelitis)ไขสันหลังอักเสบ หมายถึง การอักเสบของประสาทไขสันหลัง ทำให้เกิดอาการอัมพาตของขาทั้งสองข้าง (อัมพาตครึ่งล่าง) หรือแขนขาทั้ง 4 ข้าง (อัมพาตหมดทั้งแขนขา)สาเหตุ ถ้ามีการอักเสบของไขสันหลังเพียงอย่างเดียว มักมีสาเหตุจากเชื้อไวรัสบางชนิด แต่ถ้ามีอาการอักเสบของสมองร่วมด้วย อาจเกิดจากติดเชื้อหัด, หัดเยอรมัน, อีสุกอีใส, คางทูม, เริม, งูสวัด, โปลิโอ, โรคพิษสุนัขบ้าอาการ แรกเริ่มมีอาการขาชาและไม่มีแรงทั้งสองข้าง ในบางรายอาจมีอาการปวดหลังร่วมด้วย หลังจากนั้นขาจะอ่อนแรงลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเป็นอัมพาต เดินไม่ได้ ถ่ายปัสสาวะและอุจจาระไม่ได้ อาการเหล่านี้มักเกิดขึ้นภายในไม่กี่วันการรักษา หากสงสัย ควรส่งโรงพยาบาลด่วนอาจต้องเอกซเรย์ เจาะหลัง และตรวจพิเศษอื่นๆ และให้การรักษาด้วยสเตอรอยด์ ทำกายภาพบำบัด ถ้าหายใจไม่ได้อาจต้องเจาะคอ และให้เครื่องช่วยหายใจผลการรักษาไม่แน่นอน บางรายอาจหายได้ภายใน 2-3 สัปดาห์ บางรายอาจดีขึ้นบ้างแต่ไม่หายขาด และบางรายอาจไม่ดีขึ้นเลย และกลายเป็นอัมพาตอย่างถาวรถ้าจะหายผู้ป่วยมักจะเริ่มมีอาการดีขึ้นภายใน 2-6 สัปดาห์ ในรายที่ไม่ดีขึ้นเลยภายหลัง 6 เดือน มักจะเป็นอัมพาตตลอดไป
  38. เนื้องอกไขสันหลัง (spinal cord tumors) มักเป็นเนื้องอกที่แพร่กระจายมาจากอวัยวะอื่น เช่น มะเร็งปอด เต้านม ต่อมลูกหมาก ต่อมไทรอยด์ ไต ต่อมน้ำเหลือง เป็นต้นอาการแขนขาอ่อนแรงจะค่อยๆ เป็นมากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งเดินไม่ได้ ผู้ป่วยอาจมีอาการถ่ายปัสสาวะอุจจาระเองไม่ได้การรักษา หากสงสัย ควรส่งโรงพยาบาลอาจต้องเอกซเรย์กระดูกสันหลัง, เจาะหลัง, ถ่ายเอกซเรย์โดยฉีดสารทึบแสง ที่เรียกว่า ไมอีโลกราฟี (myelography) ถ่ายภาพด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) ถ้าพบว่าเป็นเนื้องอกไขสันหลัง มักจะต้องรักษาด้วยการผ่าตัด ซึ่งจะช่วยให้หายปวดหลัง และแขนขามีแรงขึ้น ในรายที่เป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรง (มะเร็ง) อาจต้องรักษาด้วยการฉายรังสี ผลการรักษาขึ้นกับชนิดของเนื้องอก และความรุนแรงของโรค ถ้าเป็นเนื้องอกชนิดธรรมดา (ไม่ใช่มะเร็ง) และอาการไม่รุนแรงก็มีทางหายขาดได้ถ้าประสาทสันหลังถูกทำลายมาก หรือเป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรง (มะเร็ง) หรือเป็นมะเร็งที่ลุกลามมาจากที่อื่น ก็อาจเป็นอัมพาตครึ่งล่าง หรืออัมพาตครึ่งล่าง หรืออัมพาตหมดทั้งแขนขา แล้วอาจเป็นแผลกดทับ หรือกระเพาะปัสสาวะอักเสบแทรกซ้อน และผู้ป่วยอาจมีชีวิตอยู่ได้ไม่นาน
  39. Myasthenia gravisไมแอสทีเนียเกรวิส (โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้าย) เป็นโรคที่พบได้ไม่บ่อยนัก พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายประมาณสองเท่า มักเริ่มมีอาการครั้งแรกในช่วงอายุ 20-30 ปี ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อบางส่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณใบหน้า (เช่น ตา ปาก)สาเหตุ เนื่องจากความผิดปกติของการทำงานของกล้ามเนื้อ โดยกระแสประสาทไม่สามารถส่งทอดไปสั่งการให้กล้ามเนื้อทำงานได้ ทั้งนี้ไม่เกี่ยวกับความผิดปกติของสมองและประสาทส่วนกลางแต่อย่างใดปัจจุบันพบว่า กลไกการเกิดโรคมีความสัมพันธ์กับปฏิกิริยาออโตอิมมูน (automimune) โดยพบว่าผู้ป่วยจะมีแอนติบอดีต่อตัวรับอะเซทิลโคลีน (acetyl-choline receptors) ทำให้การทำงานของกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายเกิดความผิดปกติ (อ่อนแรง) ประมาณ 2 ใน 3 ของผุ้ป่วย พบว่ามีภาวะต่อมไทมัสโตร่วมด้วยนอกจากนี้อาจพบร่วมกับโรคกลุ่มออโตอิมมูนอื่นๆ เช่น Toxic goiter, โรคปวดข้อ Rhumatoid, เอสแอลอี (SLE)อาการ ที่พบได้บ่อย คือ อาการหนังตาตก (ตาปรือ) ซึ่งมักเกิดเพียงข้างเดียว นอกจากนี้อาจมีอาการตาเข เห็นภาพซ้อน เนื่องจากกล้ามเนื้อกลอกลูกตาอ่อนแรง ถ้าเป็นมากขึ้น อาจมีอาการพูดอ้อแอ้ กลืนลำบาก สำลักอาหาร พูดเสียงขึ้นจมูก หรืออาจมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายร่วมด้วยในรายที่เป็นมาก อาจมีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อส่วนต้นของแขนขาจนลุกขึ้นยืนหรือเดินไม่ได้ และถ้าเป็นรุนแรง ก็อาจทำให้กล้ามเนื้อช่วยหายใจเป็นอัมพาต หยุดหายใจ ตายได้ โดยเฉพาะในช่วง 2 ปีแรกหลังมีอาการ ถือว่าเป็นช่วงวิกฤตที่อาจเกิดอันตรายได้มาก หากนานเกิน 10 ปีขึ้นไป อาการก็มักจะไม่รุนแรงอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ มักจะเป็นมากขึ้นหลังเป็นไข้หวัด หรือเป็นโรคติดเชื้ออื่นๆ ตื่นเต้นตกใจร่างกายเหนื่อยล้า นอนไม่หลับ ขณะมีประจำเดือน ขณะตั้งครรภ์ช่วง 3 เดือนแรก หลังกินอาหารพวกแป้งหรือน้ำตาลมาก หรือหลังดื่มเหล้าหรือใช้ยาบางชนิด (เช่น Neomycin, Streptomycin, Gentamycin, Tetracycline, Erythromycin, กลุ่มยาBeta block, Diazepam เป็นต้น)อาการแทรกซ้อน กล้ามเนื้อช่วยหายใจเป็นอัมพาต หยุดหายใจได้, ปอดอักเสบเนื่องจากสำลักเศษอาหารการรักษา หากสงสัย ควรแนะนำไปโรงพยาบาล มักจะทำการทดสอบโดยการฉีด นีโอสติกมีน (neostigmine) 1.5 มิลลิกรัมเข้าใต้หนัง หรือฉีดยาอีโดรโฟเนียม (edrophonium) มีชื่อทางการค้า เช่น เทนซิลอน (Tensilon) 10 มิลลิกรัม เข้าหลอดเลือดดำ ซึ่งจะทำให้อาการดีขึ้นทันที