SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 74
L/O/G/O
การเขียนตัวสะกด
การเขียนตัวสะกด
วิสรรชนีย์ ( ะ ) เป็นสระรูปหนึ่งของ
ไทย ใช้สำาหรับเขียนไว้หลังพยัญชนะ
เพื่อให้ออกเสียง / อะ / คำาในภาษาไทย
ที่ออกเสียง / อะ / มีจำานวนมาก มีทั้ง
คำาที่ประวิสรรชนีย์ และไม่ประวิสรรชนีย์
มีหลักเกณฑ์การเขียนดังนี้
หลักการประวิสรรชนีย์
การเขียนตัวสะกด
๑.๑ คำาไทยแท้ที่ออกเสียง / อะ /
ชัดเจนทุกคำาให้ประวิสรรชนีย์ เช่น นะ
จะ กะปิ ปะทะ มะระ เป็นต้น
ยกเว้น ณ ที่แปลว่า ใน
ตัวอย่าง ณ ห้อง ๑๐๑
ท ที่แปลว่า ท่าน ตัวอย่าง
ทนาย
ธ ที่แปลว่า เธอ ตัวอย่าง ธ
๑.การประวิสรรชนีย์ มีหลัก
เกณฑ์ดังนี้
๑.๒ คำาเดิมซึ่งเป็นคำาประสมกันอยู่
แล้ว ต่อมาเสียงของคำาหน้ากร่อนไปเป็น
เสียง / อะ / ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น
หมากม่วง เป็น มะม่วง
หมากเขือ เป็น มะเขือ เป็นต้น
การเขียนตัวสะกด
๑.๓ คำา อัพภาส คือ คำาซำ้าคำา เช่น
คักคัก ครื้นครื้น เมื่อย่อคำาหน้าให้มีเสียง
เป็น / อะ / ให้ประวิสรรชนีย์
ครื้นครื้น เป็น คะครื้น
การเขียนตัวสะกด
๑.๔ คำาที่ขึ้นต้นด้วย สะ ซึ่งแผลง
เป็น ตะ หรือ กระ ได้ สะ ตะ กระ จะ
ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น
๑.๕ คำาที่เติมตัว ร เข้าไปหลังพยางค์
ต้นของคำา ถ้าคำาเดิมประวิสรรชนีย์ เมื่อ
เติม ร แล้วก็คงประวิสรรชนีย์ เช่น
สะพาน เป็น ตะพาน
สะเทือน เป็น กระเทือน
จะเข้ เป็น จระเข้
สะพรั่ง เป็น สระพรั่ง
การเขียนตัวสะกด
๑.๖ คำาที่มาจากภาษาบาลีและ
สันสกฤต พยางค์ท้ายของคำาที่ต้องการ
ออกเสียง / อะ / ให้ประวิสรรชนีย์
เช่น ลักษณะ สรณะ พยัญชนะ ขณะ
อาสนะ เป็นต้น
๑.๗ คำาภาษาตะวันออก (ยกเว้น
คำาในตระกูล บาลีและสันสกฤต) มีภาษา
ชวา มลายู จีน ญี่ปุ่น พม่า ต้องประ
วิสรรชนีย์ทุกพยางค์ที่ออกเสียง / อะ /
เช่น
การเขียนตัวสะกด
ชวา : มะงุมมะงาหรา
มะตาหะรี ปะหนัน จีน :
แป๊ะซะ ตือบะ พะซี้
ญี่ปุ่น : ซากุระ โยชิดะ ซาบะ
ซาโยนาระ
พม่า : อังวะ อะแซหวุ่นกี้ โป
มะยุง่วน
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกด๒. การไม่ประวิสรรชนีย์ มีหลัก
เกณฑ์ดังนี้
๒.๑ คำาไทยที่จัดไว้ในประเภท
ยกเว้น เพราะเขียนไม่ประวิสรรชนีย์ มา
แต่โบราณและยอมรับกันว่าถูกต้องแล้ว
เช่น ธ ณ ฯพณฯ เป็นต้น
๒.๒ คำาที่เสียงพยางค์หน้าออก
เสียง / อะ / ไม่เต็มมาตรา หรือออก
เสียงเป็นอักษรนำากรณีนี้ไม่ต้องประ
วิสรรชนีย์ เช่น ชม้อย กนก ขนม
จรวด จรัส ฉงน เป็นต้น
การเขียนตัวสะกด
๒.๓ คำาแผลงที่แผลงมาจากคำาเดิม
พยางค์เดียวเป็น ๒ พยางค์ พยางค์หน้า
ออกเสียง / อะ / แต่ไม่ต้องประ
วิสรรชนีย์ เช่น
๒.๔ คำาที่มาจากภาษาเขมรพยัญชนะ
ต้น ๒ ตัวซ้อน ในภาษาไทยเพิ่มเสียงอ่าน
พยัญชนะตัวหน้าเป็น / อะ / ไม่ต้องประ
ชิด เป็น ชนิด
ขาน เป็น ขนาน
บวก เป็น ผนวก
การเขียนตัวสะกด
๒.๕ คำาที่มาจากภาษาบาลีและ
สันสกฤต ที่ออกเสียง / อะ / ที่พยางค์ต้น
ไม่ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น กรณี สรณธ
นคร อวตาร เป็นต้น
๒.๖ คำาสมานที่ออกเสียง / อะ /
ระหว่างคำา ไม่ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น
อิสรภาพ ศิลปกรรม พลศึกษา ปิย
มหาราช อารยชน เป็นต้น
การเขียนตัวสะกด
๒.๗ คำาที่เติม ร เข้าไปในพยางค์ต้น
ของคำา มักใช้ในบทกลอน ถ้าคำาเดิมไม่
ประวิสรรชนีย์เมื่อเติม ร ลงไป แม้จะออก
เสียง / อะ / ก็ไม่ต้องประวิสรรชนีย์
เช่น จมูก เป็น จรมูก ตลอด เป็น
ตรลอด
๒.๘ คำาที่เติมตัว ม เข้าข้างหน้าตัว ล
เพื่อเพิ่มพยางค์ให้มากขึ้นตามวิธีนิยม
ของการแต่งโคลง กลอน แม้จะออก
การเขียนตัวสะกด
๒.๙ คำาที่มาจากภาษายุโรป ให้ถือ
หลักเดียวกับคำาที่มาจากภาษาบาลีและ
สันสกฤต เพราะเป็นภาษาในตระกูล
อินเดียยุโรปด้วยกัน ฉะนั้นพยางค์หน้าที่
ออกเสียง / อะ / ไม่ต็มเสียงจึงไม่ประ
วิสรรชนีย์ เช่น สกี แสตมป์ สแลง
สวิตช์ เป็นต้น
การเขียนตัวสะกดตัวอย่างคำาที่ประวิสรรชนีย์
กะละแม กะทิ กระทะ กะไหล่
กะโหลก สะอาด คะเน
คะมำา จาระบี ชะง่อน
จระเข้ ชะโงก ชะตา ชะลอ ชะมด
ตะลุง ตะลุย ทะนานอะไหล่ ทะลัก
ทะลุ สะดุด ประณีต
ปะการัง พะยอมระลอก ระหัด ละออง
บอระเพ็ด ละเมียด
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกดตัวอย่างคำาที่ไม่ประวิสรรชนีย์
กฐิน กตเวที กรณี ทโมน ขมิ้น
ขมีขมัน ขโมย ชนิด เฉพาะ
ชวา ชโลม จริต
เผยอ ตลิ่งตาลโนด ทเมิน พยาน
มนิลา รหัส ปราชัยสกาว สกี
สไบ สดุดี ทยอย ขจัดขจาย
ทแยงมุม
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกด
การใช้ ใอ ไอ ไอย อัย
เสียง / ไอ / เขียนได้เป็น ๔ รูป คือ
ใอ ไอ ไอย และอัย เมื่อเขียนต่างกัน
ความหมายจะแตกต่างกันไปด้วย มีหลัก
การใช้ดังนี้
การเขียนตัวสะกด๑.การใช้ ใอ (ไม้
ม้วน)
ใอ เป็นสระรูปหนึ่งของภาษาไทย คำาที่
ใช้ ใอ จึงมีใช้เฉพาะในคำาไทยแท้ ๒๐
คำา คือใกล้ ใคร ใคร่ ใจ ใช่ ใช้
ใด ใต้ ใน ใบ ใบ้ ใฝ่ ใย
สะใภ้ ใส ใส่ ให้ ใหญ่ ใหม่
ใหลหลง
การเขียนตัวสะกด
บ้าใบ้หลงใหลใหญ่ ให้สะใภ้
ใช้นำ้าใส
มิใช่อยู่ใกล้ใคร ในจิตใจใฝ่
แต่ดี
ผู้ใดใส่เสื้อใหม่ ใยบัวใต้ใบ
ดีปลี
จะใคร่เรียนเขียนดี ยี่สิบม้วน
ควรจดจำา
มีบทร้อยกรองช่วยจำา ดังนี้
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกด
คำาที่เขียนด้วย สระใอ นี้ เป็นคำาที่พ้อง
เสียงกับคำาที่เขียนด้วย สระไอ ซึ่งมีความ
หมายแตกต่างกันอยู่ ๑๐ คำา ดังต่อไปนี้ใคร่ - รักใคร่
ใคร่ครวญ ไคร่ -
ตะไคร่
ใจ - จิตใจ ดวงใจไจ - ไจ
ไหม ไจด้วย
ใด - สิ่งใด เท่าใด ได -
การเขียนตัวสะกด
ใย - เยื้อใย ใยบัว
ไย - ไยไพ ลำาไย
ใส - นำ้าใส สดใส
ไส - ไสกบ ผลักไส
ให้ - ให้ของ ให้ -
ร้องไห้ ไห้ช้าง
ใหล - หลงใหล หลับใหล
ไหล - นำ้าไหล เหลวไหล
การเขียนตัวสะกด
๒. การใช้สระ ไอ (ไม้มลาย)
การใช้ ไอ เขียนคำาไทยในภาษาไทย
ปัจจุบัน มีหลักเกณฑ์การใช้ดังนี้
๒.๑ ใช้เขียนคำาไทยทุกคำาที่ออก
เสียง / ไอ / นอกเหนือจากคำาที่ใช้ ใอ
เช่นไข่ ไหน ทำาไม ลำาไยลำาไส้
เรไร ไป ไถ ไกล
ไต่ ไล่ หยากไย่
การเขียนตัวสะกด
๒.๒ คำาที่มาจากภาษาบาลีและ
สันสกฤตรูปเดิมใช้ ไอ ให้เขียน ไอ ตาม
รูปเดิม เช่นไอศวรรย์ ไพชยนต์ ไพรี
ไศล ไอศูรย์๒.๓ คำาที่มาจากภาษาบาลีและ
สันสกฤต ที่รูปเดิมเป็นเสียงสระ อิ อี และ
เอ แล้วแผลงเป็น ไอ เช่นตรี - ไตร รวิ - รำาไพ
ศิลา - ไศล วิจิตร -
ไพจิตร
การเขียนตัวสะกด
๒.๔ คำาที่มาจากภาษาต่างประเทศ จะ
ใช้ ไอ ทุกคำา เช่นเขมร : ไถง ไข สไบ ไต
ไศล
จีน : ไต้ก๋ง ไหหลำา เซี
ยงไฮ้ กงไฉ่ ไต้ฝุ่น
อังกฤษ : ไมล์ สไตล์ ไดนาโม
ไอศกรีม
การเขียนตัวสะกด๓. การใช้ ไอย (ไม้
มลาย มี ย ตาม)
๓.๑ คำาในภาษาไทยที่มาจากภาษา
บาลี ซึ่งมาจากรูปเดิมว่า เอยย (ย สะกด
และ ย ตาม) เมื่อนำามาใช้ในภาษาไทย
เราใช้ ไอย เช่นอสงเขยย - อสงไขย เทยยทาน
- ไทยทาน
เทยยธมม - ไทยธรรม เวยยาก
รณ - ไวยากรณ์
๓.๒ คำาบางคำามิได้มีรูปคำามาจาก เอย
ย แต่เราเขียนโดยใช้ ไอย ตามความนิยม
และเคยชินกันแล้ว เช่น คำาว่าไทย เดิมใช้ ไท ต่อมาเขียนเป็น
ไทย
การเขียนตัวสะกด๔. การใช้ อัย (เสียง อะ
มี ย สะกด)
คำาที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต ซึ่ง
รูปคำาเดิมเป็นคำาที่ออกเสียง /อะ/ แล้วมี ย
ตาม เมื่อไทยนำาคำามาใช้ จะใช้ ย เป็นตัว
สะกด เช่นชย - ชัย ภย - ภัย
มย - มัย กษย - กษัย
การเขียนตัวสะกดตัวอย่างคำาที่ใช้ไอ
กะไหล่ กังไส คลื่นไส้ ตะไคร้ ใส่
ไคล้
ไดโนเสาร์ ไตรรงค์
ไซโคลน ไซโล ไยโย
ไต้ก๋ง ไตรยางศ์ ไตรลักษณ์
ไซ
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกด
ตัวอย่างคำาที่ใช้ใอ
เหล็กใน หมาใน เยื่อใย นวลใย
ใยบัว ใบบอก บังใบ ใส
ใฝ่ฝัน ฝักใฝ่ หลับใหล สดใส
สุกใส
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกด
ตัวอย่างคำาที่ใช้ ไอย อัย
อสงไขย ภูวไนยภาคิไนย
รัตนตรัย นัยน์ตา บรรลัย ปัจจัย
พิราลัย มโนมัย เมรัย
ไมยราบ ตรัยตรึวศ์
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกดการใช้ อำา อำาม อัม
๑. การใช้ อำา มีหลัก
การใช้ดังนี้
๑.๑ ใช้ในคำาไทยแท้ทั่วไป เช่น ดำา
ขำา กำายำา พึมพำา จำา ลำานำา คำา เป็นต้น
๑.๒ ใช้กับคำาแผลงทั่วไปที่แผลงมา
จาก คำาภาษาเขมร ภาษาบาลีและ
สันสกฤต พยางค์หน้าที่ออกเสียง / อัม /
ใช้สระ อำา เช่นขจร - กำาจร เกิด - กำา
หนิด
คูณ - คำานูณ คำานวณ จิร -
เจียร จำาเนียร
การเขียนตัวสะกด
๑.๓ ใช้เขียนคำาที่ยืมมาจากภาษาอื่น
ซึ่งออกเสียง / อัม / (นอกจากภาษาทาง
ยุโรป) และนำามาเขียนตามอักษรวิธีของ
ภาษาไทยใช้สระ อำา เช่นกำาปั่น กำายาน กำามะถัน
ฮุนหนำา ดำามะหงง
สำาปั้น สำาเภา ไหหลำา ฉนำา
พะทำามะรง
การเขียนตัวสะกด๒. การใช้
อำาม
ใช้เขียนคำาที่ยืมมาจากภาษาบาลีและ
สันสกฤต ที่มีเสียงเดิมเป็น / อะ / แล้วมี
ม ตาม เมื่อนำามาใช้ในภาษาไทย จะ
แผลง อะ เป็น อำา จึงเป็น อำาม ในภาษา
ไทย เช่น
อมหิต - อำามหิต อมฤต -
อำามฤต
อมาตย์ - อำามาตย์อมรินทร์ -
อำามรินทร์
การเขียนตัวสะกด๓. การใช้
อัม๓.๑ ใช้เขียนคำาที่มาจากภาษาบาลี
และสันสกฤต ซึ่งเดิมเสียง / อะ / แล้วมี
ม สะกด เช่น
๓.๒ ใช้เขียนคำาที่เกิดจาก นฤคหิต (°)
สนธิกับพยัญชนะวรรคปะ (ป ผ พ ภ ม)
เกิดเป็นเสียง /อัม/ ให้เขียน อัม เช่น
กมพุช - กัมพุช คมภีร์ -
คัมภีร์
ปกีรณม - ปกีรณัม สมพนธ -
สัมพันธ์
ส̊ + มน - สัมมนา ส +̊ ภาร -
สัมภาระ
ส +̊ ผสส - สัมผัส ส +̊ ปทาน
การเขียนตัวสะกด
๓.๓ ใช้เขียนคำาที่มาจากภาษาอังกฤษ
เช่นกิโลกรัม (Kilogramme)
สกรัม (Scrum)
คอลัมน์ (Column)
สลัม (Slum)
นัมเบอร์ (Number)
อัลบั้ม (Album)
การเขียนตัวสะกดตัวอย่างคำาที่ใช้ อำา
กำาจัด กำาชับ กำาซาบ
บำานาญ ของกำานัล
คำานึง คำารบ คำาแสด
คำาแหง จำาเจ
จำานน จำานัล จำานอง
จำาเนียร จำาโนทย์
ดำาริ ตำาบล ตำารับ
ตำาลึง ตำาหนิ ทำานาย
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกดตัวอย่างคำาที่ใช้ อัม
กัมปนาท กัมพุช
กัมพูชา กัมมัชวาต อัสสัม
กัมมัฏฐาน คอลัมน์
อัมพวัน สัมพันธ์อัมพร
สัมภาระ สัมภาษณ์
สัมมนา อัมพาตคัมภีร์
กัมมันตรังสี
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกดการใช้ไม้
ไต่คู้ ( ็็ )ไม้ไต่คู้ เป็นสระรูปหนึ่งของไทย ใช้
เขียนกำากับบนพยัญชนะ เพื่อแสดงว่าคำา
นั้นเป็นเสียงสระ เ-ะ หรือ สระ แ-ะ หรือ
สระ เ-าะ ที่มีตัวสะกดให้ออกเสียงสั้น มี
หลักเกณฑ์การใช้ดังนี้
การเขียนตัวสะกด
๑. ใช้เขียนคำาไทยที่เปลี่ยนรูป
วิสรรชนีย์เป็นไม้ไต่คู้ เมื่อ สระ เ-ะ หรือ
สระ แ-ะ มีตัวสะกด และเขียนแทนรูป สระ
เ-าะ ที่มีตัวสะกด เวลาอ่านออกเสียงสี่น
เช่น เก็ง เกร็ด เผ็ด เม็ด เบ็ด เข็น เป็น
เค็ม แข็ง หย็องแหย็ง หร็อมแหร็ม
เป็นต้น
หลักเกณฑ์การใช้การใช้
ไม้ไต่คู้ ( ็็ )
๒. ใช้เขียนบนพยัญชนะ ก แทน สระ
เ- –าะ เสียงวรรณยุกต์โท คือ เก๊าะ ก็
๓. ใช้เขียนคำาที่มาจากเขมร เมื่อ
ต้องการให้คำานั้นออกเสียงสั้น เช่น เพ็ญ
เท็จ เสด็จ สำาเร็จ เสร็จ เป็นต้น
การเขียนตัวสะกด
๔. คำาที่แผลงมาจากภาษาบาลีและ
สันสกฤต แม้คำานั้นจะออกเสียงสั้นก็ไม่ใช้
ไม้ไต่คู้ เช่น เบญจ เพชร เวจ อเนจอนาถ
เป็นต้น๕. คำาที่มาจากภาษาตะวันตก เช่น
ภาษาอังกฤษ คำาที่ออกเสียงสั้นในกรณี
บางคำาก็ใช้ไม้ไต่คู้ บางคำาก็ไม่ใช้ เป็นไป
ตามคำานิยม
การเขียนตัวสะกด
ตัวอย่างคำาภาษาอังกฤษที่ใช้ไม้ไต่คู้
ค็อกเทล ช็อกโกแลต
เปอร์เซ็นต์ เต็นท์แท็งก์
นำ้าบล็อก แร็กเกต ลาย
เซ็น
ตัวอย่างคำาภาษาอังกฤษที่ไม่ใช้ไม้
ไต่คู้ แคปซูล เซนติเมตร
เทคนิค ชอล์ก
การเขียนตัวสะกดการใช้ไม้
ทัณฑฆาต
( ์์ )ไม้ทัณฑฆาต เป็นเครื่องหมายที่เขียน
กำากับบนพยัญชนะ เพื่อแสดงให้รู้ว่า
พยัญชนะตัวนั้นไม่ออกเสียง จะใช้เขียน
กับคำาที่เรายืมมาจากภาษาต่างประเทศ
ซึ่งมีเสียงคำานั้นสะดวกขึ้น และคงรักษา
รูปคำาเดิมไว้ รูปพยัญชนะที่ไม่ออกเสียง
นั้น เท่ากับเป็นตัวแสดงความหมายของ
คำาที่มีเสียงพ้องกันแต่รูปคำาแตกต่างกัน
หลักการใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต ดังนี้
การเขียนตัวสะกด
๑. ใช้เขียนเหนือพยัญชนะตัวที่ไม่
ต้องออกเสียง เครื่องหมายทัณฑฆาตอยู่
เหนือพยัญชนะตัวใด พยัญชนะตัวนั้นไม่
ออกเสียง คำาภาษาบาลี และสัสกฤต และ
คำาภาษาต่างประเทศอื่นๆ ที่มีเสียง
พยัญชนะควบกลำ้าหรือมีตัวสะกดตัวตาม
มาก และไม่ต้องการออกเสียงพยัญชนะ
ตัวใด ก็ใช้เครื่องหมายทัณฑฆาตบน
พยัญชนะตัวนั้น เช่น
หลักการใช้เครื่องหมาย
ทัณฑฆาต
กษาปณ์ กษัตริย์
กรมธรรม์ ไดโนเสาร์
ฉกรรจ์ พระสงฆ์ ศิลป์
การเขียนตัวสะกด
๒. ถ้าคำานั้นเดิมออกเสียง เรียง
พยางค์เป็นหลายพยางค์ ต้องการลด
เสียงพยางค์ลง ให้เขียน ทัณฑฆาตที่
พยัญชนะสุดท้ายของคำานั้น เพื่อฆ่าเสียง
ตัวตาม และพยัญชนะต้นของเสียงสระ
พยางค์ท้าย เช่น
– –กาญจน อ่าน กาน จะ นะ เมื่อ
ฆ่าเสียงเขียน กาญจน์ อ่านว่า กาน
– –ลักษณ อ่าน ลัก ษะ หนะ เมื่อฆ่า
เสียงเขียน ลักษณ์ อ่านว่า ลัก
การเขียนตัวสะกด
๓. พยัญชนะควบกลำ้าซึ่งออกเสียง
กลำ้ากัน นับเป็นพยัญชนะเสียงเดียว เมื่อ
เขียนทัณฑฆาตที่ตัวใดตัวหนึ่ง จะทำาให้
เสียงพยัญชนะควบกลำ้านั้นหมดไปด้วย
เช่น
๔. พยัญชนะควบกลำ้าที่เป็นตัวสะกด
ไม่ต้องเขียนทัณฑฆาต เพราะถ้าเขียนจะ
ทำาให้ตัวสะกดหมดเสียงไปด้วย เช่น
เวทมนตร์ นิรันดร์
กาสาวพัสตร์ จันทร์
รัตนโกสินทร์ พักตร์ ศิลปะ
ศาสตร์
จักร ฉัตร บัตร เพชร เนตร
สมัคร สูตร อัคร
การเขียนตัวสะกดการใช้
ไม้ยมก ( ฯ
)ไม้ยมก เป็นเครื่องหมายที่เขียนหลังคำา
กลุ่มคำา หรือประโยค เพื่อแสดงว่าผู้เขียน
ต้องการซำ้าคำา ซำ้ากลุ่มคำา หรือซำ้าประโย
คนั้นๆ อีกครั้งหนึ่ง มีหลักการใช้ดังนี้
การเขียนตัวสะกด๑. ใช้เขียนซำ้าคำา เพื่อให้มีความ
หมายเปลี่ยนไป ดังนี้
๑.๑ เขียนหลังคำานามและคำา
สรรพนาม เพื่อแสดงว่าเป็นพหูพจน์
ตัวอย่าง
ลูกๆ เล่นอยู่ในสนามหน้าบ้าน (ลูก
หลายคน)
ฉันซื้อปากกาไปฝากเพื่อนๆ (เพื่อน
หลายคน)
๑.๒ เขียนหลังคำากริยา เพื่อแสดงถึง
การเขียนตัวสะกด
๑.๓ เขียนหลังคำาวิเศษณ์ เพื่อให้ความ
หมายเปลี่ยนไปจากเดิม ความหมายหนัก
แน่นขึ้นหรือลดลง หรือทำาให้ความหายลด
ลงหรือไม่เด่นชัด ตัวอย่าง
๑.๔ เขียนหลังคำาลักษณนาม เพื่อแบ่ง
แยกจำานวน ตัวอย่างเขียนรายงานให้เสร็จเป็นเรื่องๆ
กินปลาให้หมดเป็นตัวๆ
เดินเร็วๆ พูดค่อยๆ
ขับรถช้าๆ กระโปรงสีดำาๆ
การเขียนตัวสะกด๒. เขียนซำ้าวลีหรือประโยค
เพื่อยำ้าความหมาย
อธิบายขยายความให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
เวลาอ่านจะอ่านซำ้าทั้งวลีหรือประโยค
ตัวอย่างใกล้เข้ามาๆอ่านว่า ใกล้เข้ามา
ใกล้เข้ามา
เรือมาแล้วๆอ่านว่า เรือมาแล้ว
เรือมาแล้ว
การเขียนตัวสะกด๓. ในร้อยกรอง การเขียนคำาซำ้า
เสียงจะไม่ใช้ไม้ยมก
เรื่อยเรื่อยมารอนรอน ทิพากร
จะตกตำ่า
สนธยาจะใกล้คำ่า คำานึงหน้าเจ้า
ตาตรู
เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง นกบินเฉียงไป
ทั้งหมู่
ตัวเดียวมาพลัดคู่ เหมือนพี่อยู่ผู้
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกด๔. ไม่ใช้ไม้ยมกกับคำาที่ทำา
หน้าที่ต่างชนิดกัน
นายชอบ ชอบเล่นกีฬามาก
(นาม กับ กริยา)
สมชายซื้อที่ ที่หนองคาย
(นาม กับ บุพบท)
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกด๕. ไม่ใช้ไม้ยมกข้ามประโยค
ตัวอย่าง
ฉันถูบ้าน บ้านสกปรกมาก
แมววิ่งไล่ไก่ ไก่วิ่งหนี
การเขียนตัวสะกด๖. คำาต่างๆ นานา จะไม่เขียน
ต่างๆ นาๆ
ตัวอย่าง
เพราะ นานา เป็นคำามูลที่มาจาก
ภาษาบาลี แปลว่า ต่างๆ รูปเดิมเขียนว่า
นานา
การเขียนตัวสะกด
การใช้ ณ น
ณ น เป็นพยัญชนะที่มีเสียงเหมือน
กัน พยัญชนะไทยใช้ทั้ง ๒ ตัว มีหลัก
การใช้ ดังนี้
การเขียนตัวสะกด๑. การใช้
ณ
ณ เป็นพยัญชนะเดิม ไม่ใช่
พยัญชนะของไทยโดยตรง ส่วนใหญ่ใช้
เขียนคำาที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตมี
ที่ใช้ในคำาไทยแท้น้อยมาก มีหลักการ
เขียนดังนี้
การเขียนตัวสะกดการใช้ ณ มีหลักการ
เขียน
๑.๑ ใช้เขียนคำาไทยแท้บางคำาที่ใช้กัน
มาจนเคยชินแล้ว ตัวอย่าง
๑.๒ ใช้เขียนคำาที่มาจากภาษาบาลี
และสันสกฤต ซึ่งมีพยัญชนะต้นหรือรูปคำา
เดิม เขียน ณ เช่น
ณ ย่อมาจากคำา ใน
ฯพณฯ ย่อมาจากคำา
พ่อเหนือหัวเจ้าท่าน
กัณฑ์ กัณหาขณะ จัณฑ
าณ ญาณ
ปณิธาน มณี ลักษณะ
การเขียนตัวสะกด
๑.๓ ใช้เขียนคำาที่มาจากภาษาบาลี
ตามหลักเกณฑ์การใช้ ณ น ของภาษา
บาลีว่า ถ้า /นอ/ นำาหน้าพยัญชนะวรรค
ฏะ( ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ) และนำาหน้า ห ให้
ใช้ ณ เช่น
แต่ถ้า /นอ/ นำาหน้าหรือตามหลัง
พยัญชนะวรรค ตะ (ต ถ ท ธ น ) ให้ใช้
น เช่น
กัณฑ์ กัณหา กัณฐา ขัณฑ์
กุทัณฑ์ ขัณฑสกร ตัณหา
บัณฑิต
พิพิธภัณฑ์ มณเฑียร
สัณฐาน
ขันที นันทา วันทนา
การเขียนตัวสะกด
๑.๔ ใช้เขียนคำาที่มาจากภาษา
สันสกฤต ตามหลักเกณฑ์การใช้ ณ น
ของภาษาสันสกฤตว่าถ้า
/นอ/ ตามพยัญชนะ ร ฤ ษ ให้ใช้ ณ
เช่น
ตามหลัง ร เช่น กรุณา
กรรณิการ์ บูรณะ ตาม
หลัง ฤ เช่น กฤษณา
ตฤณมัย ตฤณ ตาม
การเขียนตัวสะกด
แม้ว่าระหว่าง ร ฤ ษ จะมีพยัญชนะ
วรรค กะ (ก ข ค ฆ ง) วรรค ปะ (ป ผ พ
ภ ม) หรือพยัญชนะ ย ว ห และสระมา
คั่นอยู่กี่ตัวก็ตาม ก็ยังคงใช้ ณ เช่นกษาปณ์ เกษียณตรังคิณี นารายณ์
พราหมณ์ รมณีย์ ราพณ์
ไอราวัณแต่ถ้าระหว่าง ร ฤ ษ กัน / นอ / มี
พยัญชนะอื่นๆซึ่งไม่ใช่พยัญชนะวรรค กะ
วรรค ปะ และพยัญชนะ ย ว ห มาคั่น
แล้วให้ใช้ น เช่น
การเขียนตัวสะกด
ทรรศนีย์ (ตัว ศ คั่น) ปราจีน
(ตัว จ คั่น)
ปริศนา (ตัว ศ คั่น) ปรารถนา (ตัว
ถ คั่น)
วิสรรชนีย์ (ตัว ช คั่น) อาราธนา
(ตัว ธ คั่น)
๑.๕ คำาที่เขียนตัว น มาแต่เดิม เมื่อมี
กรณีตัว ร นำาหน้า น จะต้องเปลี่ยนเป็น
ณ ด้วยตามหลักเกณฑ์ข้อ ๑.๔ เช่นนายก - ปริณายก นาม
- ประณาม
นม - ประณม มาน -
ประมาณ
การเขียนตัวสะกด๒ การใช้
น
น เป็นพยัญชนะกลาง มีใช้อยู่ใน
ภาษาไทย ภาษาบาลีและสันสกฤต มีหลัก
การใช้ ดังนี้
การเขียนตัวสะกด
๒.๑ ใช้เขียนคำาไทยแท้ทั้งหมด เช่น
นอน นั่ง นิ่ง นั่น โน่น นิด เป็นต้น
๒.๒ ใช้เขียนคำาภาษาบาลีและ
สันสกฤต ซึ่งรูปคำาเดิมใช้ น เช่น ชนนี
ชนก ชันษา มนัส สถาน สามานย์
เป็นต้น
๒.๓ ใช้เขียนคำาภาษาต่างประเทศ
ต่างๆ ที่ไทยรับมาใช้ เช่น ไต้ฝุ่น ญี่ปุ่น
สวีเดน โน้ต ลินิน โบนัส บุหลัน
การเขียนตัวสะกดตัวอย่างคำาที่ใช้ ณ
กุมภัณฑ์ เกษียณอายุ
เกาทัณฑ์ คณบดี คเณศ
คำานวณโฆษณา จัณฑาลนำ้าจัณฑ์
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกด
ตัวอย่างคำาที่ใช้ น
ตัวอย่าง
กินรี กลันท์ โกเมน เฆี่ยน
จันทร์หอม
จำานน จุนสี ชันสูตร เซ็นชื่อ
พิฆเนศ
ตระเวน ฌาน
การเขียนตัวสะกดการใช้ ศ ษ ส
ในภาษไทยมีคำาที่ใช้พยัญชนะ ศ ษ ส
อยู่จำานวนมาก ทั้งคำาไทยแท้และคำาที่รับ
มาจากภาษาอื่น ภาษาไทยแท้ ใช้ ศ ษ ส
ทั้ง ๓ รูป เช่นเดียวกับภาษาสันสกฤต
ส่วนภาษาบาลีใช้ ส เพียงรูปเดียว
การเขียนตัวสะกดการใช้พยัญชนะ ษ ศ ส มีหลักเกณฑ์
ในการเขียน ดังนี้
๑. ไทยแท้ทั่วไปนิยมใช้ ส เช่น สี
เสือ สิง เสื้อ สู่ สดใส สอบสวน
สอดใส่ เสียม เป็นต้น มีคำาภาษาไทย
และภาษาต่างประเทศที่เขียนกันมาแต่
โบราณ ใช้ ศ ษ บ้าง จนคุ้นเคย และ
ยังคงเขียนรูปคำาเหล่านั้นอยู่จงกระทั่ง
ปัจจุบัน ตัวอย่าง
ใช้ ศ เช่น ศึก ศอก เศิก เศร้า
เลิศ
ใช้ ษ เช่น กระดาษ โจษจัน
ดื่นดาษ ฝีดาษ เดียรดาษ
การเขียนตัวสะกด
๒. คำาที่มาจากภาษา เขียนใช้ ส
ทั้งหมด เพราะภาษาบาลีมี ส เพียงรูป
เดียว เช่น
๓. คำาที่มาจากภาษาสันสกฤต มีใช้ทั้ง
ศ ษ ส ตามหลักเกณฑ์การใช้ ศ ษ ส
ของภาษาสันสกฤต ดังนี้
๓.๑ พยัญชนะ ศ ใช้เขียนหน้า
สงฆ์ สาธิต โสภา ไสยา
เวสสันดร รังสี สิริ
สัจจะ สุสาน สัญญา สันติ
อัชฌาสัย มเหสี
การเขียนตัวสะกด
- เขียนหน้าพยัญชนะวรรค จะ เช่น
พฤศจิกายน ปรัศจิม อัศจรรย์
อัศเจรีย์ เป็นต้น
- เขียนหน้าพยัญชนะเศษวรรค เช่น
เทเวศร พิฆเนศวร แพศยา
อัศวิน อาศรม เป็นต้น
๓.๒ พยัญชนะ ษ ใช้เขียนหน้า
พยัญชนะวรรค ฏะ (ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ) หน้า
พยัญชนะวรรคอื่นและหน้าพยัญชนะเศษ
วรรคบางรูป ดังนี้
การเขียนตัวสะกด
- เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ฏะ
ตัวอย่าง
ขนิษฐา โฆษณา ดุษฎี อุษณี
ราษฎร โอษฐ์
- เขียนหน้าพยัญชนะวรรคอื่น
ตัวอย่าง
เกษตร บุษกร บุษบา พฤษภาคม
- เขียนหน้าพยัญชนะเศษวรรคบาง
การเขียนตัวสะกด
มีข้อสังเกตว่าเสียง / สอ / ในคำาที่ขีด
ตามหลังพยัญชนะ ก ถ้าไม่มีรูปสระหรือ
เป็นอักษรนำาในคำาเดียวกัน จะเขียนใช้ ษ
เป็นส่วนใหญ่ เช่นกษัตริย์ กษัย กษาปณ์ เกษียน
เกษียรสมุทร
เกษียณอายุ จักษุ ทักษิณ ประจักษ์
พฤกษา
ปักษา ภิกษุ ยักษา ภักษาหาร
ทั้งนี้ นอกจากบางคำาที่มาจากภาษา
บาลี ซึ่งรูปคำาเดิมใช้ ส และเราเขียน
ตามรูปคำาเดิม เช่น กสิกร กสิกรรม
การเขียนตัวสะกด
๓.๓ พยัญชนะ ส ใช้เขียนหน้า
พยัญชนะวรรค ตะ และพยัญชนะเศษ
วรรคบางรูปได้ ดังนี้- เขียนหน้าพยัญชนะวรรค ตะ
ตัวอย่างเช่น
พัสดุ พิสดาร ภัสดา วาสนา
สถาน สตรี
- เขียนหน้าพยัญชนะเศษวรรค
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกด
๔. คำาที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ
เช่น ภาษาจีน ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ
และภาษาชาติอื่นๆ โดยทั่วไปเขียนใช้
ส เช่นกังไส เต้าส่วน สะดมสไบ สดำา
สเปรย์ แสตมป์ เสวย
สเปนสปริง
การเขียนตัวสะกด
ตัวอย่างคำาที่ใช้ ศ
กาศิกพัสตร์ พยศ จุฑามาศ
ไตรยางค์ ตรีศูล
นิศากร เนรเทศ ปรัศว์ ปีศาจ บุญ
ราศี
เบญจศีล เบญจมาศ ปรเมศวร์
ประเวศ ปรัศจิม
ปรัศนี ปราศรัย ฝรั่งเศสพงศ์
ตัวอย่าง
การเขียนตัวสะกด
ตัวอย่าง
ตัวอย่างคำาที่ใช้ ษ
ตักษัย ไตรตรึงษ์ ทักษิโณทก
ประภาษ บุษบก
บุษราคัม ปฏิปักษ์ ปรปักษ์ ปักษี
นักษัตร
ปักษา ปราษณีประจักษ์
พรรษา วิพากษ์
การเขียนตัวสะกด
ตัวอย่าง
ตัวอย่างคำาที่ใช้ ส
กาสาวพักสตร์ กาสิโน กิเลส
กระแส
โกสน โกสีย์ ขีณาสพ
คริสต์มาส
คอนเสิร์ต คำาแสลง จตุสดมภ์
จันทรคราส
เซลลูโลส ดัสกร ดาบส
สมาชิกกลุ่ม
1. นางสาวรจนา มงคลสุข รหัส
5315066002017
2. นางสาว ตวงทิพย์ บุญอินทร์
รหัส 5315066002009
3. นางสาวตวงทอง บุญอินทร์
รหัส 5315066002008
4. นางสาวหทัยรัตน์ สันตยาคม
รหัส 5315066002039
5. นางสาวอรวรรณ คงแดง รหัส
5315066002002
สมาชิกกลุ่ม
L/O/G/O
Thank You!

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำGoy Saranghae
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยpinyada
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริงคำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริงเกม เกม
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยkruthai40
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 

Was ist angesagt? (17)

แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
Th 2014-01-01
Th 2014-01-01Th 2014-01-01
Th 2014-01-01
 
Kam
KamKam
Kam
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริงคำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 

Andere mochten auch

เครื่องหมายวรรคตอนในภาษาไทยและเครื่องหมายวรรคตอนอื่น ๆ ที่ควรทราบ
เครื่องหมายวรรคตอนในภาษาไทยและเครื่องหมายวรรคตอนอื่น ๆ ที่ควรทราบเครื่องหมายวรรคตอนในภาษาไทยและเครื่องหมายวรรคตอนอื่น ๆ ที่ควรทราบ
เครื่องหมายวรรคตอนในภาษาไทยและเครื่องหมายวรรคตอนอื่น ๆ ที่ควรทราบPiyarerk Bunkoson
 
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานแบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานTotsaporn Inthanin
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1
แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1
แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1niralai
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 

Andere mochten auch (6)

เครื่องหมายวรรคตอนในภาษาไทยและเครื่องหมายวรรคตอนอื่น ๆ ที่ควรทราบ
เครื่องหมายวรรคตอนในภาษาไทยและเครื่องหมายวรรคตอนอื่น ๆ ที่ควรทราบเครื่องหมายวรรคตอนในภาษาไทยและเครื่องหมายวรรคตอนอื่น ๆ ที่ควรทราบ
เครื่องหมายวรรคตอนในภาษาไทยและเครื่องหมายวรรคตอนอื่น ๆ ที่ควรทราบ
 
งานบุคคลและนิติการ
งานบุคคลและนิติการงานบุคคลและนิติการ
งานบุคคลและนิติการ
 
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานแบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1
แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1
แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 

Ähnlich wie การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยwisita42
 
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์Rangson Sangboonruang
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609CUPress
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยguestd57bc7
 

Ähnlich wie การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856 (20)

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
2 004
2 0042 004
2 004
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอนใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
 
0021
00210021
0021
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 

การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856