SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 2
                                     เอกสารที่เกียวของ
                                                 ่


        การทําโครงงานในครั้งนี้ ผูศึกษาตองการสํารวจเรื่องความเขาใจในเรื่องการอานคําของ
นักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม ผูศึกษาจึงไดศึกษาเอกสารตาง ๆ เพื่อเปนแนวทางใน
การศึกษา ดังนี้
        1. เอกสารเกียวของกับการอานคํา
                     ่
            1.1 หลักการอานคํา
            1.2 สาเหตุที่ทําใหอานคําผิดพลาด
        2. เอกสารเกียวของกับโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
                       ่
            2.1 ประวัติโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
            2.2 คติพจนของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
            2.3 คําขวัญ
            2.4 ตราโรงเรียน
            2.5 สีประจําโรงเรียน
            2.6 ปรัชญาของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
            2.7 ปณิธานของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
            2.8 วัตถุประสงคของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
            2.9 ภารกิจของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
            2.10 แผนของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม

เอกสารเกี่ยวของกับการการอานคํา
         หลักการอานคํา
         อาจารยปทุมวดี ศิริสวัสดิ์ (2548, หนา 9) ไดกลาวถึงหลักการอานคําไวดังนี้
         1. หลักการอานอักษรนํา
             ถาคําใดมีอักษรสูง หรือมีอักษรกลางนําอักษรเดี่ยว (อักษรต่ําที่ไมมีเสียงคูกับอักษรสูง
ไดแก ง ญ น ณ ม ย ร ล ฬ ว) ใหอานผันเสียงตามตัวนํา เชน
5

                     ฉลาด          อานวา       ฉะ – หลาด
                     ขนด           อานวา       ขะ – หนด
                     ปรัก          อานวา       ปะ – หรัก
                     ตงิด          อานวา       ตะ – หงิด
                     สมัย          อานวา       สะ – หมัย
           คําที่ไมอานแบบอักษรนําของไทย เชน
                     สมรรถภาพ อานวา            สะ – มัด – ถะ – พาบ
                     สมานคติ       อานวา       สะ – มา – นะ – คะ – ติ
                     สมานฉันท     อานวา       สะ – มา – นะ – ฉัน
                     สมาธิ         อานวา       สะ – มา – ทิ
        2. หลักการอานคําแผลง
           2.1 ถาคําเดิมเปนพยางคเดียวและมีพยัญชนะตนเปนตัวควบกล้ํา เมื่อแผลงเปนสอง
พยางค พยางคหลังมักผันหลังตามตัวนําเดิม เชน
               ตริ         แผลงเปน ดําริ          อานวา ดํา – หริ
               ตรัส        แผลงเปน ดํารัส         อานวา ดํา – หรัด
               ปราบ แผลงเปน บําราบ                อานวา บํา – หราบ
               กลด         แผลงเปน กระลด อานวา กระ – หลด
               กราบ แผลงเปน กําราบ                อานวา กํา – หราบ
               กลับ        แผลงเปน กระลับ อานวา กระ – หลับ
               กลบ         แผลงเปน กระลบ อานวา กระ – หลบ
               ถาคําเติมพยัญชนะตนเปนอักษรเดียว เมื่อแผลงแลวอานตามรูปที่ปรากฏ เชน
               เกิด        แผลงเปน กําเนิด        อานวา กํา – เนิด
               แจก         แผลงเปน จําแนก อานวา จํา – แนก
               เจียม       แผลงเปน จําเนียม อานวา จํา – เนียม
               เตียน แผลงเปน ตําเนียน อานวา ตํา – เนียน
               จาย        แผลงเปน จําหนาย อานวา จํา – หนาย
               แตง        แผลงเปน ตําแหนง อานวา ตํา – แหนง
6

         3. หลักการอานคําสมาส
             คําสมาส เปนคําจากภาษาบาลี – สันสกฤต เวลาอานตองอานมีเสียงสระตอเนื่อง เชน
                      ศิลปศาสตร         อานวา     สิน – ละ – ปะ – สาด
                      ประวัติศาสตร อานวา          ประ – หวัด – ติ – สาด
         นอกจากนี้ อาจารย น ราพรรณ พั น ธ จั น ทร ( http://ubon.obec.go.th/school/kharmpea/
title%20thai.htm, วันที่คนขอมูล 17 มีนาคม 2551) ยังไดกลาวถึงหลักการอานคําไววา
         1. หลักการอานคําไทย
                 มี 4 วิธี
             1.1 อานตามหลักภาษาไทย
             1.2 อานตามหลักภาษาอื่นที่ไทยรับมาใช
             1.3 อานตามความนิยม
             1.4 อานตามลักษณะบังคับของแตละคําประพันธ
         2. หลักการอานอักษรนํา
             อักษรนํา หมายถึง คําที่พยัญชนะ 2 ตัวรวมกันและอยูในสระเดียวกัน เมื่ออานจะออก
เสียงพยัญชนะทั้งสองตัวประสมกัน พยัญชนะตัวหนาจะออกเสียงสระอะ แตไมประรูปสระอะลง
ไป สวนพยัญชนะตัวหนาจะเปนอักษรสูง กลาง หรือต่ําก็ได เพราะพยัญชนะตัวหนาทําหนาที่บังคับ
เสียง มีหลักการอานตอไปนี้
             1) อักษรสูงนําอักษรต่ําเดี่ยว อักษรต่ําเดี่ยว มี 10 ตัว คือ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ เวลา
อานเราตองออกเสียงพยัญชนะตัวหลังนั้นใหเปนเสียงสูงตามเสียงของอักษรนําตัวนั้น ๆ ดวย เชน
                           สมาน          อานวา         สะ – หมาน
                           ผนวช          อานวา         ผะ – หนวด
                           สนอง          อานวา         สะ – หนอง
                           ผนวก          อานวา         ผะ – หนวก
                           ถนอม          อานวา         ถะ – หนอม
                           ผนึก          อานวา         ผะ – หนึก
                           จมูก          อานวา         จะ – หมูก
                           จรัส          อานวา         จะ – หรัด
                           ถวาย          อานวา         ถะ – หวาย
                           สงวน          อานวา         สะ – หงวน
                           ตลาด          อานวา         ตะ – หลาด
7

                          ผยอง           อานวา           ผะ – หยอง
              2) อักษรสูงนําอักษรต่ําคู อักษรต่ําคู มี 14 ตัว ค ต ฆ ช ฌ ซ ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ฮ เวลา
อานไมตองออกเสียงพยัญชนะตัวหลังใหสูงตามอักษรสูงเหลานั้น เชน
                          ผทม            อานวา           ผะ – ทม
                          สภาพ           อานวา           สะ – พาบ
                          ไผท            อานวา           ผะ – ไท
              3) อักษรกลางนําอักษรต่ําเดี่ยว เวลาอานตองออกเสียงพยัญชนะตัวหลังนั้น ตามเสียง
อักษรกลาง ที่นํา เชน
                          องุน          อานวา           อะ – หงุน
                          ตลาด           อานวา           ตะ – หลาด
                          ตลก            อานวา           ตะ – หลก
                          ตลิ่ง          อานวา           ตะ – หลิ่ง
                          กนก            อานวา           กะ – หนก
                          ตลอด           อานวา           ตะ – หลอด
                          อนาถ           อานวา           อะ – หนาด
                          กฤษณา          อานวา           กริด – สะ – หนา
              4) อักษร ห นําอักษรเดี่ยว เวลาอานไมตองออกสียงสระ อะ อยางอักษรนํา แตจะตอง
ออกเสียงสูงตามเสียงของ ห เชน หลัง หลง หนัก ไหน หนอ หมอ หมี หนา หวาน หวาม หยาม
หญิง ใหญ เหงา หมา ไหม หยัก หลา หลีก หรูหรา ฯลฯ
              5) อักษร อ นํา ย เวลาอานไมตองออกเสียง สระ อะ เปนอักษรนํา แตจะตองออกเสียง
ตัว ย นั้นใหเปนเสียงกลางตามเสียงตัว อ มี 4 คํา คือ อยา อยู อยาง อยาก
          3. หลักการอานอักษรควบ
              อักษรควบ คือ คําที่มีพยัญชนะ 2 ตัว มารวมกันในรูปสระเดียวกัน พยัญชนะที่นําหนา
ที่เปนอักษรควบ คือ ร ล ว มีหลักการอานดังนี้
              1) อานแบบอักษรควบแท จะอานออกเสียงพยัญชนะ 2 ตัวพรอม ๆ กัน และเปนเสียง
เดียวกันเชน เกรียงไกร โปรด เปรี้ยว ขรุขระ กวางขวาง ครั้งคราว กลับกลาย พราวแพรว ปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง กวางขวาง ควาย กวาด เปนตน
              2) อานแบบอักษรควบไมแท เวลาอานจะอานออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวหนาตัว
เดียว สวนพยัญชนะตัวหลังไมตองออกเสียง เชน
                          จริง           อานวา           จิง
8

                           ศรี          อานวา         สี
                           สรอย        อานวา         สอย
                           เศรา        อานวา         เสา
               3) อานแบบอักษรควบแทและควบไมแท คืออานออกเสียงพยัญชนะ ท ควบ ร เวลา
อานตองเปนไดทั้งอักษรควบแทและไมแท
                   3.1 อานแบบอักษรควบแท
                           นิทรา        อานวา         นิด – ทรา
                           จันทรา       อานวา         จัน – ทรา
                           จันทรคติ     อานวา         จัน – ทระ – คะ – ติ
                           อินทรา       อานวา         อิน – ทรา
                           เอ็มทรี      อานวา         เอ็ม – ทรี
                   3.2 อานแบบอักษรควบไมแท
                           ทรวด         อานวา         ซวด
                           ทรง          อานวา         ซง
                           ทราย         อานวา         ซาย
                           โทรม         อานวา         โซม
                           ทรุด         อานวา         ซุด
                           แทรก         อานวา         แซก
                           อินทรี       อานวา         อิน – ซี
                           ไทร          อานวา         ไซ
                           ทรวง         อานวา         ซวง
                           ทราบ         อานวา         ซาบ
                           พุทรา        อานวา         พุ ด – ซา
                           นนทรี        อานวา         นน – ซี
                           มัทรี         อานวา        มัด – ซี
                           อินทรีย     อานวา         อิน – ซี
          4. หลักการอานคําแผลง
               คําแผลงคือคําที่ดัดแปลงพยางคเดียวใหเปนคําสองพยางคแตความหมายยังคงเดิมทั้งนี้
ก็เพื่อใหเกิดความไพเราะสละสลวยทางภาษาและทําใหมีคําใชมากยิ่งขึ้น หลักการอานมีดังนี้
9

            1) คําแผลงที่เปนอักษรควบ คือคําแผลงคําเดิมที่มีพยัญชนะควบดวย ร ลประสมอยู
และเมื่อแผลงเปน 2 พยางคจะตองออกเสียงพยางคหลังใหมีเสียงระดับเดียวกับคําเดิมที่ไมไดแผลง
                     ตรวจ แผลงเปน ตํารวจ อานวา ตํา – หรวด
                     กราบ แผลงเปน กําราบ อานวา กํา – หราบ
                     เสร็จ     แผลงเปน สําเร็จ อานวา สํา – เหร็ด
                คํายกเวน
                     ปราศ แผลงเปน บําราศ อานวา บํา – ราด
            2) คําแผลงที่ไม ไดเ ปนอักษรควบ คือคําแผลงคําเดิมที่ไมมีพยัญชนะควบดวยตัว
ร ล ว ประสมอยูเมื่อแผลงเปน 2 พยางค ไมตองออกเสียงพยางคหลังใหมีเสียงระดับเทาคําเดิมกอน
แผลงใหม คือ ถาเขียนแบบไหนก็จะอานแบบที่เขียน เชน
                     แจก       แผลงเปน จําแนก อานวา จํา – แนก
                     อาจ       แผลงเปน อํานาจ อานวา อํา – นาด
                     จง        แผลงเปน จํานง อานวา จํา – นง
                     เกิด      แผลงเปน กําเนิด อานวา กํา – เหนิด
        5. หลักการอานคําพอง
            คําพอง หมายถึง คําที่มีรูปหรือเสียงเหมือนกันแตจะมีความหมายตางกันซึ่งเวลาอาน
ตองอาศัยการสังเกตพิจารณาเนื้อความของคําที่เกี่ยวของประกอบดวยคําพองแบงเปน 3 ชนิด คือ
            1) คําพองรูป คือ คําพองที่เขียนเหมือนกันแตออกเสียงตางกัน
                กรี อานวา กรี              เปนอักษรควบ แปลวา กระดูกแหลมที่หัวกุง
                       อานวา กะ – รี       เปนอักษรนํา แปลวา ชาง
                ครุ อานวา ครุ              เปนอักษรควบ แปลวา ภาชนะสานชนิดหนึ่ง
                       อานวา คะ – รุ       เปนอักษรนํา แปลวา ครู หนัก
                เพลา อานวา เพลา            เปนอักษรควบ แปลวา ตัก เขา แกนลอหมุน
                       อานวา เพ – ลา อานเรียงพยางค แปลวา เวลา
                เสลา อานวา สะ – เหลา เปนอักษรนํา แปลวา ตนไมชนิดหนึ่ง
                       อานวา เส – ลา อานเรียงพยางค แปลวา หิน
                ปรัก อานวา ปรัก            เปนอักษรควบ แปลวา เงิน
                       อานวา ปะ – หรัก เปนอักษรนํา แปลวา หัก
                แขม อานวา แขม                            แปลวา ชื่อตนไมลมลุกชนิดหนึ่ง
                       อานวา ขะ – แม                     แปลวา คนเขมร
10

            2) คําพองเสียง คือ คําที่เขียนตางกันแตจะออกเสียงเหมือนกัน
                        กาล               หมายถึง      เวลา
                        กาฬ               หมายถึง      ดํา
                        กานต             หมายถึง      นารัก
                        จัน               หมายถึง      ตนไมชนิดหนึ่ง
                        จันทน            หมายถึง      ไมหอม
                        จันทร            หมายถึง      ดวงเดือน
                        ศาสตร            หมายถึง      ระบบความรู
                        ศาสน             หมายถึง      คําสั่ง, คําสั่งสอน
                        สาด               หมายถึง      ซัด , ซัดนําไป
                        สารท              หมายถึง      เทศกาลทําบุญเดือนสิบ
                        ดาด               หมายถึง      ลาด ปู ดาดฟา
                        ดาษ               หมายถึง      มากมาย เกลื่อนกลาด ฝชนิดหนึ่ง
                        มาศ               หมายถึง      ทอง มาตร , เครื่องวัด
                        มาส               หมายถึง      เดือน
                        พรรณ              หมายถึง      ชนิด , สี
                        พันธุ            หมายถึง      เหลากอ , วงศวาน
                        พัน               หมายถึง      สิบรอย, ผูก, มัด
                        ภัณฑ             หมายถึง      สิ่งของ
            3) คําพองทั้งรูปและเสียง คือคําพองที่เขียนเหมือนกัน อานออกเสียงเหมือนกัน แตจะ
ตางกันในดานความหมาย ซึ่งขึ้นอยูที่ใจความของคําขางเคียง เชน
กัน หมายถึง โกนใหเสมอกัน
                        กัน               หมายถึง      ฉัน , ขาพเจา
                        กัน               หมายถึง      หาม , ปด
                        ขัน               หมายถึง      ทําใหตึง
                        ขัน               หมายถึง      นาหัวเราะ
                        ขัน               หมายถึง      ภาชนะใสตักน้ํา
11

          6. การอานคําบาลี - สันสกฤต
             การอานคําบาลีและสันสกฤตนั้นมีหลักเกณฑในการอานที่มีระเบียบแนนอน แตไทย
เราจะนําหลักเกณฑตาง ๆ ของบาลีสันสกฤตมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อใหเหมาะสมกับความนิยม
ของไทย ซึ่งมีหลักในการอานดังนี้
             1) การอานแบบเรียงพยางค คําบาลีสันสกฤตที่ไมเปนตัวสะกดนั้นจะตองมีสระกํากับ
อยูดวยเสมอ แตถาไมมีสระใดกํากับอยู จะตองอานออกเสียง อะ ทุกคํา เชน
                           นคร            อานวา     นะ – คะ – ระ
                           ภรต            อานวา     พะ – ระ – ตะ
                           วิชิร          อานวา     วะ – ชิ – ระ
                           คีตกวี         อานวา     คี – ตะ – กะ – วี
                           ตาลปตร        อานวา     ตา – ละ – ปด
             2) การอ า นแบบพยั ญ ชนะสั ง โยค พยั ญ ชนะสั ง โยค หมายถึ ง พยั ญ ชนะ 2 ตั ว
ประกอบรวมกันตัวหนึ่งจะเปนตัวสะกด อีกตัวหนึ่งจะเปนตัวตาม เชน คําวา สปต ตัว ป และ ต คือ
พยัญชนะสังโยค ป เปนตัวสะกด ต เปนตัวตาม การอานพยัญชนะสังโยคนี้ ถาพยัญชนะตัวใดเปน
ตัวสะกด ไมตองออกเสียง เชน
                           สมรส           อานวา     สม – รด
                           วิตถาร         อานวา     วิต – ถาน
                           สัปดาห        อานวา     สับ – ดา
                           อุตสาหกรรม อานวา         อุด – สา – หะ – กํา
             แตจะมีขอยกเวนหลายประการดังนี้
                 1. เมื่อพยัญชนะตัวหลังของตัวสะกดเปนพยัญชนะอัฒสระ ไดแก ย ร ล ว ซึ่งเมื่อ
เวลาอานออกเสียง อะ ที่ตัวสะกดไดครึ่งเสียง เชน
                           วิทยุ          อานวา     วิด – ทะ – ยุ
                           วิทยา          อานวา     วิด – ทะ – ยา
                           อุทยาน         อานวา     อุด – ทะ – ยาน
                           จัตวา          อานวา     จัด – ตะ –วา
                           วัชรา          อานวา     วัด – ชะ – รา
                           กัลยา          อานวา     กัน – ละ – ยา
                 2. เมื่ อ พยั ญ ชนะตั ว สะกดของพยางค ห น า เป น ล จะต อ งอ า นออกเสี ย ง ล มี
เสียงอะไดครึ่งหนึ่ง เชน
12

                          ศิลปะ           อานวา      สิน – ละ – ปะ
                          วัลภา           อานวา      วัน – ละ – พา
                          กลบท            อานวา      กน – ละ – บด
                 3. เมื่อพยัญชนะตัวสะกดของพยางคหนา เปนพยัญชะอุสุ หมายถึง พยัญชะที่มี
เสียงสอดแทรกออกทางไรฟน ซึ่งไดแกพยัญชนะ ศ ษ ส และมีพยัญชะตัวอื่นตามมาตองอานออก
เสียงสะ ติดตอกับพยางคหลัง เชน
                          โฆษณา           อานวา      โคด – สะ – นา
                          พัสดุ           อานวา      พัด – สะ – ดุ
                          รัศมี           อานวา      รัด – สะ – หมี
                          กฤษณา           อานวา      กริด – สะ – หนา
                 ยกเวน คํา 3 คํา ตอไปนี้ไมตองอานออกเสียงเปนพยัญชนะอุสุม คือ
                          อธิษฐาน         อานวา      อะ – ทิด – ถาน
                          สันนิษฐาน อานวา            สัน – นิด – ถาน
                          สวัสดี          อานวา      สะ – หวัด – ดี
            3) คําที่มาจากภาษาบาลี – สันสกฤต มีสระติดกับตัวสะกด เราไมตองออกเสียงเชน
                          เหตุ            อานวา      เหด
                          ญาติ            อานวา      ยาด
                          ชาติ            อานวา      ชาด
                          ประวัติ         อานวา      ประ – หวัด
                          สมบัติ          อานวา      สม – บัด
                          ปฏิวัติ         อานวา      ปะ – ติ – วัด
        7. หลักการอานตัว ฤ
            ตัว ฤ จะอานออกเสียง ริ ในภาษาสันสกฤต แตเมื่อไทยเรารับมาใชในภาษาไทยจะออก
เสียงในการอานได 3 วิธีดังนี้
            1) อานออกเสียง ริ เมื่อประสมกับพยัญชนะ 6 ตัว คือ ก ต ป ท ศ ส เชน ทฤษฎี ฤทธิ์
กฤษณาศฤงคาร ฯลฯ
            2) อานออกเสียง รึ เมื่อประสมพยัญชนะ 5 ตัว คือ ค น พ ม ห เชน หฤทัย คฤหาสน
พฤษภามฤคา ฯลฯ หรือเมื่อเปนพยัญชนะตนอยูหนาคําอื่น ๆ เชน ฤดู ฤดี ฤคเวท ฤทัย ฯลฯ
            3) อานออกเสียง เปน เรอ มีคําเดียว คือ ฤกษ
13

          8. การอานคําสมาส
              คําสมาส หมายถึง การนําคําภาษาสันสกฤต ตั้งแต 2 คําขึ้นไปประสมกัน เพื่อตองการ
ใหเปนคําเดียวกัน มีหลักการอานดังนี้
              1) ถาคําสมาสที่พยางคทายคําหนาไมมีรูปสระใดกํากับอยู ตองอานออกเสียงพยางค
ทายคําหนาเปนเสียง อะ ตอเนื่อง กันกับพยางคหลัง เชน
                           วรรณคดี       อานวา        วัน – นะ – คะ – ดี
                           จิตเวช        อานวา        จิด – ตะ – เวด
                           รัฐบาล        อานวา        รัด – ถะ – บาน
                           ราชการ        อานวา        ราด – ชะ – กาน
                           กิจกรรม       อานวา        กิด – จะ – กํา
                           ธรรมคุณ       อานวา        ทํา – มะ – คุน
              2) ถาพยางคทายของคําสมาสที่คําหนามีสระ อิ กํากับอยู ตองอานออกเสียงเปน อิ ให
ตอเนื่องกับคําหลัง เชน
                           ภูมิศาสตร อานวา           พูม – มิ – สาด
                           ฤทธิเดช       อานวา        ริด – ทิ – เดด
                           ยุติธรรม      อานวา        ยุด – ติ – ทํา
              3) ถาพยางคทายของคําสมาสที่คําหนาที่คําหนามีสระ อุ กํากับอยู ตองอานออกเสียง
เปนเสียง อุ ตอเนื่องกับพยางคหลัง เชน
                           เกตุมาลา      อานวา        เกด – มา – ลา
                           เมรุมาศ       อานวา        เม – รุ – มาด
                           พันธุกรรม อานวา            พัน – ทุ – กํา
              4) ถาตัวสะกดพยางคหนาของคําสมาสเปนอักษรควบ ตองออกเสียงเปน ตระ ทายคํา
ใหตอเนื่องจากคําหลัง เชน
                           เกษตรกรรม อานวา            กะ – เสด – ตระ – กํา
                           ฉัตรมงคล อานวา             ฉัด – ตระ – มง – คน
                           มิตรภาพ       อานวา        มิด – ตระ – พาบ
          9. การอานตามความนิยม
              การอานตามความนิยม คือ การอานที่ไมไดอานตามกฎเกณฑของภาษา คืออานตาม
ความนิยมมาตั้งแตบรรพบุรุษ และยอมรับกันทั่วไป ไมถือวาอานผิด การอานตามความนิยมมี 2
ประการ คือ อานออกเสียงไดสะดวกปากและฟงไพเราะ และยังแบงไดหลายกรณี ดังนี้
14

           1) อานเพื่อตองการใหเกิดความไพเราะ คําบางคําถาอานตามรูปการเขียนหรือกฎเกณ
ฑืของภาษาจะไมไพเราะ จึงตองอานออกเสียงแบบใหมใหไพเราะยิ่งขึ้น เชน
                         ดิลก          อานวา               ดิ – หลก
                         อาขยาน        อานวา               อา – ขะ –หยาน
                         ดําริ         อานวา               ดํา – หริ
           2) อานตามรูปแบบคําสมาสในภาษาบาลีและสันสกฤตคือไมใชคําสมาสแตอานตาม
แบบคําสมาสของบาลีสันสกฤต มาจนเคยชิน เพราะเห็นวาไพเราะ เชน
                         ผลไม         อานวา               ผน – ละ – ไม
                         กรมทา        อานวา               กรม – มะ – ทา
                         ชุกชี         อานวา               ชุก – กะ –ชี
                         พลเมือง       อานวา               พน – ละ – เมือง
           3) ไมอานตามรูปแบบของคําสมาสของบาลีและสันสกฤตคือเปนคําสมาสแตไมอาน
ตามแบบสมาสอาจแพราะไมไพเราะออกเสียงไมสะดวก เชน
                         ภาคทัณฑ อานวา                    พาก – ทัน
                         ชาตินิยม      อานวา               ชาด – นิ – ยม
                         สุภาพสตรี อานวา                   สุ – พาบ – สัด – ตรี
                         อุดมคติ       อานวา               อุ – ดม – คะ – ติ
           4) การอานชื่อจังหวัดของประเทศไทย ชื่อจังหวัดในประเทศไทย บางคําเปนคําสมาส
และอ า นตามวิ ธี ก ารของคํ า สมาส แต บ างคํ า ก็ ไ ม อ า น เพราะถื อ ว า เป น ชื่ อ เฉพาะ ไม คํ า นึ ง ถึ ง
หลักเกณฑ ใหจําหรืออาศัยความเคยชิน เชน
                4.1 อานแบบสมาส
                         อยุธยา        อานวา                อะ – ยุด – ทะ – ยา
                         ราชบุรี       อานวา               ราด – ชะ – บุ- รี
                         อุตรดิตถ     อานวา               อุด –ตะ – ระ – ดิด
                         นครราชสีมา อานวา                  นะ – คอน – ราด – ชะ – สี – มา
                4.2 ไมอานแบบสมาส
                         ชัยนาท        อานวา               ไช – นาด
                         อุดรธานี      อานวา               อุ – ดอน –ทา – นี
                         สมุทรสงคราม อานวา                 สะ – หมุด – สง – คราม
                         สุพรรณบุรี อานวา                  สุ – พัน – บุ – รี
15

         10. การอานคําประพันธ
             การอานคําประพันธนั้น ตองอานใหเปนไปตามหลักเกณฑของคําประพันธแตละชนิด
เพื่อรักษาคุณคาของคําประพันธเอาไว เชน จังหวะ คําสัมผัส คําครุ ลหุ คําเอก โท ความหมายและ
ทํานองในการอาน ดังนี้
             1) การอานเนนสัมผัสนอก เพื่อตองการใหเห็นความสัมพันธของคําประพันธชนิด
นั้น ๆ เชน
                  เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง นกบินเฉียงไปทั้งหมู
                  ตัวเดียวมาพลัดคู เหมือนพี่อยูผูเดียวดาย
             2) การอานเอื้อสัมผัสใน เพื่อตองการเพิ่มความไพเราะมากยิ่งขึ้น เชน
                  ขาขอเคารพอภิวาท ในพระบาทบพิตรอดิศร อานวา ขา – ขอ – เคา – รบ – อบ
– พิ –วาด – ใน – พระ – บาด – บอ – พิด – อะ – ดิด – สอน
                  พระสมุทรสุดลึกลน คณนา                          อานวา พระ – สะ – หมุด – สุด
– ลึก – ลน – คน – นะ – นา
                  ขอสมหวังตั้งประโยชนโพธิญาณ                     อานวา ขอ – สม – หวัง – ตั้ง
– ประ – โหยด –โพด – ทิ – ยาน
             3) การอานตามสัมผัส ของคําประพันธ เชน
                  ฝายนครกาญจน จัดขุนพลพวกดาน ผานไปเอาเหตุ
             4) การอานจํานวนคําครุ ลหุ หมายถึงการอานออกเสียงของฉันท เชน
                  ปางศิวะเจา เนาณพิมาน อานวา ปาง – สิ – ว ะ – เจา – เนา – นะ – พิ – มาน
                  บรรพตสานต โสภณไกร อานวา บัน – พะ – ตะ – สาน – โส – พะ – นะ – ไกร
         11. การอานคําที่มีตัวการันต
             1) คําที่ใชตัวการันตสวนมากมาจากภาษาบาลี สันสกฤต เพื่อรักษารูปศัพทนั้นไว เชน
                             ศิษย          อานวา        สิด
                             วิจารณ        อานวา        วิ – จาน
                             อุทาหรณ อานวา              อุ – ทา – หอน
                             อาวรณ         อานวา        อา – วอน
                             จันทรเพ็ญ อานวา            จัน – เพ็น
                             อาทิตย        อานวา        อา – ทิด
             2) คําที่ไมมีเครื่องหมาย ทัณฑฆาตกํากับอยูบน พยัญชนะตัวสุดทาย แตไมอานออก
เสียงตัวสุดทาย เชน จักร อานวา จัก
16

                           สมัคร       อานวา         สะ – หมัก
                           เพชร        อานวา         เพด
                           มิตร        อานวา         มิด
               3) คําที่มาจากภาษาอังกฤษ ที่ใสเครื่องหมายทัณฑฆาตกลางคํา เวลาอานไมตองออก
เสียงตัวนั้น
                             ฟลม           อานวา           ฟม
                             ชารป           อานวา           ชาบ
                             นิวยอรก        อานวา           นิว – ยอก
                             กอลฟ           อานวา           กอบ
          สาเหตุที่ทําใหอานคําผิดพลาด
          อ า จ า ร ย ป ว ง พ ร อ รุ ณ ทั ต ก ล า ว ถึ ง ส า เ ห ตุ ที่ ทํ า ใ ห อ า ร คํ า ผิ ด พ ล า ด ไ ว ว า
( http://www.karndaschool.com/index.aspx?ContentID=ContentID-070207105305641,วั น ที่ ค น
ขอมูล 17 มีนาคม 2551)
          ภาษาไทยนับวาเปนเอกลักษณที่แสดงถึงความเปนไทย และเปนมรดกทางวัฒนธรรมที่
ล้ําคาของชาติ ซึ่งคนไทยทุกคนควรชวยอนุรักษมรดกชิ้นนี้ไวใหอยูคูแผนดินไทยตลอดไป โดย
ศึกษาเรียนรูวิธีการอาน การเขียนที่ถูกตอง และใชภาษาไทยใหถูกตองสมกับที่เปนภาษาประจําชาติ
ของเรา
          ภาษาไทยมีทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน คําตาง ๆ ที่มีอยูในภาษาไทยมีทั้งที่เปน คําไทยแท
และคําที่มาจากภาษาตางประเทศ ปะปนอยูในภาษาไทย ทั้งภาษาบาลี สันสกฤต เขมร ซึ่ง
ทั้ง 3 ภาษานี้ มีความสําคัญตอหลักไวยากรณไทยอยางมาก นอกจากนี้ยังมีคําที่มาจากภาษาของชาติ
ตาง ๆ ในเอเชีย เชน จีน ญี่ปุน ชวา (อินโดนีเซีย) มาเลเซีย (มลายู) ฯลฯ และภาษาจากชาติตาง ๆ
ทางตะวันตกไดแก อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส ฯลฯ เขามาปะปนอยูในภาษาไทยมากมาย
          การอานคําที่มาจากภาษาตางประเทศ บางคําก็อานออกเสียงตามสําเนียงของคนไทย บางคํา
ก็อานออกเสียงตามสําเนียงเดิมในภาษานั้น ๆ บางคําก็อานตามหลักเกณฑทางไวยากรณ บางคําก็
อานตามความนิยม และบางคําก็อานทั้งตามหลักเกณฑ และตามความนิยม แตโดยทั่วไปควรยึด
วิธีการอานตามหลักเกณฑไวกอนเพื่อใหเกิดความเขาใจ และความถูกตองตรงกันในการอาน
          นอกจากนี้ยังมีขอสังเกตวา การที่เยาวชนไทยในปจจุบันออกเสียงคําตาง ๆ ในภาษาไทย
ไมถูกตอง ไมชัดเจน มีที่มาจากสาเหตุหลายประการ เชน
17

          1. เกิดจากการพูดตามกัน คือ เวลาเด็ก ๆ อยูในหมูเพื่อน ๆ ก็จะพูดจาในลักษณะเดียวกัน
คือ พู ด ไม ชั ด ก็ ไ ม ชั ด เหมื อ นกั น ไปหมด ถ า ใครคนใดคนหนึ่ ง พูด ชั ด เจนถูก ต อ ง ก็ จ ะถู ก เพื่ อ น
คอนขอดวา ดัดจริต และกลัววาจะเขากับเพื่อน ๆ ไมได และเพื่อน ๆ ไมยอมรับ
          2. เกิดจากการเลียนแบบ พูดตามดารานักรองที่ชื่นชอบ พยายามเลียนใหเหมือนทั้งคําพูด
การออกเสียงของดารา นักรองเหลานั้น ตามคานิยมที่คิดวาทันสมัย โกเก
          3. สมาชิกในครอบครัวอันประกอบดวย พอ แม พี่ นอง ถาพูดไมชัดออกเสียงไมถูก พูด
ไมมีตัวควบกล้ํา เด็ก ๆ ก็จะพูดไมชัด ออกเสียงไมถูกตามไปดวย ฉะนั้นถาทุกคนในครอบครัว พูด
ใหชัดเจน เด็กที่กําลังหัดพูดหรือเริ่มพูดเกง ก็จะพูดชัดเจนถูกตอง ตั้งแตยังเยาววัย
          4. การอานออกเสียง มีขอสังเกตวานักเรียนยุคปจจุบันมักชอบอานหนังสือในใจ ไมอาน
ออกเสียง ซึ่งการอานในใจ เปนการอานเพื่อทําความเขาใจจากเนื้อเรื่อง แตถาอานออกเสียงไปดวยก็
จะไดประโยชน 2 ตอควบคูกันไป คือ จะไดทั้งความเขาใจในเนื้อความ และไดฝกการออกเสียงให
ถูกตองชัดเจน
          5. สาเหตุสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การพูดภาษาไทยของแรงงานตางดาวที่เขามาทํามา
หากินในประเทศไทย และของชาวไทยภูเขาที่ลงมาติดตอคาขายกั บคนไทยที่อาศัยอยูในเมือง
บุคคลเหลานี้พูดภาษาไทยไมคอยชัดเจนนัก และมักจะ ไมสามารถออกเสียงตัวสะกดของคําตาง ๆ
ในภาษาไทยได แตก็สามารถสื่อความหมายเขาใจกันได นักแสดงตลกตาง ๆ ก็มักนําเอาลักษณะ
การพูดของชาวไทยภูเขาและแรงงานตางดาวเหลานี้ มาลอเลียนในการแสดงของรายการตาง ๆ
เด็ก ๆ ก็มักสนุกสนานกับการพูดออกเสียงในลักษณะดังกลาวตามไปดวย ซึ่งกอใหเกิดผลเสียตอ
การอาน พูด และเขียนภาษาไทย ของเยาวชนไทยไมนอย

เอกสารที่เกี่ยวของกับโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
         ประวัติโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
         โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนหนวยสงเสริมและบริหารงานดานวิชาการ อยูใน
ความควบคุมและอํานวยการสอน ของคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
         ป พ.ศ. 2511 เริ่มเปดดําเนินการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 สายสามัญ เมื่อวันที่
1 มิถุนายน 2511 มีนักเรียนทั้งหมดจํานวน 70 คน เปนชาย 33 คน เปนหญิง 37 คน ทําการสอนโดย
อาจารย และครูในคณะศึกษาศาสตร จํานวน 14 คน อาจารยพิเศษ 5 คน อาจารยชาวตางประเทศ
2 คน ในปแรกไดอาศัยวิทยาลัยที่ 1 อาคาร 1 (ว.1 อ.1) เปนอาคารเรียนชั่วคราว
18

        ป พ.ศ.2512 ไดรับงบประมาณในการกอสรางอาคารเรียน ขณะกอสรางไดยายสถานที่เรียน
เดิม มาใชอาคารคณะศึกษาศาสตรเปนการชั่วคราว ในปการศึกษานี้ มีนักเรียนทั้งหมด 158 คน เปน
ชาย 66 คน เปนหญิง 92 คน
        ป พ.ศ.2513 อาคารเรียนยังสรางไมเสร็จ จึงตองอาศัยเรียนที่อาคารเรียนคณะศึกษาศาสตร
ตอ โดยมีจํานวนนักเรียนเพิ่มเปนทั้งหมด 245 คน
        ป พ.ศ.2514 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดยายมาใชอาคารเรียนของโรงเรียน
และไดขยายชั้นเรียนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเปดชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 แยกเปน 3
แผนก ไดแก แผนกวิทยาศาสตร แผนกศิลป และแผนกทั่วไป แผนกละ 1 หอง
        ป พ.ศ.2515 เปนปแรกที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดเปดชั้นเรียนสายสามัญ
ครบตามหลักสูตร 5 ป คือ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
        ป พ.ศ.2521 ไดปรับหลักสูตร ตามกระทรวงศึกษาธิการ โดยใหเรียนในชั้น มัธยมศึกษา
ตอนตน 3 ป และเรียนในชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ป
        ป พ.ศ.2533 ปรับเปลี่ยนหลักสูตรการเรียนการสอนมาใชฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ซึ่ง
เปลี่ยนมาจากหลักสูตร มัธยมศึกษาตอนตน ป 2521 และหลักสูตร มัธยมศึกษาตอนปลาย ป 2524
โดยระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายนั้ น เป ด สอน 3 แผนการเรี ย น ได แ ก แผนวิ ท ย -คณิ ต
แผนศิลป-คณิต กข. และแผนศิลป-ภาษาฝรั่งเศส
        ป พ.ศ.2537 ไดเปดหองเรียนเพิ่มในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จาก 3 หองเรียน เปน 5 หองเรียน
จนกระทั่งปจจุบันทุกระดับชั้นมีจํานวนครบชั้นละ 5 หองเรียน
        ป พ.ศ.2543 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม มีนักเรียนรวมทั้งสิ้น 1,157 คน โดยเปน
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน 602 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 555 คน มีครู-
อาจารยประมาณ 90 คน
        ปการศึกษา 2549 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม มีนักเรียน รวมทั้งสิ้น 1,188 คน
โดยเปนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนจํานวน 621 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน
ปลายจํานวน 567 คน มีบุคลากร ประมาณ 88 คน
        คติพจนของโรงเรียน
        "วิชาเปนครูของมวลชน" (วิชชา นรานํ ครุ)
        คําขวัญ
        การเรียนดี กีฬาเดน เนนวินัย ใฝคุณธรรม
        ตราโรงเรียน
        ใชตราประจํามหาวิทยาลัยเชียงใหมคือ ชางชูคบเพลิง
19

         สีประจําโรงเรียน
         ใชสีประจํามหาวิทยาลัยเชียงใหมคือ สีมวง
         ปรัชญาของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
         การพัฒนาบุคคลใหเจริญงอกงามทั้งดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา สามารถอยู
รวมกันในสังคม อยางมีความสุข จะเกิดขึ้นไดโดยจัดการศึกษาระดับพื้นฐานที่มีประสิทธิภาพแก
เยาวชน เพื่อสงเสริมใหผูเรียนพัฒนาตนเอง เต็มตามศักยภาพ มีความรู ความสามารถ และทักษะ
เบื้องตน ในการประกอบอาชีพ และแสวงหาความรูอยางตอเนื่อง ไมมีที่สิ้นสุด ตลอดจนมีจิตสํานึก
ในการเปนสมาชิกที่ดีของสังคมไทย และสังคมโลก
         ปณิธานของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
         โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลั ยเชีย งใหม มี ความมุงมั่นในการใหการศึกษาขั้น พื้นฐานแก
เยาวชน โดยผานกระบวนการ เรียนรูที่มีผูเรียนเปนศูนยกลาง ใหเปนผูที่มีความรูคูคุณธรรม โดยใช
ความรูที่มีอยู แสวงหาองคความรูใหมไดอยาง เหมาะสม และเปนที่ปฏิบัติการทดลอง คนควา
ทางดานศึกษาศาสตร
         วัตถุประสงคของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
         1. เพื่อสงเสริมการเรียนรูและพัฒนาการทุกดานแกเยาวชน
         2. เพื่อเปนแหลงสาธิตแกบุคคลทั่วไปในดานศึกษาศาสตร
         3. เพื่อเปนแหลงแสวงหาองคความรูใหม และเปนที่ปฏิบัติการทางดานศึกษาศาสตร
         4. เพื่อสงเสริมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอมของสังคมโดยรวม
         5. เพื่อสนับสนุนการผลิตบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตทางการศึกษา
         ภารกิจของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
         1. เปนสถานที่สงเสริมการเรียนรูและพัฒนาการทุกดานแกเยาวชน
         2. เปนสถานที่สนับสนุนการคนควาทดลองและปฏิบัติการดานศึกษาศาสตร
         3. เปนสถานที่สาธิตแกบุคคลทั่วไปในศาสตรของศึกษาศาสตร
         แผนของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม
         โรงเรียนจัดแผนการดําเนินงานใหสอดคลองกับนโยบายของคณะศึกษาศาสตรและจัดการ
เรียนการสอนใหสอดคลอง กับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555wongsrida
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometrywongsrida
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดKroo R WaraSri
 
9789740330257
97897403302579789740330257
9789740330257CUPress
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
9789740329824
97897403298249789740329824
9789740329824CUPress
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทยKru Poy
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ252413
 
แบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดแบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดbawtho
 
อักษรนำ
อักษรนำอักษรนำ
อักษรนำAunop Nop
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์pui003
 
คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน
คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถานคู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน
คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถานNamchai Chewawiwat
 

Was ist angesagt? (15)

Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometry
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
9789740330257
97897403302579789740330257
9789740330257
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
9789740329824
97897403298249789740329824
9789740329824
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทย
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
 
แบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดแบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวด
 
ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
อักษรนำ
อักษรนำอักษรนำ
อักษรนำ
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์
 
คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน
คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถานคู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน
คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน
 

Andere mochten auch

Andere mochten auch (7)

Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติ
 
Chap5 3
Chap5 3Chap5 3
Chap5 3
 
1276933222 morpheme
1276933222 morpheme1276933222 morpheme
1276933222 morpheme
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 

Ähnlich wie บทที่ 2

ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์phornphan1111
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยkruthai40
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นkruthai40
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 

Ähnlich wie บทที่ 2 (20)

ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลีประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

Mehr von maerimwittayakom school

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
จัดทำและนำเสนอ
จัดทำและนำเสนอจัดทำและนำเสนอ
จัดทำและนำเสนอmaerimwittayakom school
 
โครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรโครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรmaerimwittayakom school
 
นำสู่การปฏิบัติ2
นำสู่การปฏิบัติ2นำสู่การปฏิบัติ2
นำสู่การปฏิบัติ2maerimwittayakom school
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์maerimwittayakom school
 
โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์maerimwittayakom school
 
โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์maerimwittayakom school
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานmaerimwittayakom school
 
ความงามกับภาษา
ความงามกับภาษาความงามกับภาษา
ความงามกับภาษาmaerimwittayakom school
 

Mehr von maerimwittayakom school (20)

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5 บทที่ 5
บทที่ 5
 
จัดทำและนำเสนอ
จัดทำและนำเสนอจัดทำและนำเสนอ
จัดทำและนำเสนอ
 
โครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรโครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไร
 
นำสู่การปฏิบัติ2
นำสู่การปฏิบัติ2นำสู่การปฏิบัติ2
นำสู่การปฏิบัติ2
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3 บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1 แก้
บทที่ 1 แก้บทที่ 1 แก้
บทที่ 1 แก้
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
 
เสียงของคำ
เสียงของคำเสียงของคำ
เสียงของคำ
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์
 
โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์โครงงานเชิงประพันธ์
โครงงานเชิงประพันธ์
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงาน
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โวหาร
โวหารโวหาร
โวหาร
 
ความงามกับภาษา
ความงามกับภาษาความงามกับภาษา
ความงามกับภาษา
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกียวของ ่ การทําโครงงานในครั้งนี้ ผูศึกษาตองการสํารวจเรื่องความเขาใจในเรื่องการอานคําของ นักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม ผูศึกษาจึงไดศึกษาเอกสารตาง ๆ เพื่อเปนแนวทางใน การศึกษา ดังนี้ 1. เอกสารเกียวของกับการอานคํา ่ 1.1 หลักการอานคํา 1.2 สาเหตุที่ทําใหอานคําผิดพลาด 2. เอกสารเกียวของกับโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ 2.1 ประวัติโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม 2.2 คติพจนของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม 2.3 คําขวัญ 2.4 ตราโรงเรียน 2.5 สีประจําโรงเรียน 2.6 ปรัชญาของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม 2.7 ปณิธานของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม 2.8 วัตถุประสงคของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม 2.9 ภารกิจของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม 2.10 แผนของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม เอกสารเกี่ยวของกับการการอานคํา หลักการอานคํา อาจารยปทุมวดี ศิริสวัสดิ์ (2548, หนา 9) ไดกลาวถึงหลักการอานคําไวดังนี้ 1. หลักการอานอักษรนํา ถาคําใดมีอักษรสูง หรือมีอักษรกลางนําอักษรเดี่ยว (อักษรต่ําที่ไมมีเสียงคูกับอักษรสูง ไดแก ง ญ น ณ ม ย ร ล ฬ ว) ใหอานผันเสียงตามตัวนํา เชน
  • 2. 5 ฉลาด อานวา ฉะ – หลาด ขนด อานวา ขะ – หนด ปรัก อานวา ปะ – หรัก ตงิด อานวา ตะ – หงิด สมัย อานวา สะ – หมัย คําที่ไมอานแบบอักษรนําของไทย เชน สมรรถภาพ อานวา สะ – มัด – ถะ – พาบ สมานคติ อานวา สะ – มา – นะ – คะ – ติ สมานฉันท อานวา สะ – มา – นะ – ฉัน สมาธิ อานวา สะ – มา – ทิ 2. หลักการอานคําแผลง 2.1 ถาคําเดิมเปนพยางคเดียวและมีพยัญชนะตนเปนตัวควบกล้ํา เมื่อแผลงเปนสอง พยางค พยางคหลังมักผันหลังตามตัวนําเดิม เชน ตริ แผลงเปน ดําริ อานวา ดํา – หริ ตรัส แผลงเปน ดํารัส อานวา ดํา – หรัด ปราบ แผลงเปน บําราบ อานวา บํา – หราบ กลด แผลงเปน กระลด อานวา กระ – หลด กราบ แผลงเปน กําราบ อานวา กํา – หราบ กลับ แผลงเปน กระลับ อานวา กระ – หลับ กลบ แผลงเปน กระลบ อานวา กระ – หลบ ถาคําเติมพยัญชนะตนเปนอักษรเดียว เมื่อแผลงแลวอานตามรูปที่ปรากฏ เชน เกิด แผลงเปน กําเนิด อานวา กํา – เนิด แจก แผลงเปน จําแนก อานวา จํา – แนก เจียม แผลงเปน จําเนียม อานวา จํา – เนียม เตียน แผลงเปน ตําเนียน อานวา ตํา – เนียน จาย แผลงเปน จําหนาย อานวา จํา – หนาย แตง แผลงเปน ตําแหนง อานวา ตํา – แหนง
  • 3. 6 3. หลักการอานคําสมาส คําสมาส เปนคําจากภาษาบาลี – สันสกฤต เวลาอานตองอานมีเสียงสระตอเนื่อง เชน ศิลปศาสตร อานวา สิน – ละ – ปะ – สาด ประวัติศาสตร อานวา ประ – หวัด – ติ – สาด นอกจากนี้ อาจารย น ราพรรณ พั น ธ จั น ทร ( http://ubon.obec.go.th/school/kharmpea/ title%20thai.htm, วันที่คนขอมูล 17 มีนาคม 2551) ยังไดกลาวถึงหลักการอานคําไววา 1. หลักการอานคําไทย มี 4 วิธี 1.1 อานตามหลักภาษาไทย 1.2 อานตามหลักภาษาอื่นที่ไทยรับมาใช 1.3 อานตามความนิยม 1.4 อานตามลักษณะบังคับของแตละคําประพันธ 2. หลักการอานอักษรนํา อักษรนํา หมายถึง คําที่พยัญชนะ 2 ตัวรวมกันและอยูในสระเดียวกัน เมื่ออานจะออก เสียงพยัญชนะทั้งสองตัวประสมกัน พยัญชนะตัวหนาจะออกเสียงสระอะ แตไมประรูปสระอะลง ไป สวนพยัญชนะตัวหนาจะเปนอักษรสูง กลาง หรือต่ําก็ได เพราะพยัญชนะตัวหนาทําหนาที่บังคับ เสียง มีหลักการอานตอไปนี้ 1) อักษรสูงนําอักษรต่ําเดี่ยว อักษรต่ําเดี่ยว มี 10 ตัว คือ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ เวลา อานเราตองออกเสียงพยัญชนะตัวหลังนั้นใหเปนเสียงสูงตามเสียงของอักษรนําตัวนั้น ๆ ดวย เชน สมาน อานวา สะ – หมาน ผนวช อานวา ผะ – หนวด สนอง อานวา สะ – หนอง ผนวก อานวา ผะ – หนวก ถนอม อานวา ถะ – หนอม ผนึก อานวา ผะ – หนึก จมูก อานวา จะ – หมูก จรัส อานวา จะ – หรัด ถวาย อานวา ถะ – หวาย สงวน อานวา สะ – หงวน ตลาด อานวา ตะ – หลาด
  • 4. 7 ผยอง อานวา ผะ – หยอง 2) อักษรสูงนําอักษรต่ําคู อักษรต่ําคู มี 14 ตัว ค ต ฆ ช ฌ ซ ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ฮ เวลา อานไมตองออกเสียงพยัญชนะตัวหลังใหสูงตามอักษรสูงเหลานั้น เชน ผทม อานวา ผะ – ทม สภาพ อานวา สะ – พาบ ไผท อานวา ผะ – ไท 3) อักษรกลางนําอักษรต่ําเดี่ยว เวลาอานตองออกเสียงพยัญชนะตัวหลังนั้น ตามเสียง อักษรกลาง ที่นํา เชน องุน อานวา อะ – หงุน ตลาด อานวา ตะ – หลาด ตลก อานวา ตะ – หลก ตลิ่ง อานวา ตะ – หลิ่ง กนก อานวา กะ – หนก ตลอด อานวา ตะ – หลอด อนาถ อานวา อะ – หนาด กฤษณา อานวา กริด – สะ – หนา 4) อักษร ห นําอักษรเดี่ยว เวลาอานไมตองออกสียงสระ อะ อยางอักษรนํา แตจะตอง ออกเสียงสูงตามเสียงของ ห เชน หลัง หลง หนัก ไหน หนอ หมอ หมี หนา หวาน หวาม หยาม หญิง ใหญ เหงา หมา ไหม หยัก หลา หลีก หรูหรา ฯลฯ 5) อักษร อ นํา ย เวลาอานไมตองออกเสียง สระ อะ เปนอักษรนํา แตจะตองออกเสียง ตัว ย นั้นใหเปนเสียงกลางตามเสียงตัว อ มี 4 คํา คือ อยา อยู อยาง อยาก 3. หลักการอานอักษรควบ อักษรควบ คือ คําที่มีพยัญชนะ 2 ตัว มารวมกันในรูปสระเดียวกัน พยัญชนะที่นําหนา ที่เปนอักษรควบ คือ ร ล ว มีหลักการอานดังนี้ 1) อานแบบอักษรควบแท จะอานออกเสียงพยัญชนะ 2 ตัวพรอม ๆ กัน และเปนเสียง เดียวกันเชน เกรียงไกร โปรด เปรี้ยว ขรุขระ กวางขวาง ครั้งคราว กลับกลาย พราวแพรว ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง กวางขวาง ควาย กวาด เปนตน 2) อานแบบอักษรควบไมแท เวลาอานจะอานออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวหนาตัว เดียว สวนพยัญชนะตัวหลังไมตองออกเสียง เชน จริง อานวา จิง
  • 5. 8 ศรี อานวา สี สรอย อานวา สอย เศรา อานวา เสา 3) อานแบบอักษรควบแทและควบไมแท คืออานออกเสียงพยัญชนะ ท ควบ ร เวลา อานตองเปนไดทั้งอักษรควบแทและไมแท 3.1 อานแบบอักษรควบแท นิทรา อานวา นิด – ทรา จันทรา อานวา จัน – ทรา จันทรคติ อานวา จัน – ทระ – คะ – ติ อินทรา อานวา อิน – ทรา เอ็มทรี อานวา เอ็ม – ทรี 3.2 อานแบบอักษรควบไมแท ทรวด อานวา ซวด ทรง อานวา ซง ทราย อานวา ซาย โทรม อานวา โซม ทรุด อานวา ซุด แทรก อานวา แซก อินทรี อานวา อิน – ซี ไทร อานวา ไซ ทรวง อานวา ซวง ทราบ อานวา ซาบ พุทรา อานวา พุ ด – ซา นนทรี อานวา นน – ซี มัทรี อานวา มัด – ซี อินทรีย อานวา อิน – ซี 4. หลักการอานคําแผลง คําแผลงคือคําที่ดัดแปลงพยางคเดียวใหเปนคําสองพยางคแตความหมายยังคงเดิมทั้งนี้ ก็เพื่อใหเกิดความไพเราะสละสลวยทางภาษาและทําใหมีคําใชมากยิ่งขึ้น หลักการอานมีดังนี้
  • 6. 9 1) คําแผลงที่เปนอักษรควบ คือคําแผลงคําเดิมที่มีพยัญชนะควบดวย ร ลประสมอยู และเมื่อแผลงเปน 2 พยางคจะตองออกเสียงพยางคหลังใหมีเสียงระดับเดียวกับคําเดิมที่ไมไดแผลง ตรวจ แผลงเปน ตํารวจ อานวา ตํา – หรวด กราบ แผลงเปน กําราบ อานวา กํา – หราบ เสร็จ แผลงเปน สําเร็จ อานวา สํา – เหร็ด คํายกเวน ปราศ แผลงเปน บําราศ อานวา บํา – ราด 2) คําแผลงที่ไม ไดเ ปนอักษรควบ คือคําแผลงคําเดิมที่ไมมีพยัญชนะควบดวยตัว ร ล ว ประสมอยูเมื่อแผลงเปน 2 พยางค ไมตองออกเสียงพยางคหลังใหมีเสียงระดับเทาคําเดิมกอน แผลงใหม คือ ถาเขียนแบบไหนก็จะอานแบบที่เขียน เชน แจก แผลงเปน จําแนก อานวา จํา – แนก อาจ แผลงเปน อํานาจ อานวา อํา – นาด จง แผลงเปน จํานง อานวา จํา – นง เกิด แผลงเปน กําเนิด อานวา กํา – เหนิด 5. หลักการอานคําพอง คําพอง หมายถึง คําที่มีรูปหรือเสียงเหมือนกันแตจะมีความหมายตางกันซึ่งเวลาอาน ตองอาศัยการสังเกตพิจารณาเนื้อความของคําที่เกี่ยวของประกอบดวยคําพองแบงเปน 3 ชนิด คือ 1) คําพองรูป คือ คําพองที่เขียนเหมือนกันแตออกเสียงตางกัน กรี อานวา กรี เปนอักษรควบ แปลวา กระดูกแหลมที่หัวกุง อานวา กะ – รี เปนอักษรนํา แปลวา ชาง ครุ อานวา ครุ เปนอักษรควบ แปลวา ภาชนะสานชนิดหนึ่ง อานวา คะ – รุ เปนอักษรนํา แปลวา ครู หนัก เพลา อานวา เพลา เปนอักษรควบ แปลวา ตัก เขา แกนลอหมุน อานวา เพ – ลา อานเรียงพยางค แปลวา เวลา เสลา อานวา สะ – เหลา เปนอักษรนํา แปลวา ตนไมชนิดหนึ่ง อานวา เส – ลา อานเรียงพยางค แปลวา หิน ปรัก อานวา ปรัก เปนอักษรควบ แปลวา เงิน อานวา ปะ – หรัก เปนอักษรนํา แปลวา หัก แขม อานวา แขม แปลวา ชื่อตนไมลมลุกชนิดหนึ่ง อานวา ขะ – แม แปลวา คนเขมร
  • 7. 10 2) คําพองเสียง คือ คําที่เขียนตางกันแตจะออกเสียงเหมือนกัน กาล หมายถึง เวลา กาฬ หมายถึง ดํา กานต หมายถึง นารัก จัน หมายถึง ตนไมชนิดหนึ่ง จันทน หมายถึง ไมหอม จันทร หมายถึง ดวงเดือน ศาสตร หมายถึง ระบบความรู ศาสน หมายถึง คําสั่ง, คําสั่งสอน สาด หมายถึง ซัด , ซัดนําไป สารท หมายถึง เทศกาลทําบุญเดือนสิบ ดาด หมายถึง ลาด ปู ดาดฟา ดาษ หมายถึง มากมาย เกลื่อนกลาด ฝชนิดหนึ่ง มาศ หมายถึง ทอง มาตร , เครื่องวัด มาส หมายถึง เดือน พรรณ หมายถึง ชนิด , สี พันธุ หมายถึง เหลากอ , วงศวาน พัน หมายถึง สิบรอย, ผูก, มัด ภัณฑ หมายถึง สิ่งของ 3) คําพองทั้งรูปและเสียง คือคําพองที่เขียนเหมือนกัน อานออกเสียงเหมือนกัน แตจะ ตางกันในดานความหมาย ซึ่งขึ้นอยูที่ใจความของคําขางเคียง เชน กัน หมายถึง โกนใหเสมอกัน กัน หมายถึง ฉัน , ขาพเจา กัน หมายถึง หาม , ปด ขัน หมายถึง ทําใหตึง ขัน หมายถึง นาหัวเราะ ขัน หมายถึง ภาชนะใสตักน้ํา
  • 8. 11 6. การอานคําบาลี - สันสกฤต การอานคําบาลีและสันสกฤตนั้นมีหลักเกณฑในการอานที่มีระเบียบแนนอน แตไทย เราจะนําหลักเกณฑตาง ๆ ของบาลีสันสกฤตมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อใหเหมาะสมกับความนิยม ของไทย ซึ่งมีหลักในการอานดังนี้ 1) การอานแบบเรียงพยางค คําบาลีสันสกฤตที่ไมเปนตัวสะกดนั้นจะตองมีสระกํากับ อยูดวยเสมอ แตถาไมมีสระใดกํากับอยู จะตองอานออกเสียง อะ ทุกคํา เชน นคร อานวา นะ – คะ – ระ ภรต อานวา พะ – ระ – ตะ วิชิร อานวา วะ – ชิ – ระ คีตกวี อานวา คี – ตะ – กะ – วี ตาลปตร อานวา ตา – ละ – ปด 2) การอ า นแบบพยั ญ ชนะสั ง โยค พยั ญ ชนะสั ง โยค หมายถึ ง พยั ญ ชนะ 2 ตั ว ประกอบรวมกันตัวหนึ่งจะเปนตัวสะกด อีกตัวหนึ่งจะเปนตัวตาม เชน คําวา สปต ตัว ป และ ต คือ พยัญชนะสังโยค ป เปนตัวสะกด ต เปนตัวตาม การอานพยัญชนะสังโยคนี้ ถาพยัญชนะตัวใดเปน ตัวสะกด ไมตองออกเสียง เชน สมรส อานวา สม – รด วิตถาร อานวา วิต – ถาน สัปดาห อานวา สับ – ดา อุตสาหกรรม อานวา อุด – สา – หะ – กํา แตจะมีขอยกเวนหลายประการดังนี้ 1. เมื่อพยัญชนะตัวหลังของตัวสะกดเปนพยัญชนะอัฒสระ ไดแก ย ร ล ว ซึ่งเมื่อ เวลาอานออกเสียง อะ ที่ตัวสะกดไดครึ่งเสียง เชน วิทยุ อานวา วิด – ทะ – ยุ วิทยา อานวา วิด – ทะ – ยา อุทยาน อานวา อุด – ทะ – ยาน จัตวา อานวา จัด – ตะ –วา วัชรา อานวา วัด – ชะ – รา กัลยา อานวา กัน – ละ – ยา 2. เมื่ อ พยั ญ ชนะตั ว สะกดของพยางค ห น า เป น ล จะต อ งอ า นออกเสี ย ง ล มี เสียงอะไดครึ่งหนึ่ง เชน
  • 9. 12 ศิลปะ อานวา สิน – ละ – ปะ วัลภา อานวา วัน – ละ – พา กลบท อานวา กน – ละ – บด 3. เมื่อพยัญชนะตัวสะกดของพยางคหนา เปนพยัญชะอุสุ หมายถึง พยัญชะที่มี เสียงสอดแทรกออกทางไรฟน ซึ่งไดแกพยัญชนะ ศ ษ ส และมีพยัญชะตัวอื่นตามมาตองอานออก เสียงสะ ติดตอกับพยางคหลัง เชน โฆษณา อานวา โคด – สะ – นา พัสดุ อานวา พัด – สะ – ดุ รัศมี อานวา รัด – สะ – หมี กฤษณา อานวา กริด – สะ – หนา ยกเวน คํา 3 คํา ตอไปนี้ไมตองอานออกเสียงเปนพยัญชนะอุสุม คือ อธิษฐาน อานวา อะ – ทิด – ถาน สันนิษฐาน อานวา สัน – นิด – ถาน สวัสดี อานวา สะ – หวัด – ดี 3) คําที่มาจากภาษาบาลี – สันสกฤต มีสระติดกับตัวสะกด เราไมตองออกเสียงเชน เหตุ อานวา เหด ญาติ อานวา ยาด ชาติ อานวา ชาด ประวัติ อานวา ประ – หวัด สมบัติ อานวา สม – บัด ปฏิวัติ อานวา ปะ – ติ – วัด 7. หลักการอานตัว ฤ ตัว ฤ จะอานออกเสียง ริ ในภาษาสันสกฤต แตเมื่อไทยเรารับมาใชในภาษาไทยจะออก เสียงในการอานได 3 วิธีดังนี้ 1) อานออกเสียง ริ เมื่อประสมกับพยัญชนะ 6 ตัว คือ ก ต ป ท ศ ส เชน ทฤษฎี ฤทธิ์ กฤษณาศฤงคาร ฯลฯ 2) อานออกเสียง รึ เมื่อประสมพยัญชนะ 5 ตัว คือ ค น พ ม ห เชน หฤทัย คฤหาสน พฤษภามฤคา ฯลฯ หรือเมื่อเปนพยัญชนะตนอยูหนาคําอื่น ๆ เชน ฤดู ฤดี ฤคเวท ฤทัย ฯลฯ 3) อานออกเสียง เปน เรอ มีคําเดียว คือ ฤกษ
  • 10. 13 8. การอานคําสมาส คําสมาส หมายถึง การนําคําภาษาสันสกฤต ตั้งแต 2 คําขึ้นไปประสมกัน เพื่อตองการ ใหเปนคําเดียวกัน มีหลักการอานดังนี้ 1) ถาคําสมาสที่พยางคทายคําหนาไมมีรูปสระใดกํากับอยู ตองอานออกเสียงพยางค ทายคําหนาเปนเสียง อะ ตอเนื่อง กันกับพยางคหลัง เชน วรรณคดี อานวา วัน – นะ – คะ – ดี จิตเวช อานวา จิด – ตะ – เวด รัฐบาล อานวา รัด – ถะ – บาน ราชการ อานวา ราด – ชะ – กาน กิจกรรม อานวา กิด – จะ – กํา ธรรมคุณ อานวา ทํา – มะ – คุน 2) ถาพยางคทายของคําสมาสที่คําหนามีสระ อิ กํากับอยู ตองอานออกเสียงเปน อิ ให ตอเนื่องกับคําหลัง เชน ภูมิศาสตร อานวา พูม – มิ – สาด ฤทธิเดช อานวา ริด – ทิ – เดด ยุติธรรม อานวา ยุด – ติ – ทํา 3) ถาพยางคทายของคําสมาสที่คําหนาที่คําหนามีสระ อุ กํากับอยู ตองอานออกเสียง เปนเสียง อุ ตอเนื่องกับพยางคหลัง เชน เกตุมาลา อานวา เกด – มา – ลา เมรุมาศ อานวา เม – รุ – มาด พันธุกรรม อานวา พัน – ทุ – กํา 4) ถาตัวสะกดพยางคหนาของคําสมาสเปนอักษรควบ ตองออกเสียงเปน ตระ ทายคํา ใหตอเนื่องจากคําหลัง เชน เกษตรกรรม อานวา กะ – เสด – ตระ – กํา ฉัตรมงคล อานวา ฉัด – ตระ – มง – คน มิตรภาพ อานวา มิด – ตระ – พาบ 9. การอานตามความนิยม การอานตามความนิยม คือ การอานที่ไมไดอานตามกฎเกณฑของภาษา คืออานตาม ความนิยมมาตั้งแตบรรพบุรุษ และยอมรับกันทั่วไป ไมถือวาอานผิด การอานตามความนิยมมี 2 ประการ คือ อานออกเสียงไดสะดวกปากและฟงไพเราะ และยังแบงไดหลายกรณี ดังนี้
  • 11. 14 1) อานเพื่อตองการใหเกิดความไพเราะ คําบางคําถาอานตามรูปการเขียนหรือกฎเกณ ฑืของภาษาจะไมไพเราะ จึงตองอานออกเสียงแบบใหมใหไพเราะยิ่งขึ้น เชน ดิลก อานวา ดิ – หลก อาขยาน อานวา อา – ขะ –หยาน ดําริ อานวา ดํา – หริ 2) อานตามรูปแบบคําสมาสในภาษาบาลีและสันสกฤตคือไมใชคําสมาสแตอานตาม แบบคําสมาสของบาลีสันสกฤต มาจนเคยชิน เพราะเห็นวาไพเราะ เชน ผลไม อานวา ผน – ละ – ไม กรมทา อานวา กรม – มะ – ทา ชุกชี อานวา ชุก – กะ –ชี พลเมือง อานวา พน – ละ – เมือง 3) ไมอานตามรูปแบบของคําสมาสของบาลีและสันสกฤตคือเปนคําสมาสแตไมอาน ตามแบบสมาสอาจแพราะไมไพเราะออกเสียงไมสะดวก เชน ภาคทัณฑ อานวา พาก – ทัน ชาตินิยม อานวา ชาด – นิ – ยม สุภาพสตรี อานวา สุ – พาบ – สัด – ตรี อุดมคติ อานวา อุ – ดม – คะ – ติ 4) การอานชื่อจังหวัดของประเทศไทย ชื่อจังหวัดในประเทศไทย บางคําเปนคําสมาส และอ า นตามวิ ธี ก ารของคํ า สมาส แต บ างคํ า ก็ ไ ม อ า น เพราะถื อ ว า เป น ชื่ อ เฉพาะ ไม คํ า นึ ง ถึ ง หลักเกณฑ ใหจําหรืออาศัยความเคยชิน เชน 4.1 อานแบบสมาส อยุธยา อานวา อะ – ยุด – ทะ – ยา ราชบุรี อานวา ราด – ชะ – บุ- รี อุตรดิตถ อานวา อุด –ตะ – ระ – ดิด นครราชสีมา อานวา นะ – คอน – ราด – ชะ – สี – มา 4.2 ไมอานแบบสมาส ชัยนาท อานวา ไช – นาด อุดรธานี อานวา อุ – ดอน –ทา – นี สมุทรสงคราม อานวา สะ – หมุด – สง – คราม สุพรรณบุรี อานวา สุ – พัน – บุ – รี
  • 12. 15 10. การอานคําประพันธ การอานคําประพันธนั้น ตองอานใหเปนไปตามหลักเกณฑของคําประพันธแตละชนิด เพื่อรักษาคุณคาของคําประพันธเอาไว เชน จังหวะ คําสัมผัส คําครุ ลหุ คําเอก โท ความหมายและ ทํานองในการอาน ดังนี้ 1) การอานเนนสัมผัสนอก เพื่อตองการใหเห็นความสัมพันธของคําประพันธชนิด นั้น ๆ เชน เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง นกบินเฉียงไปทั้งหมู ตัวเดียวมาพลัดคู เหมือนพี่อยูผูเดียวดาย 2) การอานเอื้อสัมผัสใน เพื่อตองการเพิ่มความไพเราะมากยิ่งขึ้น เชน ขาขอเคารพอภิวาท ในพระบาทบพิตรอดิศร อานวา ขา – ขอ – เคา – รบ – อบ – พิ –วาด – ใน – พระ – บาด – บอ – พิด – อะ – ดิด – สอน พระสมุทรสุดลึกลน คณนา อานวา พระ – สะ – หมุด – สุด – ลึก – ลน – คน – นะ – นา ขอสมหวังตั้งประโยชนโพธิญาณ อานวา ขอ – สม – หวัง – ตั้ง – ประ – โหยด –โพด – ทิ – ยาน 3) การอานตามสัมผัส ของคําประพันธ เชน ฝายนครกาญจน จัดขุนพลพวกดาน ผานไปเอาเหตุ 4) การอานจํานวนคําครุ ลหุ หมายถึงการอานออกเสียงของฉันท เชน ปางศิวะเจา เนาณพิมาน อานวา ปาง – สิ – ว ะ – เจา – เนา – นะ – พิ – มาน บรรพตสานต โสภณไกร อานวา บัน – พะ – ตะ – สาน – โส – พะ – นะ – ไกร 11. การอานคําที่มีตัวการันต 1) คําที่ใชตัวการันตสวนมากมาจากภาษาบาลี สันสกฤต เพื่อรักษารูปศัพทนั้นไว เชน ศิษย อานวา สิด วิจารณ อานวา วิ – จาน อุทาหรณ อานวา อุ – ทา – หอน อาวรณ อานวา อา – วอน จันทรเพ็ญ อานวา จัน – เพ็น อาทิตย อานวา อา – ทิด 2) คําที่ไมมีเครื่องหมาย ทัณฑฆาตกํากับอยูบน พยัญชนะตัวสุดทาย แตไมอานออก เสียงตัวสุดทาย เชน จักร อานวา จัก
  • 13. 16 สมัคร อานวา สะ – หมัก เพชร อานวา เพด มิตร อานวา มิด 3) คําที่มาจากภาษาอังกฤษ ที่ใสเครื่องหมายทัณฑฆาตกลางคํา เวลาอานไมตองออก เสียงตัวนั้น ฟลม อานวา ฟม ชารป อานวา ชาบ นิวยอรก อานวา นิว – ยอก กอลฟ อานวา กอบ สาเหตุที่ทําใหอานคําผิดพลาด อ า จ า ร ย ป ว ง พ ร อ รุ ณ ทั ต ก ล า ว ถึ ง ส า เ ห ตุ ที่ ทํ า ใ ห อ า ร คํ า ผิ ด พ ล า ด ไ ว ว า ( http://www.karndaschool.com/index.aspx?ContentID=ContentID-070207105305641,วั น ที่ ค น ขอมูล 17 มีนาคม 2551) ภาษาไทยนับวาเปนเอกลักษณที่แสดงถึงความเปนไทย และเปนมรดกทางวัฒนธรรมที่ ล้ําคาของชาติ ซึ่งคนไทยทุกคนควรชวยอนุรักษมรดกชิ้นนี้ไวใหอยูคูแผนดินไทยตลอดไป โดย ศึกษาเรียนรูวิธีการอาน การเขียนที่ถูกตอง และใชภาษาไทยใหถูกตองสมกับที่เปนภาษาประจําชาติ ของเรา ภาษาไทยมีทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน คําตาง ๆ ที่มีอยูในภาษาไทยมีทั้งที่เปน คําไทยแท และคําที่มาจากภาษาตางประเทศ ปะปนอยูในภาษาไทย ทั้งภาษาบาลี สันสกฤต เขมร ซึ่ง ทั้ง 3 ภาษานี้ มีความสําคัญตอหลักไวยากรณไทยอยางมาก นอกจากนี้ยังมีคําที่มาจากภาษาของชาติ ตาง ๆ ในเอเชีย เชน จีน ญี่ปุน ชวา (อินโดนีเซีย) มาเลเซีย (มลายู) ฯลฯ และภาษาจากชาติตาง ๆ ทางตะวันตกไดแก อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส ฯลฯ เขามาปะปนอยูในภาษาไทยมากมาย การอานคําที่มาจากภาษาตางประเทศ บางคําก็อานออกเสียงตามสําเนียงของคนไทย บางคํา ก็อานออกเสียงตามสําเนียงเดิมในภาษานั้น ๆ บางคําก็อานตามหลักเกณฑทางไวยากรณ บางคําก็ อานตามความนิยม และบางคําก็อานทั้งตามหลักเกณฑ และตามความนิยม แตโดยทั่วไปควรยึด วิธีการอานตามหลักเกณฑไวกอนเพื่อใหเกิดความเขาใจ และความถูกตองตรงกันในการอาน นอกจากนี้ยังมีขอสังเกตวา การที่เยาวชนไทยในปจจุบันออกเสียงคําตาง ๆ ในภาษาไทย ไมถูกตอง ไมชัดเจน มีที่มาจากสาเหตุหลายประการ เชน
  • 14. 17 1. เกิดจากการพูดตามกัน คือ เวลาเด็ก ๆ อยูในหมูเพื่อน ๆ ก็จะพูดจาในลักษณะเดียวกัน คือ พู ด ไม ชั ด ก็ ไ ม ชั ด เหมื อ นกั น ไปหมด ถ า ใครคนใดคนหนึ่ ง พูด ชั ด เจนถูก ต อ ง ก็ จ ะถู ก เพื่ อ น คอนขอดวา ดัดจริต และกลัววาจะเขากับเพื่อน ๆ ไมได และเพื่อน ๆ ไมยอมรับ 2. เกิดจากการเลียนแบบ พูดตามดารานักรองที่ชื่นชอบ พยายามเลียนใหเหมือนทั้งคําพูด การออกเสียงของดารา นักรองเหลานั้น ตามคานิยมที่คิดวาทันสมัย โกเก 3. สมาชิกในครอบครัวอันประกอบดวย พอ แม พี่ นอง ถาพูดไมชัดออกเสียงไมถูก พูด ไมมีตัวควบกล้ํา เด็ก ๆ ก็จะพูดไมชัด ออกเสียงไมถูกตามไปดวย ฉะนั้นถาทุกคนในครอบครัว พูด ใหชัดเจน เด็กที่กําลังหัดพูดหรือเริ่มพูดเกง ก็จะพูดชัดเจนถูกตอง ตั้งแตยังเยาววัย 4. การอานออกเสียง มีขอสังเกตวานักเรียนยุคปจจุบันมักชอบอานหนังสือในใจ ไมอาน ออกเสียง ซึ่งการอานในใจ เปนการอานเพื่อทําความเขาใจจากเนื้อเรื่อง แตถาอานออกเสียงไปดวยก็ จะไดประโยชน 2 ตอควบคูกันไป คือ จะไดทั้งความเขาใจในเนื้อความ และไดฝกการออกเสียงให ถูกตองชัดเจน 5. สาเหตุสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การพูดภาษาไทยของแรงงานตางดาวที่เขามาทํามา หากินในประเทศไทย และของชาวไทยภูเขาที่ลงมาติดตอคาขายกั บคนไทยที่อาศัยอยูในเมือง บุคคลเหลานี้พูดภาษาไทยไมคอยชัดเจนนัก และมักจะ ไมสามารถออกเสียงตัวสะกดของคําตาง ๆ ในภาษาไทยได แตก็สามารถสื่อความหมายเขาใจกันได นักแสดงตลกตาง ๆ ก็มักนําเอาลักษณะ การพูดของชาวไทยภูเขาและแรงงานตางดาวเหลานี้ มาลอเลียนในการแสดงของรายการตาง ๆ เด็ก ๆ ก็มักสนุกสนานกับการพูดออกเสียงในลักษณะดังกลาวตามไปดวย ซึ่งกอใหเกิดผลเสียตอ การอาน พูด และเขียนภาษาไทย ของเยาวชนไทยไมนอย เอกสารที่เกี่ยวของกับโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม ประวัติโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนหนวยสงเสริมและบริหารงานดานวิชาการ อยูใน ความควบคุมและอํานวยการสอน ของคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ป พ.ศ. 2511 เริ่มเปดดําเนินการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 สายสามัญ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2511 มีนักเรียนทั้งหมดจํานวน 70 คน เปนชาย 33 คน เปนหญิง 37 คน ทําการสอนโดย อาจารย และครูในคณะศึกษาศาสตร จํานวน 14 คน อาจารยพิเศษ 5 คน อาจารยชาวตางประเทศ 2 คน ในปแรกไดอาศัยวิทยาลัยที่ 1 อาคาร 1 (ว.1 อ.1) เปนอาคารเรียนชั่วคราว
  • 15. 18 ป พ.ศ.2512 ไดรับงบประมาณในการกอสรางอาคารเรียน ขณะกอสรางไดยายสถานที่เรียน เดิม มาใชอาคารคณะศึกษาศาสตรเปนการชั่วคราว ในปการศึกษานี้ มีนักเรียนทั้งหมด 158 คน เปน ชาย 66 คน เปนหญิง 92 คน ป พ.ศ.2513 อาคารเรียนยังสรางไมเสร็จ จึงตองอาศัยเรียนที่อาคารเรียนคณะศึกษาศาสตร ตอ โดยมีจํานวนนักเรียนเพิ่มเปนทั้งหมด 245 คน ป พ.ศ.2514 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดยายมาใชอาคารเรียนของโรงเรียน และไดขยายชั้นเรียนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเปดชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 แยกเปน 3 แผนก ไดแก แผนกวิทยาศาสตร แผนกศิลป และแผนกทั่วไป แผนกละ 1 หอง ป พ.ศ.2515 เปนปแรกที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดเปดชั้นเรียนสายสามัญ ครบตามหลักสูตร 5 ป คือ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ป พ.ศ.2521 ไดปรับหลักสูตร ตามกระทรวงศึกษาธิการ โดยใหเรียนในชั้น มัธยมศึกษา ตอนตน 3 ป และเรียนในชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ป ป พ.ศ.2533 ปรับเปลี่ยนหลักสูตรการเรียนการสอนมาใชฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ซึ่ง เปลี่ยนมาจากหลักสูตร มัธยมศึกษาตอนตน ป 2521 และหลักสูตร มัธยมศึกษาตอนปลาย ป 2524 โดยระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายนั้ น เป ด สอน 3 แผนการเรี ย น ได แ ก แผนวิ ท ย -คณิ ต แผนศิลป-คณิต กข. และแผนศิลป-ภาษาฝรั่งเศส ป พ.ศ.2537 ไดเปดหองเรียนเพิ่มในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จาก 3 หองเรียน เปน 5 หองเรียน จนกระทั่งปจจุบันทุกระดับชั้นมีจํานวนครบชั้นละ 5 หองเรียน ป พ.ศ.2543 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม มีนักเรียนรวมทั้งสิ้น 1,157 คน โดยเปน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน 602 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 555 คน มีครู- อาจารยประมาณ 90 คน ปการศึกษา 2549 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม มีนักเรียน รวมทั้งสิ้น 1,188 คน โดยเปนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนจํานวน 621 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลายจํานวน 567 คน มีบุคลากร ประมาณ 88 คน คติพจนของโรงเรียน "วิชาเปนครูของมวลชน" (วิชชา นรานํ ครุ) คําขวัญ การเรียนดี กีฬาเดน เนนวินัย ใฝคุณธรรม ตราโรงเรียน ใชตราประจํามหาวิทยาลัยเชียงใหมคือ ชางชูคบเพลิง
  • 16. 19 สีประจําโรงเรียน ใชสีประจํามหาวิทยาลัยเชียงใหมคือ สีมวง ปรัชญาของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม การพัฒนาบุคคลใหเจริญงอกงามทั้งดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา สามารถอยู รวมกันในสังคม อยางมีความสุข จะเกิดขึ้นไดโดยจัดการศึกษาระดับพื้นฐานที่มีประสิทธิภาพแก เยาวชน เพื่อสงเสริมใหผูเรียนพัฒนาตนเอง เต็มตามศักยภาพ มีความรู ความสามารถ และทักษะ เบื้องตน ในการประกอบอาชีพ และแสวงหาความรูอยางตอเนื่อง ไมมีที่สิ้นสุด ตลอดจนมีจิตสํานึก ในการเปนสมาชิกที่ดีของสังคมไทย และสังคมโลก ปณิธานของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลั ยเชีย งใหม มี ความมุงมั่นในการใหการศึกษาขั้น พื้นฐานแก เยาวชน โดยผานกระบวนการ เรียนรูที่มีผูเรียนเปนศูนยกลาง ใหเปนผูที่มีความรูคูคุณธรรม โดยใช ความรูที่มีอยู แสวงหาองคความรูใหมไดอยาง เหมาะสม และเปนที่ปฏิบัติการทดลอง คนควา ทางดานศึกษาศาสตร วัตถุประสงคของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม 1. เพื่อสงเสริมการเรียนรูและพัฒนาการทุกดานแกเยาวชน 2. เพื่อเปนแหลงสาธิตแกบุคคลทั่วไปในดานศึกษาศาสตร 3. เพื่อเปนแหลงแสวงหาองคความรูใหม และเปนที่ปฏิบัติการทางดานศึกษาศาสตร 4. เพื่อสงเสริมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอมของสังคมโดยรวม 5. เพื่อสนับสนุนการผลิตบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตทางการศึกษา ภารกิจของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม 1. เปนสถานที่สงเสริมการเรียนรูและพัฒนาการทุกดานแกเยาวชน 2. เปนสถานที่สนับสนุนการคนควาทดลองและปฏิบัติการดานศึกษาศาสตร 3. เปนสถานที่สาธิตแกบุคคลทั่วไปในศาสตรของศึกษาศาสตร แผนของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม โรงเรียนจัดแผนการดําเนินงานใหสอดคลองกับนโยบายของคณะศึกษาศาสตรและจัดการ เรียนการสอนใหสอดคลอง กับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ