SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การประเมินเสริมพลัง
รัตนะ บัวสนธ / เชาว อินใย

ความหมายและลักษณะ
การประเมินเสริมพลัง มาจากคําวา Empowerment Evaluation การประเมินเสริม
พลังใชมโนทัศนหรือแนวคิดจากการประเมิน เทคนิคการประเมิน และขอคนพบของการประเมินเพือ
่
ผลักดัน (foster) ใหเกิดการปรับปรุงและกําหนดทิศทางการพัฒนาตนเอง
การประเมินเสริมพลังสามารถใชไดทั้งเทคนิควิธีเชิงปริมาณและคุณภาพ นอกจากนั้นยังสามารถ
จะนําไปเสริมพลังตนเองไดทงในระดับตัวบุคคล องคกร ชุมชน สังคม ซึงปกติแลวจะเนนไปที่
้ั
่
โครงการทีนาไปใช
่ ํ
ความเปนมาและขอบขายสาระ
การประเมินเสริมพลังเปนอีกวิธีการหรือแนวคิดหนึงของการประเมินที่ไดรบการคิดคนนําเสนอ
่
ั
โดย David Fetterman แหง Standford University ในป ค.ศ.1993 พืนฐาน
้
ของแนวคิดนี้มาจากแรงปรารถนาของ Fetterman ทีตองการจะแลกเปลี่ยนประสบการณหรือบทเรียน
่
ระหวางนักวิชาการนักประเมินกับกลุมบุคคลเปาหมายที่ไดรบโครงการตาง ๆ เพื่อใหกลุมบุคคลเปาหมาย
ั
สามารถที่จะพัฒนาตนเองได นอกจากพื้นฐานแนวคิดของการประเมินนี้ยังอาศัยความรูทางดานจิตวิทยา
ชุมชน (Community Psychology) ปฏิบตการทางมานุษยวิทยา (action
ัิ
anthropology) ประกอบดวยเชนกัน
จุดมุงหมายทีสาคัญของการประเมินเสริมพลัง คือ การชวยบุคคลใหสามารถชวยตนเองได

่ ํ
สามารถปรับปรุงการนําโครงการไปใชโดยอาศัยการประเมินตนเองและการสะทอนกลับผลการประเมิน
ตนเอง ผูเ ขารวมในโครงการแตละฝายจะเปนผูควบคุมดําเนินการเนนการประเมินดวยตนเอง ในขณะที่นัก
ประเมินภายนอก (outsider evaluator) จะแสดงบทบาทในฐานะผูฝกสอน(Coach) หรือผูให
การสนับสนุนเพิมเติมซึงขึนอยูกบความสามารถหรือศักยภาพภายในของโครงการประเมิน บทบาทของนัก
่
่ ้
ั
ประเมินไมใชผูมีอานาจเหนือคนอื่น ๆ การประเมินเสริมพลังตองอาศัยหลักการแบบประชาธิปไตย ความ
ํ
รวมมือกันแตละฝายนักประเมินจะเขาไปเกี่ยวของเมือไดรับการรองขอเชือเชิญเทานัน
่
้
้
ดวยเหตุน้ีการประเมินเสริมพลังจึงตางจากการประเมินทัว ๆ ไปที่จุดหมายปลายทางสุดทายไมใช
่
การตัดสินคุณคา (value) หรือราคา (worth) ของโครงการหากแตเปนเพียงสวนหนึ่งของการ
ประเมินเสริมพลังเทานัน ทังนีคุณคาหรือราคาของโครงการจะเปลียนแปลงไปเรื่อย ๆ ตามเงื่อนไขตาง ๆ
้ ้ ้
่
ทีเ่ ปลียนแปลงไปดังแนวคิดของความเปนพลวัตร(Dynamic) และวิธีการประเมินตอบสนอง
่
(Responsive Evaluation Approach)
2
ในการประเมินเสริมพลังนักประเมินอาจจะใชรปแบบหรือวิธีการตาง ๆ ประกอบดวย อาทิ การ
ู
ฝกอบรม (training) การสนับสนุนสงเสริม (facilitation) การโนมนาวชักชวน
(advocacy) การชี้ชองทางสวาง (illimination) และการใหเสรีภาพ (liberation) ซึ่งแต
ละรูปแบบมีสาระโดยสรุปดังนี้
1 การฝกอบรม : Training
บทบาทของนักประเมินทีดีจะชวยสอนหรือฝกใหบุคคลหรือองคกรสามารถทีจะทําการควบคุม
่
่
ดําเนินการ (conduct) การประเมินตนเองใหได เปนการฝกใหทาการประเมินภายใน องคกร
ํ
(internal evaluation) และใชผลการประเมินเพื่อพัฒนาตนเองตอไป
2. การสนับสนุนสงเสริม : Facilitation
ในบทบาทนี้นักประเมินจะทําหนาทีเ่ ปนผูสนับสนุนหรือโคชที่ชวยใหบุคคลหรือองคกร

ควบคุมดําเนินการประเมิน ชวยสมาชิกผูรวมงานในองคกร (staff members) ใหฉุกคิดตระหนัก

ถึงสิงทีพวกเขากําลังทําอยูและเปาหมายที่ตองการจะไปใหถึง นักประเมินอาจจําเปนในการจัดเตรียมขอมูล
่ ่
เพือชวยเหลือทีมผูสนับสนุน ทํางานรวมกับกลุมสนใจ บางครังนักประเมินอาจจะตองชวยในการ
่

้
ออกแบบการประเมินใหกบบุคคลหรือองคกรนัน ๆ
ั
้
3. การโนมนาวชักชวน : Advocacy
บางครังในการประเมินเสริมพลัง นักประเมินอาจจะตองทําการควบคุมดําเนินการประเมิน
้
สําหรับกลุมตาง ๆ ภายหลังจากเปาหมายและการออกแบบการประเมินไดทําการกําหนดไวเรียบรอยแลว
นักประเมินอาจจะโนมนาวชักชวนใหบุคคลผูรวมในโครงการทําการสราง (Shape) ทิศทางการ

ประเมิน เสนอแนะความคิดเห็นเพือการแกปญหาและตามไปดวยบทบาทของผูปฏิบัติในการสรางการ
่

เปลียนแปลงในสังคม
่
4. การชี้ชองทางสวาง : Illimination
บางครั้งนักประเมินอาจจําเปนตองแสดงบทบาทเปนผูขจัดความไมชัดเจนในเปาหมายหรือทิศ
ทางการประเมินตนเองของบุคคลหรือองคกร ในบทบาทนีนกประเมินเปรียบเสมือนผูชทางสวางเกี่ยวกับ
้ ั
้ี
การประเมินใหกบองคกรหรือบุคคล
ั
5. การใหเสรีภาพ : Liberation
การประเมินเสริมพลังจําเปนตองกอใหเกิดความเทาเทียมกันหรือความรูสึกมีเสรีภาพของบุคคล
ตาง ๆ ทีเ่ ขารวมโครงการที่ตองการจะประเมินตนเอง
โดยสรุปการประเมินเสริมพลังนันการกําหนดคุณคาและเปาหมายของการประเมินจะถูก
้
กําหนดหรือพัฒนาขึนโดยตัวบุคคลทีเ่ ขารวมโครงการนัน ๆ ภายใตการชวยเหลือหรือฝกอบรมจากนัก
้
้
3
ประเมิน การประเมินเสริมพลังเปนกระบวนการดําเนินงานทีตอเนื่อเปนวัฏจักรซึงเปนผลมาจากการใหผล
่ 
่
สะทอนกลับการประเมินแกตนเอง ผูเ ขารวมโครงการจะเกิดการเรียนรูความกาวหนาและความตอเนืองของ
่
ผลการดําเนินงานของตนเองเพือมุงสูเ ปาหมายและจะทําการปรับปรุงแผนและวิธีการตาง ๆ ในการประเมิน
่ 
ตนเอง ทั้งนี้โดยอาศัยหลักความรวมมือ การชี้ชองทางสวางและการมีเสรีภาพความเทาเทียมกัน
นอกจากนันยังตองอาศัยความซือสัตยในการประเมินตนเองอีกดวย
้
่
ขั้นตอนการประเมินเสริมพลัง
ขันตอนสําหรับการประเมินเสริมพลังทีจะชวยใหบุคคลอื่น ๆ เกิดการเรียนรูในการประเมิน
้
่

โครงการของตนเองประกอบดวย
ขันที่ 1 ระบุขอบเขตหรือจุดยืนของโครงการวาอยู ณ ที่ใดซึ่งรวมทั้งจุดออนและจุดแข็งของ
้
โครงการ
ขันที่ 2 กําหนดเปาหมายที่ชัดเจนโดยเฉพาะเจาะจงวาโครงการตองการจะเดินไปสูที่ใดในอนาคต
้
รวมทั้งจุดเนนที่ปรากฏใหเห็นไดเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงการ
ขันที่ 3 พัฒนากลวิธี (strategies) และการชวยเหลือใหผูรวมโครงการสามารถกําหนดกลวิธี
้
เปนของตนเองเพือการบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคของโครงการ
่
ขันที่ 4 ชวยเหลือผูเ ขารวมโครงการในการกําหนดชนิด / ประเภท ของขอมูลที่ตองการเพื่อจัดทํา
้
หรือแสดงถึงเอกสารรายงานความกาวหนาทีนาเชือถือที่จะนําไปสูเ ปาหมายของโครงการนัน ๆ
่  ่
้
สรุป
พื้นฐานที่สําคัญของแนวคิดการประเมินเสริมพลัง คือ กระบวนการเรียนรูแบบประชา 
ธิปไตย ระหวางกลุมบุคคลตาง ๆ ทีเ่ ขารวมโครงการ ในการกําหนดเปาหมายระบุขอจํากัด จุดแข็งของ
โครงการของตนเอง การประเมินเสริมพลังเปนกิจกรรมทีตอเนืองและมีการปรับปรุงอยูเ สมอโดยอาศัยผล
่  ่
จากการสะทอนกลับการประเมินทีบุคคลในโครงการเปนผูประเมินตนเองดวยความซือสัตยตอตนเอง
่

่

บทบาทของนักประเมินจะมีหลายบทบาทขึนอยูกบสถานการณและการรองขอของบุคคลผูเ ขารวม
้
ั
โครงการในขณะนั้นซึ่งอาจเปนบทบาทของการฝกอบรม การสงเสริมสนับสนุน การโนม-นาว การชี้
ชองทางสวาง และการใหเสรีภาพแกผเู ขารวมโครงการ
การประเมินเสริมพลังจะไมสามารถเกิดขึ้นไดโดยการกระทําของบุคคลเพียงคนเดียวหรือโดยนัก
ประเมินแตเพียงฝายเดียว การประเมินเสริมพลังจะสําเร็จไดเมือบุคคลตาง ๆ ทีเ่ ขารวมโครงการหรือใน
่
องคกรไดตระหนักถึงความจําเปนและความสามารถของตนเองที่จะควบคุมดําเนินการประเมินตนเองเพื่อ
บรรลุเปาหมายรวมกัน
4

ประเด็นวิพากษแนวคิดการประเมินเสริมพลัง
ภายหลังจากการนําเสนอแนวคิดการประเมินเสริมพลังซึง Fetterman ไดนาเสนอครังแรกใน
่
ํ
้
ฐานะทีเ่ ปนประธานการจัดประชุม (Presidential Address) ประจําป 1993 ของสมาคมการ
ประเมินแหงอเมริกน (American Evaluation Association : AEA) ก็ไดมีการเสนอ
ั
ประเด็นวิพากษแนวคิดดังกลาวนีโดยนักประเมินที่มีช่ือเสียงอาทิ Danial. L . Stufflebeam,
้
Michael Quinn Patton and Michael Scriven ซึงมีสาระการวิพากษโดยสรุปดังนี้
่
Stufflebeam เสนอประเด็นวิพากษการประเมินเสริมพลังโดยใชมาตรฐานการประเมิน
โครงการ (The Program Evaluation Standards) เปนกรอบการพิจารณาวิพากษซึ่งมี
ประเด็นทีสาคัญ ๆ ไดแก
่ ํ
ประเด็นที่ 1 นิยามคําวาการประเมิน : Evaluation
ตามที่ Fetterman ใหนิยามการประเมินเสริมพลังวาใชมโนทัศนเดียวกันกับการ
ประเมินเพื่อผลักดันใหเกิดการประเมินตนเองนั้น Stufflebeam เห็นวาบทบาทของนักประเมินทีวา
่
"ชวยเขาใหชวยตนเองได" ตามที่ Fetterman ตองการ ไมใชหรือไมตรงกับนิยามของการประเมินที่
กําหนดขึ้นโดยคณะกรรมการกําหนดมาตรฐานของการประเมินโครงการที่วา การประเมินคือการศึกษา
รวบรวมเกี่ยวกับคุณคาและคุณธรรมของโครงการ
ประเด็นที่ 2 บทบาทของนักประเมิน
Stufflebeam เตือนและชี้ใหเห็นวาการที่ Fetterman เสนอวานักประเมินควรมี
บทบาทสําคัญ ๆ 5 บทบาท ไดแก การเปนผูฝกอบรม ผูสนับสนุน ผูโนมนาว ผูช้ีชองทาง และผูใหเสรีภาพ


นันอาจเปนการบิดเบือนและกอใหเกิดความลําเอียงในการเปนผูประเมินที่มีคณธรรม (merit) และ
้

ุ
คุณคา (worth) ของโครงการ
ประเด็นที่ 3 แนวโนมการใชกิจกรรมและผลการประเมินไปในทางที่ผิด
ในประเด็นนี้ Stufflebeam เห็นวาการที่ Fetterman เสนอวานักประเมินควร
เขาไปใหคาแนะนําชวยเหลือผูรวมโครงการตาง ๆ ในการกําหนดเปาหมาย วัตถุประสงค ตลอดจนเกณฑ
ํ

การประเมินและการเลือกจัดทํารายงานการประเมินนั้นเปนการเสี่ยงอยางยิ่งตอความผิดพลาดของกิจกรรม
การประเมินและการใชผลการประเมิน
ประเด็นที่ 4 รูปแบบการประเมินทีสัมพันธกน
่
ั
Stufflebeam เห็นวา Fetterman เสนอแนวคิดการประเมินเสริมพลังโดยอาศัย
หยิบยืมหรือปะปนกันระหวางแนวคิดการประเมิน discrepancy evaluation, responsive
5
evaluation, naturalistic evaluation และ goal-base evaluation ซึ่งแนวคิดการ
ประเมินทังหลายนี้ใชเกณฑการประเมินทีแตกตางกันตามพืนฐานความเชือและกลุมบุคคลทีเ่ กี่ยวของกับ
้
่
้
่
โครงการตางกัน ดังนันการที่ Fetterman นําเสนอแนวคิดการประเมินเสริมพลังโดยหยิบยืมแนวคิด
้
ขางตนมาจึงเปนสิ่งที่ควรพิจารณาใหถองแท ซึงจะเห็นไดวาประเด็นทีสาคัญที่ Fetterman ตองตอบ
่

่ ํ
ใหชัดเจนก็คือ ความขัดแยงของคุณคาของโครงการซึงนําไปใชในสังคมที่มลักษณะพหุลักษณ
่
ี
(pluralistic society) รวมทังความยุติธรรมของนักประเมินเมือไปทําหนาทีเ่ ปนผูโนมนาว
้
่
ในขณะที่ Patton ก็เห็นวาการนําเสนอแนวคิดการประเมินเสริมพลังนันคอนขางจะ
้
ใกลเคียงและเกี่ยวพันกับ participatory evaluation, collaborative evaluation,
stakeholder-involving evaluation และ utilization-focused approach อยู
มากซึง Patton เห็นวา Fetterman ยังมีปญหาเกี่ยวกับเกณฑท่ีชดเจนในการแยกการประเมินเสริม
่
ั
พลังออกจากแนวคิดการประเมินเหลานี้
สวน Scriven วิพากษวิจารณวาปญหาของการประเมินเสริมพลังอยูทนิยามจะเห็นวา

 ่ี
นิยามของการประเมินเสริมพลังมีการเปลียนแปลงไปเรื่อย ๆ ไมคงที่แนนอน คําวาการประเมินเสริมพลัง
่
นันใครกันแนทจะตองเสริมพลัง หรือตัวนักประเมินเองทีจะตองเสริมพลัง ปญหาความลําเอียงในบทบาท
้
่ี
่
ของนักประเมินเมื่อใชการประเมินเสริมพลังเพราะวานักประเมินจะตองเขาไปชวยเหลือในดานตาง ๆ จึงอาจ
ทําใหเกิดความคุนเคยกับผูถูกประเมินทําใหเกิดความลําเอียงได ในการประเมินเสริมพลังนักประเมินเปน

stakeholder ดวยจึงทําใหลดบทบาทของนักประเมินภายนอกลงไป และประการสุดทายการประเมิน
เสริมพลังที่ Fetterman เสนอนันเนนการสอนการประเมินไมไดทาการประเมิน
้
ํ

บรรณานุกรม
Fetterman, D.M "Empowerment Evaluation : Presidential Address" in Evaluation Practice.
Vol 15 No 1, 1994 pp. 1-15.
Fetterman, D.M "Empowerment Evaluation and Accreditation in Higher Education" in
Evaluation for the 21 st. century : A Handbook. editors by Chelimsky.E and
Shadish.W.R. sage Publication, Inc. 1997 pp. 381-395
Patton, M.Q. "Toward Distinguishing Empowerment Evaluation and Placing It In A
Large Context" in Evaluation Practice. Vol 18 No 2 ,1997 pp. 147-163
Stufflebeam, D.L. "Empowerment Evaluation, Objectivist Evaluation, and Evaluation
Standards : Where the Future of Evaluation Should Not go and Where It Need
to go" in Evaluation Practice. Vol 15 No 3, 1994 pp. 321-338
Scriven, M. " Empowerment Evaluation Examined" in Evaluation Practice. Vol 18 No 2,
1997 pp. 165-175
6
รายละเอียดเกี่ยวกับผูเ ขียน
ดร.รัตนะ บัวสนธ
ผูชวยศาสตราจารย ระดับ 8 ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยนเรศวร
เชาว อินใย
นิสตปริญญาเอก สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
ิ

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Story3

เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพอัยเหี้ยม ยัยห้อย
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพอัยเหี้ยม ยัยห้อย
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาaumkpru45
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8jujudy
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8sangkom
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic managementcapercom
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 

Ähnlich wie Story3 (20)

L1
L1L1
L1
 
Ha & army hospitals
Ha & army hospitalsHa & army hospitals
Ha & army hospitals
 
L1
L1L1
L1
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 

Mehr von Roman Paduka

ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Roman Paduka
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4Roman Paduka
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Roman Paduka
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Roman Paduka
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1Roman Paduka
 
แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6Roman Paduka
 
แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6Roman Paduka
 
แบบฝึกทักษะที่ 5
แบบฝึกทักษะที่ 5แบบฝึกทักษะที่ 5
แบบฝึกทักษะที่ 5Roman Paduka
 
แบบฝึกทักษะที่ 4
แบบฝึกทักษะที่ 4แบบฝึกทักษะที่ 4
แบบฝึกทักษะที่ 4Roman Paduka
 
แบบฝึกทักษะที่ 3
แบบฝึกทักษะที่ 3แบบฝึกทักษะที่ 3
แบบฝึกทักษะที่ 3Roman Paduka
 
แบบฝึกทักษะที่ 2
แบบฝึกทักษะที่ 2แบบฝึกทักษะที่ 2
แบบฝึกทักษะที่ 2Roman Paduka
 
แบบฝึกทักษะที่ 2
แบบฝึกทักษะที่ 2แบบฝึกทักษะที่ 2
แบบฝึกทักษะที่ 2Roman Paduka
 
แบบฝึกทักษะที่ 1
แบบฝึกทักษะที่ 1แบบฝึกทักษะที่ 1
แบบฝึกทักษะที่ 1Roman Paduka
 
แบบฝึกทักษะที่ 1
แบบฝึกทักษะที่ 1แบบฝึกทักษะที่ 1
แบบฝึกทักษะที่ 1Roman Paduka
 
แบบฝึกทักษะที่ 2
แบบฝึกทักษะที่ 2แบบฝึกทักษะที่ 2
แบบฝึกทักษะที่ 2Roman Paduka
 
แบบฝึกทักษะที่ 1
แบบฝึกทักษะที่ 1แบบฝึกทักษะที่ 1
แบบฝึกทักษะที่ 1Roman Paduka
 

Mehr von Roman Paduka (16)

ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6
 
แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6แบบฝึกทักษะที่ 6
แบบฝึกทักษะที่ 6
 
แบบฝึกทักษะที่ 5
แบบฝึกทักษะที่ 5แบบฝึกทักษะที่ 5
แบบฝึกทักษะที่ 5
 
แบบฝึกทักษะที่ 4
แบบฝึกทักษะที่ 4แบบฝึกทักษะที่ 4
แบบฝึกทักษะที่ 4
 
แบบฝึกทักษะที่ 3
แบบฝึกทักษะที่ 3แบบฝึกทักษะที่ 3
แบบฝึกทักษะที่ 3
 
แบบฝึกทักษะที่ 2
แบบฝึกทักษะที่ 2แบบฝึกทักษะที่ 2
แบบฝึกทักษะที่ 2
 
แบบฝึกทักษะที่ 2
แบบฝึกทักษะที่ 2แบบฝึกทักษะที่ 2
แบบฝึกทักษะที่ 2
 
แบบฝึกทักษะที่ 1
แบบฝึกทักษะที่ 1แบบฝึกทักษะที่ 1
แบบฝึกทักษะที่ 1
 
แบบฝึกทักษะที่ 1
แบบฝึกทักษะที่ 1แบบฝึกทักษะที่ 1
แบบฝึกทักษะที่ 1
 
แบบฝึกทักษะที่ 2
แบบฝึกทักษะที่ 2แบบฝึกทักษะที่ 2
แบบฝึกทักษะที่ 2
 
แบบฝึกทักษะที่ 1
แบบฝึกทักษะที่ 1แบบฝึกทักษะที่ 1
แบบฝึกทักษะที่ 1
 

Story3

  • 1. การประเมินเสริมพลัง รัตนะ บัวสนธ / เชาว อินใย ความหมายและลักษณะ การประเมินเสริมพลัง มาจากคําวา Empowerment Evaluation การประเมินเสริม พลังใชมโนทัศนหรือแนวคิดจากการประเมิน เทคนิคการประเมิน และขอคนพบของการประเมินเพือ ่ ผลักดัน (foster) ใหเกิดการปรับปรุงและกําหนดทิศทางการพัฒนาตนเอง การประเมินเสริมพลังสามารถใชไดทั้งเทคนิควิธีเชิงปริมาณและคุณภาพ นอกจากนั้นยังสามารถ จะนําไปเสริมพลังตนเองไดทงในระดับตัวบุคคล องคกร ชุมชน สังคม ซึงปกติแลวจะเนนไปที่ ้ั ่ โครงการทีนาไปใช ่ ํ ความเปนมาและขอบขายสาระ การประเมินเสริมพลังเปนอีกวิธีการหรือแนวคิดหนึงของการประเมินที่ไดรบการคิดคนนําเสนอ ่ ั โดย David Fetterman แหง Standford University ในป ค.ศ.1993 พืนฐาน ้ ของแนวคิดนี้มาจากแรงปรารถนาของ Fetterman ทีตองการจะแลกเปลี่ยนประสบการณหรือบทเรียน ่ ระหวางนักวิชาการนักประเมินกับกลุมบุคคลเปาหมายที่ไดรบโครงการตาง ๆ เพื่อใหกลุมบุคคลเปาหมาย ั สามารถที่จะพัฒนาตนเองได นอกจากพื้นฐานแนวคิดของการประเมินนี้ยังอาศัยความรูทางดานจิตวิทยา ชุมชน (Community Psychology) ปฏิบตการทางมานุษยวิทยา (action ัิ anthropology) ประกอบดวยเชนกัน จุดมุงหมายทีสาคัญของการประเมินเสริมพลัง คือ การชวยบุคคลใหสามารถชวยตนเองได  ่ ํ สามารถปรับปรุงการนําโครงการไปใชโดยอาศัยการประเมินตนเองและการสะทอนกลับผลการประเมิน ตนเอง ผูเ ขารวมในโครงการแตละฝายจะเปนผูควบคุมดําเนินการเนนการประเมินดวยตนเอง ในขณะที่นัก ประเมินภายนอก (outsider evaluator) จะแสดงบทบาทในฐานะผูฝกสอน(Coach) หรือผูให การสนับสนุนเพิมเติมซึงขึนอยูกบความสามารถหรือศักยภาพภายในของโครงการประเมิน บทบาทของนัก ่ ่ ้ ั ประเมินไมใชผูมีอานาจเหนือคนอื่น ๆ การประเมินเสริมพลังตองอาศัยหลักการแบบประชาธิปไตย ความ ํ รวมมือกันแตละฝายนักประเมินจะเขาไปเกี่ยวของเมือไดรับการรองขอเชือเชิญเทานัน ่ ้ ้ ดวยเหตุน้ีการประเมินเสริมพลังจึงตางจากการประเมินทัว ๆ ไปที่จุดหมายปลายทางสุดทายไมใช ่ การตัดสินคุณคา (value) หรือราคา (worth) ของโครงการหากแตเปนเพียงสวนหนึ่งของการ ประเมินเสริมพลังเทานัน ทังนีคุณคาหรือราคาของโครงการจะเปลียนแปลงไปเรื่อย ๆ ตามเงื่อนไขตาง ๆ ้ ้ ้ ่ ทีเ่ ปลียนแปลงไปดังแนวคิดของความเปนพลวัตร(Dynamic) และวิธีการประเมินตอบสนอง ่ (Responsive Evaluation Approach)
  • 2. 2 ในการประเมินเสริมพลังนักประเมินอาจจะใชรปแบบหรือวิธีการตาง ๆ ประกอบดวย อาทิ การ ู ฝกอบรม (training) การสนับสนุนสงเสริม (facilitation) การโนมนาวชักชวน (advocacy) การชี้ชองทางสวาง (illimination) และการใหเสรีภาพ (liberation) ซึ่งแต ละรูปแบบมีสาระโดยสรุปดังนี้ 1 การฝกอบรม : Training บทบาทของนักประเมินทีดีจะชวยสอนหรือฝกใหบุคคลหรือองคกรสามารถทีจะทําการควบคุม ่ ่ ดําเนินการ (conduct) การประเมินตนเองใหได เปนการฝกใหทาการประเมินภายใน องคกร ํ (internal evaluation) และใชผลการประเมินเพื่อพัฒนาตนเองตอไป 2. การสนับสนุนสงเสริม : Facilitation ในบทบาทนี้นักประเมินจะทําหนาทีเ่ ปนผูสนับสนุนหรือโคชที่ชวยใหบุคคลหรือองคกร  ควบคุมดําเนินการประเมิน ชวยสมาชิกผูรวมงานในองคกร (staff members) ใหฉุกคิดตระหนัก  ถึงสิงทีพวกเขากําลังทําอยูและเปาหมายที่ตองการจะไปใหถึง นักประเมินอาจจําเปนในการจัดเตรียมขอมูล ่ ่ เพือชวยเหลือทีมผูสนับสนุน ทํางานรวมกับกลุมสนใจ บางครังนักประเมินอาจจะตองชวยในการ ่  ้ ออกแบบการประเมินใหกบบุคคลหรือองคกรนัน ๆ ั ้ 3. การโนมนาวชักชวน : Advocacy บางครังในการประเมินเสริมพลัง นักประเมินอาจจะตองทําการควบคุมดําเนินการประเมิน ้ สําหรับกลุมตาง ๆ ภายหลังจากเปาหมายและการออกแบบการประเมินไดทําการกําหนดไวเรียบรอยแลว นักประเมินอาจจะโนมนาวชักชวนใหบุคคลผูรวมในโครงการทําการสราง (Shape) ทิศทางการ  ประเมิน เสนอแนะความคิดเห็นเพือการแกปญหาและตามไปดวยบทบาทของผูปฏิบัติในการสรางการ ่  เปลียนแปลงในสังคม ่ 4. การชี้ชองทางสวาง : Illimination บางครั้งนักประเมินอาจจําเปนตองแสดงบทบาทเปนผูขจัดความไมชัดเจนในเปาหมายหรือทิศ ทางการประเมินตนเองของบุคคลหรือองคกร ในบทบาทนีนกประเมินเปรียบเสมือนผูชทางสวางเกี่ยวกับ ้ ั ้ี การประเมินใหกบองคกรหรือบุคคล ั 5. การใหเสรีภาพ : Liberation การประเมินเสริมพลังจําเปนตองกอใหเกิดความเทาเทียมกันหรือความรูสึกมีเสรีภาพของบุคคล ตาง ๆ ทีเ่ ขารวมโครงการที่ตองการจะประเมินตนเอง โดยสรุปการประเมินเสริมพลังนันการกําหนดคุณคาและเปาหมายของการประเมินจะถูก ้ กําหนดหรือพัฒนาขึนโดยตัวบุคคลทีเ่ ขารวมโครงการนัน ๆ ภายใตการชวยเหลือหรือฝกอบรมจากนัก ้ ้
  • 3. 3 ประเมิน การประเมินเสริมพลังเปนกระบวนการดําเนินงานทีตอเนื่อเปนวัฏจักรซึงเปนผลมาจากการใหผล ่  ่ สะทอนกลับการประเมินแกตนเอง ผูเ ขารวมโครงการจะเกิดการเรียนรูความกาวหนาและความตอเนืองของ ่ ผลการดําเนินงานของตนเองเพือมุงสูเ ปาหมายและจะทําการปรับปรุงแผนและวิธีการตาง ๆ ในการประเมิน ่  ตนเอง ทั้งนี้โดยอาศัยหลักความรวมมือ การชี้ชองทางสวางและการมีเสรีภาพความเทาเทียมกัน นอกจากนันยังตองอาศัยความซือสัตยในการประเมินตนเองอีกดวย ้ ่ ขั้นตอนการประเมินเสริมพลัง ขันตอนสําหรับการประเมินเสริมพลังทีจะชวยใหบุคคลอื่น ๆ เกิดการเรียนรูในการประเมิน ้ ่  โครงการของตนเองประกอบดวย ขันที่ 1 ระบุขอบเขตหรือจุดยืนของโครงการวาอยู ณ ที่ใดซึ่งรวมทั้งจุดออนและจุดแข็งของ ้ โครงการ ขันที่ 2 กําหนดเปาหมายที่ชัดเจนโดยเฉพาะเจาะจงวาโครงการตองการจะเดินไปสูที่ใดในอนาคต ้ รวมทั้งจุดเนนที่ปรากฏใหเห็นไดเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงการ ขันที่ 3 พัฒนากลวิธี (strategies) และการชวยเหลือใหผูรวมโครงการสามารถกําหนดกลวิธี ้ เปนของตนเองเพือการบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคของโครงการ ่ ขันที่ 4 ชวยเหลือผูเ ขารวมโครงการในการกําหนดชนิด / ประเภท ของขอมูลที่ตองการเพื่อจัดทํา ้ หรือแสดงถึงเอกสารรายงานความกาวหนาทีนาเชือถือที่จะนําไปสูเ ปาหมายของโครงการนัน ๆ ่  ่ ้ สรุป พื้นฐานที่สําคัญของแนวคิดการประเมินเสริมพลัง คือ กระบวนการเรียนรูแบบประชา  ธิปไตย ระหวางกลุมบุคคลตาง ๆ ทีเ่ ขารวมโครงการ ในการกําหนดเปาหมายระบุขอจํากัด จุดแข็งของ โครงการของตนเอง การประเมินเสริมพลังเปนกิจกรรมทีตอเนืองและมีการปรับปรุงอยูเ สมอโดยอาศัยผล ่  ่ จากการสะทอนกลับการประเมินทีบุคคลในโครงการเปนผูประเมินตนเองดวยความซือสัตยตอตนเอง ่  ่  บทบาทของนักประเมินจะมีหลายบทบาทขึนอยูกบสถานการณและการรองขอของบุคคลผูเ ขารวม ้ ั โครงการในขณะนั้นซึ่งอาจเปนบทบาทของการฝกอบรม การสงเสริมสนับสนุน การโนม-นาว การชี้ ชองทางสวาง และการใหเสรีภาพแกผเู ขารวมโครงการ การประเมินเสริมพลังจะไมสามารถเกิดขึ้นไดโดยการกระทําของบุคคลเพียงคนเดียวหรือโดยนัก ประเมินแตเพียงฝายเดียว การประเมินเสริมพลังจะสําเร็จไดเมือบุคคลตาง ๆ ทีเ่ ขารวมโครงการหรือใน ่ องคกรไดตระหนักถึงความจําเปนและความสามารถของตนเองที่จะควบคุมดําเนินการประเมินตนเองเพื่อ บรรลุเปาหมายรวมกัน
  • 4. 4 ประเด็นวิพากษแนวคิดการประเมินเสริมพลัง ภายหลังจากการนําเสนอแนวคิดการประเมินเสริมพลังซึง Fetterman ไดนาเสนอครังแรกใน ่ ํ ้ ฐานะทีเ่ ปนประธานการจัดประชุม (Presidential Address) ประจําป 1993 ของสมาคมการ ประเมินแหงอเมริกน (American Evaluation Association : AEA) ก็ไดมีการเสนอ ั ประเด็นวิพากษแนวคิดดังกลาวนีโดยนักประเมินที่มีช่ือเสียงอาทิ Danial. L . Stufflebeam, ้ Michael Quinn Patton and Michael Scriven ซึงมีสาระการวิพากษโดยสรุปดังนี้ ่ Stufflebeam เสนอประเด็นวิพากษการประเมินเสริมพลังโดยใชมาตรฐานการประเมิน โครงการ (The Program Evaluation Standards) เปนกรอบการพิจารณาวิพากษซึ่งมี ประเด็นทีสาคัญ ๆ ไดแก ่ ํ ประเด็นที่ 1 นิยามคําวาการประเมิน : Evaluation ตามที่ Fetterman ใหนิยามการประเมินเสริมพลังวาใชมโนทัศนเดียวกันกับการ ประเมินเพื่อผลักดันใหเกิดการประเมินตนเองนั้น Stufflebeam เห็นวาบทบาทของนักประเมินทีวา ่ "ชวยเขาใหชวยตนเองได" ตามที่ Fetterman ตองการ ไมใชหรือไมตรงกับนิยามของการประเมินที่ กําหนดขึ้นโดยคณะกรรมการกําหนดมาตรฐานของการประเมินโครงการที่วา การประเมินคือการศึกษา รวบรวมเกี่ยวกับคุณคาและคุณธรรมของโครงการ ประเด็นที่ 2 บทบาทของนักประเมิน Stufflebeam เตือนและชี้ใหเห็นวาการที่ Fetterman เสนอวานักประเมินควรมี บทบาทสําคัญ ๆ 5 บทบาท ไดแก การเปนผูฝกอบรม ผูสนับสนุน ผูโนมนาว ผูช้ีชองทาง และผูใหเสรีภาพ   นันอาจเปนการบิดเบือนและกอใหเกิดความลําเอียงในการเปนผูประเมินที่มีคณธรรม (merit) และ ้  ุ คุณคา (worth) ของโครงการ ประเด็นที่ 3 แนวโนมการใชกิจกรรมและผลการประเมินไปในทางที่ผิด ในประเด็นนี้ Stufflebeam เห็นวาการที่ Fetterman เสนอวานักประเมินควร เขาไปใหคาแนะนําชวยเหลือผูรวมโครงการตาง ๆ ในการกําหนดเปาหมาย วัตถุประสงค ตลอดจนเกณฑ ํ  การประเมินและการเลือกจัดทํารายงานการประเมินนั้นเปนการเสี่ยงอยางยิ่งตอความผิดพลาดของกิจกรรม การประเมินและการใชผลการประเมิน ประเด็นที่ 4 รูปแบบการประเมินทีสัมพันธกน ่ ั Stufflebeam เห็นวา Fetterman เสนอแนวคิดการประเมินเสริมพลังโดยอาศัย หยิบยืมหรือปะปนกันระหวางแนวคิดการประเมิน discrepancy evaluation, responsive
  • 5. 5 evaluation, naturalistic evaluation และ goal-base evaluation ซึ่งแนวคิดการ ประเมินทังหลายนี้ใชเกณฑการประเมินทีแตกตางกันตามพืนฐานความเชือและกลุมบุคคลทีเ่ กี่ยวของกับ ้ ่ ้ ่ โครงการตางกัน ดังนันการที่ Fetterman นําเสนอแนวคิดการประเมินเสริมพลังโดยหยิบยืมแนวคิด ้ ขางตนมาจึงเปนสิ่งที่ควรพิจารณาใหถองแท ซึงจะเห็นไดวาประเด็นทีสาคัญที่ Fetterman ตองตอบ ่  ่ ํ ใหชัดเจนก็คือ ความขัดแยงของคุณคาของโครงการซึงนําไปใชในสังคมที่มลักษณะพหุลักษณ ่ ี (pluralistic society) รวมทังความยุติธรรมของนักประเมินเมือไปทําหนาทีเ่ ปนผูโนมนาว ้ ่ ในขณะที่ Patton ก็เห็นวาการนําเสนอแนวคิดการประเมินเสริมพลังนันคอนขางจะ ้ ใกลเคียงและเกี่ยวพันกับ participatory evaluation, collaborative evaluation, stakeholder-involving evaluation และ utilization-focused approach อยู มากซึง Patton เห็นวา Fetterman ยังมีปญหาเกี่ยวกับเกณฑท่ีชดเจนในการแยกการประเมินเสริม ่ ั พลังออกจากแนวคิดการประเมินเหลานี้ สวน Scriven วิพากษวิจารณวาปญหาของการประเมินเสริมพลังอยูทนิยามจะเห็นวา   ่ี นิยามของการประเมินเสริมพลังมีการเปลียนแปลงไปเรื่อย ๆ ไมคงที่แนนอน คําวาการประเมินเสริมพลัง ่ นันใครกันแนทจะตองเสริมพลัง หรือตัวนักประเมินเองทีจะตองเสริมพลัง ปญหาความลําเอียงในบทบาท ้ ่ี ่ ของนักประเมินเมื่อใชการประเมินเสริมพลังเพราะวานักประเมินจะตองเขาไปชวยเหลือในดานตาง ๆ จึงอาจ ทําใหเกิดความคุนเคยกับผูถูกประเมินทําใหเกิดความลําเอียงได ในการประเมินเสริมพลังนักประเมินเปน  stakeholder ดวยจึงทําใหลดบทบาทของนักประเมินภายนอกลงไป และประการสุดทายการประเมิน เสริมพลังที่ Fetterman เสนอนันเนนการสอนการประเมินไมไดทาการประเมิน ้ ํ บรรณานุกรม Fetterman, D.M "Empowerment Evaluation : Presidential Address" in Evaluation Practice. Vol 15 No 1, 1994 pp. 1-15. Fetterman, D.M "Empowerment Evaluation and Accreditation in Higher Education" in Evaluation for the 21 st. century : A Handbook. editors by Chelimsky.E and Shadish.W.R. sage Publication, Inc. 1997 pp. 381-395 Patton, M.Q. "Toward Distinguishing Empowerment Evaluation and Placing It In A Large Context" in Evaluation Practice. Vol 18 No 2 ,1997 pp. 147-163 Stufflebeam, D.L. "Empowerment Evaluation, Objectivist Evaluation, and Evaluation Standards : Where the Future of Evaluation Should Not go and Where It Need to go" in Evaluation Practice. Vol 15 No 3, 1994 pp. 321-338 Scriven, M. " Empowerment Evaluation Examined" in Evaluation Practice. Vol 18 No 2, 1997 pp. 165-175
  • 6. 6 รายละเอียดเกี่ยวกับผูเ ขียน ดร.รัตนะ บัวสนธ ผูชวยศาสตราจารย ระดับ 8 ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร  มหาวิทยาลัยนเรศวร เชาว อินใย นิสตปริญญาเอก สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ิ