SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ระบบเครือข่าย
   และการสื่อสาร
Network Computer
And Communication
ระบบเครือข่าย

 คอมพิวเตอร์สามารถนามาประยุกต์ใช้งานด้านการ
 สื่อสารระหว่างกันได้ เช่นเดียวกันกับเครื่องมืออื่น
 เช่น โทรศัพท์ มือถือ เพจเจอร์ เป็นต้น
 เราสามารถนาคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องมา
 เชื่อมต่อกัน เพื่อสามารถใช้สื่อสารระหว่างกันได้ และ
 ยังได้รับประโยชน์อีกมากมาย
การสื่อสารข้อมูล (Communication)

 การสื่อสารข้อมูลเป็นการรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จากต้นทาง
 ไปยังปลายทางผ่านอุปกรณ์เชื่อมโยง (Channel) ซึ่งอาจ
 เป็นสายเคเบิลหรืออุปกรณ์ไร้สาย
                                                            Receiving device
Sending device                Communication Channel


                 Communication Device      Communication Device
การสื่อสารข้อมูล
ข้อมูล/ข่าวสาร (data/message) คือ ข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆ ที่
ต้องการส่งไปยังผู้รับ โดยข้อมูล/ข่าวสาร อาจประกอบด้วย ข้อความ ตัวเลข
รูปภาพ เสียง วีดิทัศน์ หรือสื่อประสม
ผู้ส่ง (sender) คือ คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้สาหรับส่งข้อมูล/ข่าวสาร ซึ่งอาจ
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ กล้องวีดิทัศน์ เป็นต้น
ผู้รับ (receiver) คือ คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้รับข้อมูล/ข่าวสารที่ทางผู้ส่ง
ข้อมูลส่งให้ ซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เป็นต้น
สื่อกลางในการส่งข้อมูล (transmission media) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่
ในการรับส่งข้อมูล/ข่าวสารไปยังจุดหมายปลายทาง โดยสื่อกลางในการส่ง
ข้อมูลจะมีทั้งแบบมีสาย เช่น สายเคเบิล สายยูทีพี สายไฟเบอร์ออพติก และ
สื่อกลางในการส่งข้อมูลแบบไร้สาย เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ และ
ดาวเทียม เป็นต้น
สัญญาณที่ใช้ในระบบการสื่อสาร
สัญญาณที่ใช้ในระบบการสื่อสาร แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1. สัญญาณแอนะล็อค (analog signal) เป็นสัญญาณที่มีขนาด
   แอมพลิจูด (amplitude) ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาและเป็นค่าต่อเนื่อง
   เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี เป็นต้น
2. สัญญาณดิจิทัล (digital signal) เป็นสัญญาณที่ไม่มีความต่อเนื่อง
   ที่เรียกว่า “ดิสครีต” (discrete) สัญญาณดิจิทัลถูกแทนด้วยระดับ
   แรงดันไฟฟ้า 2 ระดับเท่านั้น โดยแสดงสถานะเป็น “0” และ “1” ซึ่ง
   ตรงกับรหัสตัวเลขฐานสอง
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลเป็นการส่งสัญญาณออกจากอุปกรณ์ส่ง ไปยังอุปกรณ์
รับ โดยจาแนกได้ 2 แบบ คือ
1. การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน เป็นการส่งข้อมูลออกมาทีละหลายบิต
     พร้อมกันจากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ผ่านสื่อกลางนาสัญญาณที่
     มีช่องทางส่งข้อมูลหลายช่องทาง โดยทั่วไปจะเป็นสายหลายๆ เส้น ที่
     มีจานวนสายส่งสัญญาณเท่ากับจานวนบิตที่ต้องการส่งในแต่ละครั้ง
2. การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิต
     ระหว่างจุดส่งและจุดรับ การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องการ
     สื่อกลางสาหรับการสื่อสารเพียงช่องทางเดียวหรือเพียงคู่สายเดียว
     ค่าใช้จ่ายในด้านของสายสัญญาณจะถูกกว่าแบบขนานสาหรับการส่ง
     ระยะทางไกลๆ
การถ่ายโอนข้อมูล



Parallel Port หรือพอร์ตขนาน   Serial Port หรือพอร์ตอนุกรม
รูปแบบการรับ-ส่งข้อมูล
          ไม่ว่าจะเป็นการรับ-ส่งข้อมูลแบบขนานหรืออนุกรมสามารถแบ่งได้
          เป็น 3 แบบ ดังนี้
1. การสื่อสารทางเดียว (simplex transmission) ข้อมูลสามารถ
ส่งได้ทางเดียว โดยแต่ละฝ่ายจะทาหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เป็นผู้รับหรือ
ผู้ส่ง
2. การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (half duplex transmission)
สามารถส่งข้อมูลได้ทั้งสองฝ่าย แต่จะต้องผลัดกันส่งและผลัดกันรับ จะส่ง
และรับพร้อมกันไม่ได้
3. การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา (full duplex transmission)
สามารถส่งข้อมูลได้สองทางโดยที่ผรับและผู้ส่งสามารถรับส่งข้อมูลได้ในเวลา
                                   ู้
เดียวกัน เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์คู่สนทนาคุยโต้ตอบได้ในเวลาเดียวกัน
การสื่อสารข้อมูล ก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนี้
1.ความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล
2.ความถูกต้องของข้อมูล
3.ความเร็วของการรับส่งข้อมูล
4.การประหยัดค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูล
5.ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร
6.ความสะดวกในการประสานงาน
7.ขยายบริการองค์กร
8.การสร้างบริการรูปแบบใหม่บนเครือข่าย
ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบเครือข่าย
                                           ประโยชน์


เพื่อความสะดวก ปลอดภัย ดูแล          การใช้อุปกรณ์ร่วมกัน เช่น การใช้
                                                                            ใช้สื่อสารระหว่างบุคคล
จัดการข้อมูล มักจะเก็บข้อมูลไว้ที่   เครื่องพิมพ์, scanner ร่วมกัน
                                                                        แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เช่น
ศูนย์กลาง (Server) หากใคร            แทนที่จะต้องซื้ออุปกรณ์หลายๆ ตัว
                                                                         การส่งจดหมายอิเล็คทรอนิกส์
ต้องการใช้ข้อมูลก็สามารถใช้ข้อมูล
                                       การสื่อสารได้ทั้งภาพและเสียง       การประชุมระยะไกล เป็นต้น
จาก ศูนย์กลาง (Server) ได้
ชนิดของระบบเครือข่าย
             ระบบเครือข่าย แบ่งออกเป็น 4 ชนิด


  LAN            MAN                WAN            Internet




Local Area   Metropolitan         Wide Area     Internetworking
 Network     Area Network         Network
LAN (Local Area Network)

     เป็นการนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกัน ใน
ระยะใกล้ๆ เช่น ภายในห้องเดียวกัน ชั้นเดียวกัน หรือ
อาคารเดียวกัน มีระยะไม่เกิน 2-3 กิโลเมตร
MAN (Metropolitan Area Network)

       หรือเครือข่ายในเขตเมือง เป็นการนาคอมพิวเตอร์มา
เชื่อมต่อกัน ซึ่งอาจจะเป็นการนาเอา LAN มาเชื่อมต่อกันใน
ระยะกลาง ครอบคลุมพื้นที่ ในอาเภอ หรือในจังหวัดเดียวกัน




                           MAN
WAN (Wide Area Network)

         หรือเครือข่ายวงกว้าง เป็นการนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกัน
ซึ่งอาจจะเป็นการนาเอา LAN หรือ MAN มาเชื่อมต่อกัน ครอบคลุม
พื้นที่ในระยะไกลเช่น ระดับภูมิภาคหรือประเทศเดียวกัน
Internet (Internetworking)

เป็นระบบเครือข่ายที่มีการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะเป็นการนาเอา
LAN MAN หรือ WAN มาเชื่อมต่อกันครอบคลุมพืนที่ทั่วโลก         ้
• ข้อมูลบนระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งเป็นส่วนย่อย (Packet) แล้วส่งไปยังปลายทาง
แล้วที่ปลายทางจะทาการรวม Packet ที่ได้รับมาประกอบรวมกันขึ้นมา
• การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ (ซึ่งอาจต่างชนิดกัน) สามารถเข้าใจกันได้ทุกเครื่อง
โดยใช้ภาษาหรือกฎเดียวกันหมดเรียกว่า Protocol เช่น TCP/IP IPX/SPX และ NetBEUI
อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย
อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย
           รีพีทเตอร์ (Repeater) ทาหน้าที่ทวนสัญญาณ คือช่วยขยายสัญญาณไฟฟ้าที่
ส่งบนสาย LAN ให้แรงขึ้นและจัดรูปสัญญาณที่เพี้ยนไปให้กลับเหมือนเดิม จากนั้นจึง
ค่อยส่งต่อไป
      ฮับ (HUB)คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ HUBรับส่งเฟรมข้อมูลทุก
เฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับ
HUB จะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อ
มากจะทาให้อัตราการส่งข้อมูลลดลง HUBที่ใช้ในระบบ LAN ตามมาตรฐานอีเทอร์เน็ต
แบบ 10Base-Tและ 100Base-T ก็จัดเป็นอุปกรณ์ที่ทางานในลักษณะเดียวกับรีพีต
เตอร์ด้วย
                                HUB



Bridge: การเชื่อมโยงระบบเครือข่ายแบบเดียวกัน (ใช้โปรโตคอลชนิดเดียวกัน) เข้าด้วยกัน
เช่น Lan กับ Lan
อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย
 Gateway : การเชื่อมโยงระบบเครือข่ายต่างชนิดกัน (ใช้โปรโตคอลต่างชนิดกัน)
เข้าด้วยกัน เช่น LAN กับ MAN, LAN กับ Internet
Router: ตัวกาหนดเส้นทางการรับ-ส่งข้อมูลเพื่อให้ข้อมูลจากผู้ส่งถึงผู้รับ
ได้เร็วและถูกต้อง
อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย
          สวิตซ์ (Switch) คืออุปกรณ์เครือข่ายที่ทาหน้าที่ใน
เรเยอร์ที่ 2 และทาหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยัง
พอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทาให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ
กับพอร์ตที่เหลือส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนั้น อัตราการ
รับส่งข้อมูลหรือแบนด์วิธจึงไม่ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนิยม
เชื่อมต่อแบบนี้มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนกันของข้อมูล
อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย

                           โมเดม (Modem)

โมเดม เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ ให้สามารถส่งสัญญาณ
ผ่านสายโทรศัพท์เพื่อติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ได้โมเดมจะมีทั้งชนิดเชื่อมต่อภายนอก (External Modem)
และชนิดที่เป็นการ์ดอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ (Internal Modem)
วิธีการเชื่อมโยงระบบเครือข่าย (Network Topology)

      เป็นรูปแบบการนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมโยงกัน แต่ละแบบมี
ความเหมาะสมในการใช้งานแตกต่างกัน
• BUS Topology (เครือข่ายแบบบัส)
• Star Topology (เครือข่ายแบบดาว)
• Ring Topology (เครือข่ายแบบวงแหวน)
• Mesh Topology (เครือข่ายแบบเมช)
หมายเหตุ โหนด (Node) หมายถึง อุปกรณ์ที่นามาเชื่อมต่อ ในระบบ
เครือข่าย อาจเป็น คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์และอื่น เป็นต้น
การเชื่อมต่อแบบบัส (BUS)
      โหนดแต่ละตัวจะเชื่อมเข้ากับบัส
      ข้อดี - สามารถเพิ่มหรือลดจานวนโหนดได้โดยไม่กระทบระบบ
           - ถ้ามีโหนดเสียจะไม่กระทบการทางานของระบบ
      ข้อเสีย - อาจเกิดการชนกันของข้อมูล (Collision) ถ้ามีการส่งพร้อมกัน
โปรโตคอล CSMA/CD เช่น Ethernet 10Mbps , Fast Ehternet100Mbps, 1 Gbps
การเชื่อมต่อแบบรูปดาว (STAR)
จะมีคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางการเชื่อมโยงของการรับส่งข้อมูล
        ข้อดี - ไม่มีการชนกันของข้อมูล โปรโตคอล ARCnet
              - ถ้ามีโหนดเสียจะไม่กระทบการทางานของระบบ
    • ความเร็ว 100 Mbps, สามารถใช้สื่อ Fiber-optic ได้
        ข้อเสีย - ถ้าคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเสียทาให้ระบบเสีย
การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (RING)
          การเชื่อมโยงของโหนดเป็นวงกลม ไม่มีคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางของการ
รับส่งข้อมูล และต้องทาในทิศทางเดียวกัน
ข้อดี - ไม่มีการชนกันของข้อมูล โปรโตคอล Token ring
• ความเร็วประมาณ 4-16 Mbps
ข้อเสีย - ถ้ามีโหนดเสียจะมีกระทบการทางานของระบบ
การเชื่อมต่อแบบเมช (MESH)
      เป็นการเชื่อมต่อที่มีความนิยมมากและมีประสิทธิภาพสูง เนื่องจากถ้ามี
เส้นทางของการเชื่อมต่อคู่ใดคู่หนึ่งขาดจากกัน การติดต่อสื่อสารระหว่างคู่นั้นยัง
สามารถติดต่อได้โดยอุปกรณ์จัดเส้นทาง (router) จะทาการเชื่อมต่อเส้นทางใหม่ไป
ยังจุดหมายปลายทางอัตโนมัติ การเชื่อมต่อแบบนี้มักนิยมสร้างบนเครือข่ายแบบ
ไร้สาย
ข้อตกลงในการสื่อสาร (Protocol)
Ethernet
 ใช้ในการเชื่อมต่อแบบบัส ความเร็ว 10 Mbps ใช้สาย
 10base-2 10base-5 10base-T หรือ UTP
Fast Ethernet
 ใช้ในการเชื่อมต่อแบบบัส ความเร็ว 100-1000 Mbps ใช้สาย
 100base-T
Token Ring
 ความเร็ว 4-16 Mbps ข้อมูลไม่ชนกัน เนื่องจากส่งในทิศทางเดียว
ARC Net
อุปกรณ์การเชื่อมโยง (Network Media and Hardware)

 ใช้เชื่อมโยงโหนดแต่ตวเข้ากับระบบเครือข่าย
                     ั
แบบใช้สาย
   Twisted Pair, Coaxial Cable, Fiber Optic

แบบไร้สาย
   Infrared light, Microwave, Satellite, Broadcast Radio,
   Bluetooth, Cellular Radio
อุปกรณ์เชื่อมโยงแบบใช้สาย (Cable)
A) Twisted pair: เป็นสายทองแดงบิดเกลียวหุ้มด้วยฉนวน

• ปกติจะใช้ชนิดที่เรียกว่า UTP ซึ่งย่อมาจาก Unshielded twisted-pair
• Twisted-pair แบบที่มี Shield เรียกว่า STP
• ข้อดี คือราคาถูก หาง่าย เช่น สายโทรศัพท์, CAT 5
• ข้อเสีย คือสัญญาณถูกรบกวนได้ง่าย ความเร็วประมาณ 10-1000 เมกะบิต
 ต่อวินาที

                                          หัว RJ-45
B) Coaxial: เป็นสายทองแดงหุ้มด้วยฉนวน
• อาจเรียกว่า Coax ตย. สาย Cable TV
• แบ่งเป็นแบบ Thick และ Thin
• ข้อดี รับ-ส่งข้อมูลได้เร็วกว่าแบบแรกประมาณ 200 เมกะบิตต่อวินาที
• ปัจจุบันใช้น้อยลง เนื่องจากความก้าวหน้าของ UTP ที่สามารถในการ
ส่งข้อมูลได้เร็ว มีราคาถูก จึงเป็นที่นิยมมากกว่า
C) Fiber optic: เป็นใยแก้วที่มีขนาดเล็กกว่าเส้นผมของมนุษย์
• ใช้แสงในการนาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
• ข้อมูลอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอล (Digital) เท่านั้น
• มี Bandwidth ในการส่งข้อมูลสูงมาก = 1300 Mbps
• ไม่มีปัญหาสัญญาณรบกวน
• ข้อเสีย คือราคาแพง และติดตั้งยาก เนื่องจากไม่สามารถงอตามมุมเวลา
เดินสายได้ อย่างไรก็ตามปัจจุบันราคาเริ่มถูกลง
แบบไร้สาย Wireless Links

• เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสาร โดยไม่ต้องเชื่อมแต่ละจุดด้วยสายอีกต่อไป
เพราะในหลายกรณีไม่สารถเชื่อมโยงด้วยสายได้ เช่น ระยะทางห่างไกลกันมาก
A) Microwave: รับส่งสัญญาณผ่านคลื่นวิทยุความถี่สูง โดยต้องมีตัวเชื่อมสัญญาณ
ทุกๆ 30 ไมล์
B) Satellite: เป็นการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม จากต้นทางไปยังปลายทาง
โดยดาวเทียมจะอยู่เหนือผิวโลก ประมาณ 22,300 ไมล์
C) Broadcast Radio สื่อสารโดยใช้สัญณาณวิทยุ เช่นคลื่น AM, FM, CB




ข้อดี คือ ความยืดหยุ่นและเคลื่อนย้ายได้ง่าย
ข้อเสีย คือ ส่งข้อมูลได้ช้าและสัญณาณถูกรบกวนได้ง่าย
D) Bluetooth การสื่อสารระหว่างอุปกรณ์แบบไร้สาย
E) Cellular Radio
F) Infrared (IR) กรณีที่ระยะใกล้กันมากเช่น ห่างกันไม่เกิน 5 เมตร ใช้
เทคโนโลยีของ คลื่นระยะสั้นหรือแสงอินฟาเรดเช่น เมาส์ไร้สาย ปากกาไร้
สาย ปาล์ม มือถือ Notebook Lan
www.themegallery.com

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kalib Karn
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์bosskrittachai boss
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Mind's Am'i
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Warayut Pakdee
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายTa Khanittha
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8Nuttapat Sukcharoen
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5Aomsin Kittibullungkul
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายSisaketwittayalai School
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)วิทยาลัยเทคนิคสุโขทัย
 

Was ist angesagt? (19)

การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
 

Ähnlich wie Network

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 
Network Computer
Network ComputerNetwork Computer
Network Computerphaisack
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558PTtp WgWt
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4sawitri555
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารBeauso English
 

Ähnlich wie Network (20)

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
Network Computer
Network ComputerNetwork Computer
Network Computer
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 11
เทอม 1 คาบ 11เทอม 1 คาบ 11
เทอม 1 คาบ 11
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 

Mehr von Supatra Thomya

ประกาศผลห้องเรียนพิเศษ ม.1
ประกาศผลห้องเรียนพิเศษ ม.1ประกาศผลห้องเรียนพิเศษ ม.1
ประกาศผลห้องเรียนพิเศษ ม.1Supatra Thomya
 
Topic of project layout for writing project document M5.
Topic of project layout for writing project document M5. Topic of project layout for writing project document M5.
Topic of project layout for writing project document M5. Supatra Thomya
 
สมาคมผู้บริหารแห่งประเทศไทย
สมาคมผู้บริหารแห่งประเทศไทยสมาคมผู้บริหารแห่งประเทศไทย
สมาคมผู้บริหารแห่งประเทศไทยSupatra Thomya
 

Mehr von Supatra Thomya (8)

ประกาศผลห้องเรียนพิเศษ ม.1
ประกาศผลห้องเรียนพิเศษ ม.1ประกาศผลห้องเรียนพิเศษ ม.1
ประกาศผลห้องเรียนพิเศษ ม.1
 
Topic of project layout for writing project document M5.
Topic of project layout for writing project document M5. Topic of project layout for writing project document M5.
Topic of project layout for writing project document M5.
 
Damrong_Qouta56
Damrong_Qouta56Damrong_Qouta56
Damrong_Qouta56
 
Register
RegisterRegister
Register
 
Flowchart credit :
Flowchart credit : Flowchart credit :
Flowchart credit :
 
สมาคมผู้บริหารแห่งประเทศไทย
สมาคมผู้บริหารแห่งประเทศไทยสมาคมผู้บริหารแห่งประเทศไทย
สมาคมผู้บริหารแห่งประเทศไทย
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Ict
IctIct
Ict
 

Network

  • 1. ระบบเครือข่าย และการสื่อสาร Network Computer And Communication
  • 2. ระบบเครือข่าย  คอมพิวเตอร์สามารถนามาประยุกต์ใช้งานด้านการ สื่อสารระหว่างกันได้ เช่นเดียวกันกับเครื่องมืออื่น เช่น โทรศัพท์ มือถือ เพจเจอร์ เป็นต้น  เราสามารถนาคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องมา เชื่อมต่อกัน เพื่อสามารถใช้สื่อสารระหว่างกันได้ และ ยังได้รับประโยชน์อีกมากมาย
  • 3. การสื่อสารข้อมูล (Communication) การสื่อสารข้อมูลเป็นการรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จากต้นทาง ไปยังปลายทางผ่านอุปกรณ์เชื่อมโยง (Channel) ซึ่งอาจ เป็นสายเคเบิลหรืออุปกรณ์ไร้สาย Receiving device Sending device Communication Channel Communication Device Communication Device
  • 4. การสื่อสารข้อมูล ข้อมูล/ข่าวสาร (data/message) คือ ข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆ ที่ ต้องการส่งไปยังผู้รับ โดยข้อมูล/ข่าวสาร อาจประกอบด้วย ข้อความ ตัวเลข รูปภาพ เสียง วีดิทัศน์ หรือสื่อประสม ผู้ส่ง (sender) คือ คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้สาหรับส่งข้อมูล/ข่าวสาร ซึ่งอาจ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ กล้องวีดิทัศน์ เป็นต้น ผู้รับ (receiver) คือ คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้รับข้อมูล/ข่าวสารที่ทางผู้ส่ง ข้อมูลส่งให้ ซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เป็นต้น สื่อกลางในการส่งข้อมูล (transmission media) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่ ในการรับส่งข้อมูล/ข่าวสารไปยังจุดหมายปลายทาง โดยสื่อกลางในการส่ง ข้อมูลจะมีทั้งแบบมีสาย เช่น สายเคเบิล สายยูทีพี สายไฟเบอร์ออพติก และ สื่อกลางในการส่งข้อมูลแบบไร้สาย เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ และ ดาวเทียม เป็นต้น
  • 5. สัญญาณที่ใช้ในระบบการสื่อสาร สัญญาณที่ใช้ในระบบการสื่อสาร แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. สัญญาณแอนะล็อค (analog signal) เป็นสัญญาณที่มีขนาด แอมพลิจูด (amplitude) ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาและเป็นค่าต่อเนื่อง เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี เป็นต้น 2. สัญญาณดิจิทัล (digital signal) เป็นสัญญาณที่ไม่มีความต่อเนื่อง ที่เรียกว่า “ดิสครีต” (discrete) สัญญาณดิจิทัลถูกแทนด้วยระดับ แรงดันไฟฟ้า 2 ระดับเท่านั้น โดยแสดงสถานะเป็น “0” และ “1” ซึ่ง ตรงกับรหัสตัวเลขฐานสอง
  • 6. การถ่ายโอนข้อมูล การถ่ายโอนข้อมูลเป็นการส่งสัญญาณออกจากอุปกรณ์ส่ง ไปยังอุปกรณ์ รับ โดยจาแนกได้ 2 แบบ คือ 1. การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน เป็นการส่งข้อมูลออกมาทีละหลายบิต พร้อมกันจากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ผ่านสื่อกลางนาสัญญาณที่ มีช่องทางส่งข้อมูลหลายช่องทาง โดยทั่วไปจะเป็นสายหลายๆ เส้น ที่ มีจานวนสายส่งสัญญาณเท่ากับจานวนบิตที่ต้องการส่งในแต่ละครั้ง 2. การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิต ระหว่างจุดส่งและจุดรับ การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องการ สื่อกลางสาหรับการสื่อสารเพียงช่องทางเดียวหรือเพียงคู่สายเดียว ค่าใช้จ่ายในด้านของสายสัญญาณจะถูกกว่าแบบขนานสาหรับการส่ง ระยะทางไกลๆ
  • 8. รูปแบบการรับ-ส่งข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการรับ-ส่งข้อมูลแบบขนานหรืออนุกรมสามารถแบ่งได้ เป็น 3 แบบ ดังนี้ 1. การสื่อสารทางเดียว (simplex transmission) ข้อมูลสามารถ ส่งได้ทางเดียว โดยแต่ละฝ่ายจะทาหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เป็นผู้รับหรือ ผู้ส่ง 2. การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา (half duplex transmission) สามารถส่งข้อมูลได้ทั้งสองฝ่าย แต่จะต้องผลัดกันส่งและผลัดกันรับ จะส่ง และรับพร้อมกันไม่ได้ 3. การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา (full duplex transmission) สามารถส่งข้อมูลได้สองทางโดยที่ผรับและผู้ส่งสามารถรับส่งข้อมูลได้ในเวลา ู้ เดียวกัน เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์คู่สนทนาคุยโต้ตอบได้ในเวลาเดียวกัน
  • 10. ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบเครือข่าย ประโยชน์ เพื่อความสะดวก ปลอดภัย ดูแล การใช้อุปกรณ์ร่วมกัน เช่น การใช้ ใช้สื่อสารระหว่างบุคคล จัดการข้อมูล มักจะเก็บข้อมูลไว้ที่ เครื่องพิมพ์, scanner ร่วมกัน แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เช่น ศูนย์กลาง (Server) หากใคร แทนที่จะต้องซื้ออุปกรณ์หลายๆ ตัว การส่งจดหมายอิเล็คทรอนิกส์ ต้องการใช้ข้อมูลก็สามารถใช้ข้อมูล การสื่อสารได้ทั้งภาพและเสียง การประชุมระยะไกล เป็นต้น จาก ศูนย์กลาง (Server) ได้
  • 11. ชนิดของระบบเครือข่าย ระบบเครือข่าย แบ่งออกเป็น 4 ชนิด LAN MAN WAN Internet Local Area Metropolitan Wide Area Internetworking Network Area Network Network
  • 12. LAN (Local Area Network) เป็นการนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกัน ใน ระยะใกล้ๆ เช่น ภายในห้องเดียวกัน ชั้นเดียวกัน หรือ อาคารเดียวกัน มีระยะไม่เกิน 2-3 กิโลเมตร
  • 13. MAN (Metropolitan Area Network) หรือเครือข่ายในเขตเมือง เป็นการนาคอมพิวเตอร์มา เชื่อมต่อกัน ซึ่งอาจจะเป็นการนาเอา LAN มาเชื่อมต่อกันใน ระยะกลาง ครอบคลุมพื้นที่ ในอาเภอ หรือในจังหวัดเดียวกัน MAN
  • 14. WAN (Wide Area Network) หรือเครือข่ายวงกว้าง เป็นการนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกัน ซึ่งอาจจะเป็นการนาเอา LAN หรือ MAN มาเชื่อมต่อกัน ครอบคลุม พื้นที่ในระยะไกลเช่น ระดับภูมิภาคหรือประเทศเดียวกัน
  • 16. • ข้อมูลบนระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งเป็นส่วนย่อย (Packet) แล้วส่งไปยังปลายทาง แล้วที่ปลายทางจะทาการรวม Packet ที่ได้รับมาประกอบรวมกันขึ้นมา • การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ (ซึ่งอาจต่างชนิดกัน) สามารถเข้าใจกันได้ทุกเครื่อง โดยใช้ภาษาหรือกฎเดียวกันหมดเรียกว่า Protocol เช่น TCP/IP IPX/SPX และ NetBEUI
  • 18. อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย รีพีทเตอร์ (Repeater) ทาหน้าที่ทวนสัญญาณ คือช่วยขยายสัญญาณไฟฟ้าที่ ส่งบนสาย LAN ให้แรงขึ้นและจัดรูปสัญญาณที่เพี้ยนไปให้กลับเหมือนเดิม จากนั้นจึง ค่อยส่งต่อไป ฮับ (HUB)คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ HUBรับส่งเฟรมข้อมูลทุก เฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับ HUB จะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อ มากจะทาให้อัตราการส่งข้อมูลลดลง HUBที่ใช้ในระบบ LAN ตามมาตรฐานอีเทอร์เน็ต แบบ 10Base-Tและ 100Base-T ก็จัดเป็นอุปกรณ์ที่ทางานในลักษณะเดียวกับรีพีต เตอร์ด้วย HUB Bridge: การเชื่อมโยงระบบเครือข่ายแบบเดียวกัน (ใช้โปรโตคอลชนิดเดียวกัน) เข้าด้วยกัน เช่น Lan กับ Lan
  • 19. อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย Gateway : การเชื่อมโยงระบบเครือข่ายต่างชนิดกัน (ใช้โปรโตคอลต่างชนิดกัน) เข้าด้วยกัน เช่น LAN กับ MAN, LAN กับ Internet Router: ตัวกาหนดเส้นทางการรับ-ส่งข้อมูลเพื่อให้ข้อมูลจากผู้ส่งถึงผู้รับ ได้เร็วและถูกต้อง
  • 20. อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย สวิตซ์ (Switch) คืออุปกรณ์เครือข่ายที่ทาหน้าที่ใน เรเยอร์ที่ 2 และทาหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยัง พอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทาให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ กับพอร์ตที่เหลือส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนั้น อัตราการ รับส่งข้อมูลหรือแบนด์วิธจึงไม่ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนิยม เชื่อมต่อแบบนี้มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนกันของข้อมูล
  • 21. อุปกรณ์เพิ่มเติมในเครือข่าย โมเดม (Modem) โมเดม เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ ให้สามารถส่งสัญญาณ ผ่านสายโทรศัพท์เพื่อติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ได้โมเดมจะมีทั้งชนิดเชื่อมต่อภายนอก (External Modem) และชนิดที่เป็นการ์ดอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ (Internal Modem)
  • 22. วิธีการเชื่อมโยงระบบเครือข่าย (Network Topology) เป็นรูปแบบการนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมโยงกัน แต่ละแบบมี ความเหมาะสมในการใช้งานแตกต่างกัน • BUS Topology (เครือข่ายแบบบัส) • Star Topology (เครือข่ายแบบดาว) • Ring Topology (เครือข่ายแบบวงแหวน) • Mesh Topology (เครือข่ายแบบเมช) หมายเหตุ โหนด (Node) หมายถึง อุปกรณ์ที่นามาเชื่อมต่อ ในระบบ เครือข่าย อาจเป็น คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์และอื่น เป็นต้น
  • 23. การเชื่อมต่อแบบบัส (BUS) โหนดแต่ละตัวจะเชื่อมเข้ากับบัส ข้อดี - สามารถเพิ่มหรือลดจานวนโหนดได้โดยไม่กระทบระบบ - ถ้ามีโหนดเสียจะไม่กระทบการทางานของระบบ ข้อเสีย - อาจเกิดการชนกันของข้อมูล (Collision) ถ้ามีการส่งพร้อมกัน โปรโตคอล CSMA/CD เช่น Ethernet 10Mbps , Fast Ehternet100Mbps, 1 Gbps
  • 24. การเชื่อมต่อแบบรูปดาว (STAR) จะมีคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางการเชื่อมโยงของการรับส่งข้อมูล ข้อดี - ไม่มีการชนกันของข้อมูล โปรโตคอล ARCnet - ถ้ามีโหนดเสียจะไม่กระทบการทางานของระบบ • ความเร็ว 100 Mbps, สามารถใช้สื่อ Fiber-optic ได้ ข้อเสีย - ถ้าคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเสียทาให้ระบบเสีย
  • 25. การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (RING) การเชื่อมโยงของโหนดเป็นวงกลม ไม่มีคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางของการ รับส่งข้อมูล และต้องทาในทิศทางเดียวกัน ข้อดี - ไม่มีการชนกันของข้อมูล โปรโตคอล Token ring • ความเร็วประมาณ 4-16 Mbps ข้อเสีย - ถ้ามีโหนดเสียจะมีกระทบการทางานของระบบ
  • 26. การเชื่อมต่อแบบเมช (MESH) เป็นการเชื่อมต่อที่มีความนิยมมากและมีประสิทธิภาพสูง เนื่องจากถ้ามี เส้นทางของการเชื่อมต่อคู่ใดคู่หนึ่งขาดจากกัน การติดต่อสื่อสารระหว่างคู่นั้นยัง สามารถติดต่อได้โดยอุปกรณ์จัดเส้นทาง (router) จะทาการเชื่อมต่อเส้นทางใหม่ไป ยังจุดหมายปลายทางอัตโนมัติ การเชื่อมต่อแบบนี้มักนิยมสร้างบนเครือข่ายแบบ ไร้สาย
  • 27. ข้อตกลงในการสื่อสาร (Protocol) Ethernet ใช้ในการเชื่อมต่อแบบบัส ความเร็ว 10 Mbps ใช้สาย 10base-2 10base-5 10base-T หรือ UTP Fast Ethernet ใช้ในการเชื่อมต่อแบบบัส ความเร็ว 100-1000 Mbps ใช้สาย 100base-T Token Ring ความเร็ว 4-16 Mbps ข้อมูลไม่ชนกัน เนื่องจากส่งในทิศทางเดียว ARC Net
  • 28. อุปกรณ์การเชื่อมโยง (Network Media and Hardware) ใช้เชื่อมโยงโหนดแต่ตวเข้ากับระบบเครือข่าย ั แบบใช้สาย  Twisted Pair, Coaxial Cable, Fiber Optic แบบไร้สาย Infrared light, Microwave, Satellite, Broadcast Radio, Bluetooth, Cellular Radio
  • 30. A) Twisted pair: เป็นสายทองแดงบิดเกลียวหุ้มด้วยฉนวน • ปกติจะใช้ชนิดที่เรียกว่า UTP ซึ่งย่อมาจาก Unshielded twisted-pair • Twisted-pair แบบที่มี Shield เรียกว่า STP • ข้อดี คือราคาถูก หาง่าย เช่น สายโทรศัพท์, CAT 5 • ข้อเสีย คือสัญญาณถูกรบกวนได้ง่าย ความเร็วประมาณ 10-1000 เมกะบิต ต่อวินาที หัว RJ-45
  • 31. B) Coaxial: เป็นสายทองแดงหุ้มด้วยฉนวน • อาจเรียกว่า Coax ตย. สาย Cable TV • แบ่งเป็นแบบ Thick และ Thin • ข้อดี รับ-ส่งข้อมูลได้เร็วกว่าแบบแรกประมาณ 200 เมกะบิตต่อวินาที • ปัจจุบันใช้น้อยลง เนื่องจากความก้าวหน้าของ UTP ที่สามารถในการ ส่งข้อมูลได้เร็ว มีราคาถูก จึงเป็นที่นิยมมากกว่า
  • 32. C) Fiber optic: เป็นใยแก้วที่มีขนาดเล็กกว่าเส้นผมของมนุษย์ • ใช้แสงในการนาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง • ข้อมูลอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอล (Digital) เท่านั้น • มี Bandwidth ในการส่งข้อมูลสูงมาก = 1300 Mbps • ไม่มีปัญหาสัญญาณรบกวน • ข้อเสีย คือราคาแพง และติดตั้งยาก เนื่องจากไม่สามารถงอตามมุมเวลา เดินสายได้ อย่างไรก็ตามปัจจุบันราคาเริ่มถูกลง
  • 33. แบบไร้สาย Wireless Links • เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสาร โดยไม่ต้องเชื่อมแต่ละจุดด้วยสายอีกต่อไป เพราะในหลายกรณีไม่สารถเชื่อมโยงด้วยสายได้ เช่น ระยะทางห่างไกลกันมาก A) Microwave: รับส่งสัญญาณผ่านคลื่นวิทยุความถี่สูง โดยต้องมีตัวเชื่อมสัญญาณ ทุกๆ 30 ไมล์ B) Satellite: เป็นการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม จากต้นทางไปยังปลายทาง โดยดาวเทียมจะอยู่เหนือผิวโลก ประมาณ 22,300 ไมล์
  • 34. C) Broadcast Radio สื่อสารโดยใช้สัญณาณวิทยุ เช่นคลื่น AM, FM, CB ข้อดี คือ ความยืดหยุ่นและเคลื่อนย้ายได้ง่าย ข้อเสีย คือ ส่งข้อมูลได้ช้าและสัญณาณถูกรบกวนได้ง่าย D) Bluetooth การสื่อสารระหว่างอุปกรณ์แบบไร้สาย E) Cellular Radio F) Infrared (IR) กรณีที่ระยะใกล้กันมากเช่น ห่างกันไม่เกิน 5 เมตร ใช้ เทคโนโลยีของ คลื่นระยะสั้นหรือแสงอินฟาเรดเช่น เมาส์ไร้สาย ปากกาไร้ สาย ปาล์ม มือถือ Notebook Lan