SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 22
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ในการเขียนโปรแกรม ที่เกี่ยวกับการเก็บข้อมูลที่เป็นชนิดเดียวกันจานวน
มากๆ นั้น ถ้าจะใช้ตัวแปรอย่างที่ผ่านมาก่อนหน้านี้ในการเก็บข้อมูลดังกล่าว จะ
เป็นความยุ่งยากตั้งแต่การเก็บจนถึงการเข้าถึงข้อมูล ทางออกในเรื่องนี้ก็คือการ
ใช้ตัวแปรชุด ซึ่งเป็นตัวแปรที่ใช้ชื่อเพียงชื่อเดียว แต่สามารถที่จะกาหนดให้
เสมือนมีตัวแปรได้หลายตัว โดยตัวแปรแต่ละตัวจะมีดัชนีหรือตัวที่ใช้ในการ
บอกความแตกต่างกันระหว่างตัวแปร ข้อมูลในตัวแปรเหล่านี้ถูกเรียกว่า
‚สมาชิก (Element)‛ ส่วนดัชนีหรือตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูลในตัวแปรชุด จะถูก
อ้างอิงโดยสับสคริป (Subscript) ที่เป็นจานวนเต็มที่กากับไว้ จานวนเต็มเหล่านี้
จะมีค่าไม่เป็นลบ โดยทั่วไปจะเริ่มจากค่าศูนย์
นอกเหนือจากตัวแปรชุด ยังมีเรื่องของชนิดของข้อมูลอีกแบบหนึ่ง ที่
ไม่ใช่ชนิดของข้อมูลแบบพื้นฐาน แต่เป็นชนิดของข้อมูลที่มีบทบาทอย่าง
มากในหลายโปรแกรมประยุกต์ เพราะมีข้อมูลจานวนมากที่เป็นแบบชนิด
ดังกล่าวนี้ นั่นคือชนิดข้อมูลแบบที่เรียกว่า สตริง (String) นั่นเอง
1.ความหมายของตัวแปรชุด
ตัวแปรชุด หมายถึง การตั้งชื่อตัวแปรในหน่วยความจาที่ใช้ชื่อเพียงชื่อเดียว แต่มีตัวเลข
แสดงตาแหน่งกากับไว้เพื่อเป็นการบอกว่าเป็นตัวแปรชุดที่เท่าไรในชุดนั้น ในภาษาซีตัวแปร
ชุดสามารถมีหลายมิติ เช่น
ตัวแปรชุด 1 มิติ (One Dimensional Array)
คือตัวแปรชุดที่ถูกกาหนดโดยใช้ [ ] คู่เดียว และเวลาติดต่อข้อมูลใดๆ ในตัวแปรชุดก็
สามารถทาได้โดยใช้ subscript ตัวเดียว
รูปแบบ
type array-name[n];
type หมายถึง ชนิดตัวแปร
array-name หมายถึง ชื่อตัวแปรที่ต้องการประกาศเป็นตัวแปรชุด
n หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตาแหน่งของข้อมูลในชุดนั้น ซึ่งจะต้องเป็นเลขจานวนเต็มเสมอ
ตัวแปรชุด 2 มิติ (Two Dimensional Array)
คือตัวแปรชุดที่ถูกกาหนดขึ้นโดยใช้ [ ] 2 คู่ มีการจัดข้อมูลเป็นแถว เป็น
คอลัมน์ เช่นข้อมูลแบบ Matrix คือจะมีตัวเลขที่แสดงตาแหน่ง 2 ตัว โดยตัว
แรกจะเป็นตัวเลขที่แสดงตาแหน่งแถว ส่วนตัวที่สองจะเป็นตัวเลขที่แสดง
ตาแหน่งคอลัมน์
รูปแบบ
type array-name[r][c];
type หมายถึง ชนิดของตัวแปร
array-name หมายถึง ชื่อตัวแปร
r หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตาแหน่งแถว
c หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตาแหน่งคอลัมน์
2.การนาข้อมูลเข้าไปเก็บที่ตัวแปรชุด
การสร้างตัวแปรชุด เป็นการกาหนดเนื้อที่ในหน่วยความจาให้กับตัวแปร
ตามชนิดของตัวแปรที่กาหนด แต่ยังไม่มีข้อมูลเก็บอยู่ ซึ่งสามารถนาข้อมูล
เข้าเก็บในตัวแปรชุดได้หลายวิธีดังนี้
1. การกาหนดค่าเริ่มต้น เป็นการนาข้อมูลเข้าไปเก็บไว้ในตัวแปรชุด ตั้งแต่
การประกาศตัวแปรชุด ตัวอย่างเช่น
int num[3] = {5, 7, 4};
ในที่นี้จะได้ว่า num[0] = 5, num[1] = 7, num[2] = 4
char na e[4] = {‘J’, ‘a’, ‘c’, ‘k’};
ในที่นี้จะได้ว่า name[0] = ‘J’, name [1] = ‘a’, name [2] = ‘c’, name [3] = ‘k’
2. การรับข้อมูลทันที เป็นการนาเข้าข้อมูลชุดในขณะที่โปรแกรมทางาน
อยู่ โดยการหยุดรอรับข้อมูลที่พิมพ์เข้าทางแป้นพิมพ์ เข้าไปเก็บไว้ในตัวแปร
ชุด ตัวอย่างเช่น
float score[10];
…
for (i = 0; i < 10; i++) {
printf(‚nEnterstudentsscore: ‛);
scanf(‚ %f‛, &score[i]);
}
เป็นการใช้การวนซ้ายแบบ for ที่มีตัวแปรควบคุม i ควบคุมให้มีการ
วนรอบเพื่อหยุดรอรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์รอบละหนึ่งข้อมูล และนาไปเก็บที่
ตัวแปรชุด score ที่สับสคริป i
3. การรับข้อมูลทางแฟ้มข้อมูล เป็นการนาเข้าข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลเข้าเก็บ
ในตัวแปรชุด วิธีนี้ไม่ต้องเสียเวลาในการพิมพ์ข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์ เนื่องจาก
ข้อมูลได้ถูกเตรียมและบันทึกไว้ล่วงหน้าในแฟ้มข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ดังแสดง
ในตัวอย่าง
i = 0;
while (!feof (scorefile)) {
fscanf (scorefile, ‚ %f‛, &score[i]);
i = i+1;
}
ตัวอย่างนี้เป็นการอ่านข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลชื่อ scorefile ทีละข้อมูลไปเก็บ
ไว้ที่ตัวแปรชุด score โดยที่ค่าของข้อมูลในตัวแปรชุดเป็นแบบจานวนจริง ทั้งนี้
โปรแกรมจะวนอ่านข้อมูลไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบเครื่องหมายจบไฟล์ (end of
file marker)
3.การพิมพ์ข้อมูลจากตัวแปรชุด
เป็นการนาค่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปรชุด มาแสดงออกทางจอภาพ มี
ตัวอย่างการใช้คาสั่งดังนี้
for (i = 0; i < 5; i++) {
printf(‚n%5.2f‛, score[i])
}
ตัวอย่างนี้เป็นการพิมพ์ข้อมูลจากตัวแปรชุด score ที่เป็นแบบจานวนจริงที
ละค่าทั้งหมด 5 ครั้ง
4. การดาเนินการกับตัวแปรชุด
ข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปรชุดสามารถนามาดาเนินการได้เหมือนตัวแปร
ทั่วไป ต่างกันที่ตัวแปรของตัวแปรชุดมีสับสคริป ตัวอย่างการดาเนินการที่
เกี่ยวข้องกับตัวแปรชุดเช่น การหาค่าสูงสุด หรือค่าต่าสุดของค่าที่เก็บไว้ใน
ตัวแปรชุด การค่าผลรวม หาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นต้น
พิจารณาส่วนของชุดคาสั่งต่อไปนี้
int num [9] = {78, 34, 69, 80, 75, 44, 57, 39, 50};
int maxnum = 0;
…
for (i = 0; i < 9; i++) {
if (num [i] > maxnum) {
maxnum = num [i];
}
}
ตัวอย่างนี้จะเป็นการหาค่าสูงสุดของค่าข้อมูลที่เป็นจานวนเต็มที่เก็บไว้
ในตัวแปรชุด num ทั้งนี้จะมีการกาหนดค่าเริ่มต้นให้ตัวแปร maxnum เป็น 0
จากนั้นทาการเปรียบเทียบค่าแต่ละค่าที่เก็บไว้ที่ตัวแปร num และถ้าค่าใดมีค่า
มากกว่าค่าที่เก็บไว้ใน maxnum ค่านั้นจะถูกกาหนดให้เป็นค่าของ maxnum
แทน ทาเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนหมดทุกค่าที่อยู่ในตัวแปรชุด num ดังกล่าว จะได้
ค่าสูงสุดเก็บไว้ที่ maxnum
พิจารณาส่วนของชุดคาสั่งต่อไปนี้
float score[7] = {43.5, 44.3, 36.3, 28.0, 34.8, 37.6, 49.3};
float total = 0;
float avg;
for (i = 0; i < 7; i++) {
total = total + score [i];
}
avg = total / 7;
ตัวอย่างนี้จะเป็นการหาผลรวม และค่าเฉลี่ยของค่าข้อมูลที่เป็นจานวน
จริงที่เก็บไว้ในตัวแปรชุด score ทั้งนี้จะมีการกาหนดค่าเริ่มต้นให้ตัวแปร
total เป็น 0 จากนั้นทาการวนซ้าในการบวกค่าสะสมของค่าในตัวแปรชุด
score เข้าไปที่ตัวแปร total ทีละค่า จนหมดทุกค่าที่อยู่ในตัวแปรชุด score ซึ่ง
ในที่สุดตัวแปร total จะเก็บค่าผลบวกของค่าทั้งหมด จากนั้นนาเอาค่า
ดังกล่าวมาหารด้วยจานวนข้อมูลในตัวแปรชุด score ซึ่งนั่นคือค่าเฉลี่ยของ
ข้อมูลในตัวแปรชุด score แล้วไปเก็บไว้ที่ตัวแปร avg
สตริง (String) หรือ ตัวแปรชุด 1 มิติ ชนิดอักขระ
เราสามารถรวมอักขระแต่ละตัวเข้าด้วยกันเป็นสตริง (string) หรือ
ข้อความ โดยประกาศให้ตัวแปรที่จะเก็บสตริงหรือข้อความเป็นตัวแปร
ตัวแปรชุด 1 มิติ ชนิดอักขระ
เช่น char code[6];
[0] [1] [2] [3] [4] [5]
code
1 1 1 1 1 1
byte byte byte byte byte byte
หมายถึงประกาศให้ตัวแปร code เป็นตัวแปรชุด 1 มิติขนาด 6 ช่อง แต่
ละช่องเก็บข้อมูลประเภทอักขระ
1. การกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับสตริง
char name[ ] = “MWIT School”; จะได้
[0] [1] [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8] [9] [10] [11]
name
1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
byte byte byte byte byte byte byte byte byte byte byte byte
โดยที่ตาแหน่ง name[11] จะเก็บค่า 0 ไว้อัตโนมัติ เพื่อแสดงการสิ้นสุดข้อความ
M W I T S c h o o L 0
2. การรับและแสดงผลสตริง
คาสั่งรับและแสดงผล จะปรากฏคาสั่งที่ใช้ในการรับค่าและแสดงผล
สตริงหรือข้อความ ดังนี้
คำสั่งรับค่ำ ตัวอย่ำง
scanf(‚%s‛,ชื่อตัวแปรสตริง); scanf(‚%s‛,name); //สังเกตว่าไม่ต้องใส่ &
หน้าตัวแปร name
gets(ชื่อตัวแปร); gets(name);
คำสั่งแสดงผล ตัวอย่ำง
printf(‚%s‛,ชื่อตัวแปรสตริง); printf(‚%s‛,name);
puts(ชื่อตัวแปร); puts(name);
3.ฟังก์ชันสตริงพื้นฐาน
โดยทั่วไปแล้วข้อมูลที่ได้พบในชีวิตประจาวันส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลที่อยู่
ในรูปแบบสตริง เช่น ชื่อพนักงาน ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ เป็นต้น แต่จากที่ได้
กล่าวมาแล้ว สตริงเป็นตัวแปรชุดของอักขระ กระบวนการที่เกี่ยวกับการ
ประมวลผลสตริงจึงมีความซับซ้อนมากกว่าข้อมูลรูปแบบอื่นๆ ซึ่งการ
ดาเนินการของสตริงจะอยู่ในรูปแบบของฟังก์ชัน ทั้งนี้จะต้องมี string.h ใน
ส่วนที่เป็น Header File
1.ฟังก์ชันเชื่อมต่อสตริง เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเชื่อมต่อสองสตริงเข้า
ด้วยกัน โดยมีรูปแบบของฟังก์ชันดังนี้
รูปแบบ
strcat (string1, string2);
ฟังก์ชันนี้จะเหมือนการเชื่อมต่อ srting1 ด้วย string2 ทั้งนี้ string1 ต้องมี
เนื้อที่เพียงพอในการที่จะเชื่อมต่อ string 2 เข้าไป นอกจากนี้ string2 ก็ยังมีค่า
คงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง มีตัวอย่างการใช้งานดังนี้
char name1[20]= ‚Jack ‛;
char name2[10]= ‚Rose‛;
…
strcat (name1, name2);
จะได้ว่า name1 = ‚Jack Rose‛ ส่วน name 2 = ‚Rose‛ เหมือนเดิม
2. ฟังก์ชันสาเนาสตริง เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการทาสาเนาสตริง โดยมีรูปแบบของ
ฟังก์ชันดังนี้
รูปแบบ
strcpy (string1, string2);
ฟังก์ชันนี้จะทาการสาเนา srting2 ไปไว้ที่ string1 ทั้งนี้ string1 ต้องมีเนื้อที่
เพียงพอ เมื่อเสร็จแล้วทั้ง string1 และ string2 จะมีค่าเหมือนกัน มีตัวอย่าง
การใช้งานดังนี้
char name1[20]= ‚Jack ‛;
char name2[10]= ‚Rose Apple‛;
…
Strcpy (name1, name2);
จะได้ว่า namel = ‚Rose Apple‛ และ name 2 = ‚Rose Apple‛
3. ฟังก์ชันเปรียบเทียบสตริง เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปรียบเทียบสองสตริง โดยมีรูปแบบของ
ฟังก์ชันดังนี้
รูปแบบ
strcmp (string1, string2);
ฟังก์ชันนี้จะทาการเปรียบเทียบ string1 และ srting2 ทั้งนี้ฟังก์ชันจะมีค่าเป็นศูนย์ถ้า
string1 ถ้าทั้งสองสตริงเหมือนกัน มีค่าน้อยกว่าศูนย์ถ้า string1 น้อยกว่า string2 และมี
ค่ามากกว่าศูนย์ ถ้า string1 มากกว่า string2 ดังตัวอย่างการใช้งานดังนี้
char name1[20]= ‚Jack‛;
char name2[10]= ‚Rose‛;
…
x = strcmp (name1, name2);
ในกรณีนี้ฟังก์ชัน strcmp จะมีค่าน้อยกว่าศูนย์ เนื่องจากว่าสตริง ‚Jack‛ น้อยกว่า
สตริง ‚Rose‛ แต่ถ้าคาสั่ง strcmp(namel, ‚Jack‛); ฟังก์ชันนี้จะมีค่าเท่ากับศูนย์
4. ฟังก์ชันสาเนาสตริง เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการทาสาเนาสตริง โดยมีรูปแบบ
ของฟังก์ชันดังนี้
รูปแบบ
strcpy (string1, string2);
ฟังก์ชันนี้จะทาการสาเนา srting2 ไปไว้ที่ string1 ทั้งนี้ string1 ต้องมีเนื้อที่
เพียงพอ เมื่อเสร็จแล้วทั้ง string1 และ string2 จะมีค่าเหมือนกัน มีตัวอย่างการ
ใช้งานดังนี้
char name1[20]= ‚Jack ‛;
char name2[10]= ‚Rose Apple‛;
…
strcpy (name1, name2);
จะได้ว่า namel= ‚Rose Apple‛ และ name2 = ‚Rose Apple‛
สรุป
ตัวแปรชุดที่เป็นตัวแปรที่นาไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
ข้อมูลที่เป็นชนิดเดียวกัน เป็นจานวนมากๆ การมีตัวแปรชุดเพิ่มความยืดหยุ่น
ให้กับการเขียนโปรแกรม เพราะสามารถเก็บข้อมูลจานวนมากๆ ไว้ในหน่วย
ความจาได้ เมื่อเก็บได้ การจะนาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ในกระบวนการใด
อย่างไรก็ไม่ใช่เรื่องที่ยาก ส่วนเรื่องของชนิดข้อมูลที่เป็นแบบสตริงนั้น ก็เป็น
ชนิดข้อมูลที่สาคัญ เพราะต้องนาไปใช้มาก การดาเนินการที่เกี่ยวข้องกับ
สตริงเป็นสิ่งที่ต้องศึกษาให้เข้าใจ เพราะมีหลายการดาเนินการที่มีความ
ซับซ้อน ไม่ง่ายเหมือนกับการดาเนินการกับข้อมูลชนิดอื่นๆ การดาเนินการ
ในสตริงส่วนใหญ่ เป็นเรื่องของการนาฟังก์ชันที่ได้สร้างไว้แล้วนั้นนามาใช้
ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจถึงหน้าที่การทางาน รวมถึงข้อจากัด
หรือเงื่อนไขต่างๆ ของการใช้ฟังก์ชันเหล่านั้น
สมาชิก
นาย ณัฐชนน หมอกลาง เลขที่ 2
นาย กฤษณกาญจน์ กันเจียมตัว เลขที่ 5
นาย ปฐมพร ฉัตรทันท์ เลขที่8
นาย พงศ์ระพี ศิริเหลืองทอง เลขที่ 9
น.ส. ทิพย์อักษร โตแก้ว เลขที่ 18
น.ส. ประภัสสร บุญเงิน เลขที่21
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 / 2

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นFinian Nian
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระLacus Methini
 
Java-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String OperationsJava-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String OperationsWongyos Keardsri
 
Java-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional ArraysJava-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional ArraysWongyos Keardsri
 
Java-Chapter 02 Data Operations and Processing
Java-Chapter 02 Data Operations and ProcessingJava-Chapter 02 Data Operations and Processing
Java-Chapter 02 Data Operations and ProcessingWongyos Keardsri
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรMook Sasivimon
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานPrapatsorn Keawnoun
 
บทที่ 6 อาร์เรย์
บทที่ 6 อาร์เรย์บทที่ 6 อาร์เรย์
บทที่ 6 อาร์เรย์Theeravaj Tum
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)tumetr
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTAreeya Onnom
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงdefeat overcome
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระMook Sasivimon
 
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตJava Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตThanachart Numnonda
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระAreeya Onnom
 

Was ist angesagt? (19)

คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
Presenter1234567
Presenter1234567Presenter1234567
Presenter1234567
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
 
Java-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String OperationsJava-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String Operations
 
Java-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional ArraysJava-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional Arrays
 
Java-Chapter 02 Data Operations and Processing
Java-Chapter 02 Data Operations and ProcessingJava-Chapter 02 Data Operations and Processing
Java-Chapter 02 Data Operations and Processing
 
..Arrays..
..Arrays....Arrays..
..Arrays..
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันโปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
 
METHODS
METHODSMETHODS
METHODS
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
บทที่ 8 Methods
บทที่ 8 Methodsบทที่ 8 Methods
บทที่ 8 Methods
 
บทที่ 6 อาร์เรย์
บทที่ 6 อาร์เรย์บทที่ 6 อาร์เรย์
บทที่ 6 อาร์เรย์
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตJava Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 

Ähnlich wie งานนำเสนอ1

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3KEk YourJust'one
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระAreeya Onnom
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นFinian Nian
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ Areeya Onnom
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรKomkai Pawuttanon
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาT'tle Tanwarat
 

Ähnlich wie งานนำเสนอ1 (20)

Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Arrayข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Array
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
08 arrays
08 arrays08 arrays
08 arrays
 
C lang
C langC lang
C lang
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
ข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Arrayข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Array
 
ข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Arrayข้อมูลชนิด Array
ข้อมูลชนิด Array
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 
3.Expression
3.Expression3.Expression
3.Expression
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 

งานนำเสนอ1