SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
LOGO
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญระดับอุดมศึกษา
 รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
prachyanun@hotmail.com
http://www.prachyanun.com
LOGO
ขอบข่ายการอบรม
Learning
Management
System
LMS MOODLE
การทาเอกสารประกอบการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
เครื่องมือที่ใช้ในการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ โดยผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ
LMS MOODLE
ความสาคัญในการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
การทาวิจัยเพื่อรายงานผลการ
พัฒนาผู้เรียนเป็นสาคัญ
PBRU
LOGO
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในระดับอุดมศึกษา
การจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาจะต้องยึดหลัก
ที่ว่าผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมุ่งเน้น “การเรียนรู้” มากกว่า
“การสอน” โดยให้นักศึกษาได้รู้จักวิธีการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง มีจิตใจแห่งการใฝ่ รู้ รู้จักการเสาะแสวงหาความรู้อยู่
ตลอดชีวิต นอกจากนั้นนักศึกษาจะต้องได้รับการฝึกให้มี
ความสามารถในการวิพากษ์ หรือการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
มีความคิดริเริ่ม มีทักษะในการประกอบอาชีพและยึดมั่นใน
วัฒนธรรมอันดีงาม
LOGO
งานในตาแหน่งวิชาการ
ข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของสายวิชาการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
2. งานในตาแหน่งวิชาการ
2.1 มีจานวนชั่วโมงสอนไม่น้อยกว่าภาระงาน
ขั้นต่า
2.2 มีประมวลรายวิชา/แผนการสอน
www.prachyanun.com
ประมวลรายวิชา/แผนการสอน
 1. มีประมวลรายวิชา/แผนการสอน ก่อนการเปิดภาคเรียน
 2. มีประมวลรายวิชา/แผนการสอนที่มีเนื้อหาและรูปแบบ
ตรงตามที่กาหนดในกรอบ TQF หรือแผนการสอน
 3. มีประมวลรายวิชา/แผนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการ
เรียนรู้ด้วยตนเองและให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งใน
และนอกห้องเรียนหรือจากการทาวิจัย หรือให้ผู้มี
ประสบการณ์ทางวิชาการ/วิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชน
ภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอน
www.prachyanun.com
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification)
ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการของแต่ละรายวิชาเพื่อให้การ
จัดการเรียนการสอนสอดคล้องและเป็นไปตามที่วางแผนไว้ในรายละเอียด
ของหลักสูตร ซึ่งแต่ละรายวิชาจะกาหนดไว้อย่างชัดเจนเกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์และรายละเอียดของเนื้อหาความรู้ในรายวิชา แนวทางการ
ปลูกฝังทักษะต่างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆที่นักศึกษาจะได้รับการพัฒนา
ให้ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายของรายวิชา มีการกาหนดรายละเอียด
เกี่ยวกับระยะเวลาที่ใช้ในการเรียน วิธีการเรียน การสอน การวัดและ
ประเมินผลในรายวิชา ตลอดจนหนังสือหรือสื่อทางวิชาการอื่นๆที่จาเป็น
สาหรับการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังกาหนดยุทธศาสตร์ในการประเมินรายวิชา
และกระบวนการปรับปรุง www.prachyanun.com
มคอ. 3
ประกอบด้วย 7 หมวด ดังนี้
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
www.prachyanun.com
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
2. จานวนหน่วยกิต
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
8. สถานที่เรียน
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
www.prachyanun.com
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
..................................................................................
..........................................................................
..............................................................................
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
อธิบายโดยย่อเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนารายวิชานี้หรือการ
เปลี่ยนแปลงสาคัญ ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น เพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ web
based การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของรายวิชาซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยใหม่ๆ ในสาขา
www.prachyanun.com
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการ
แก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
 ระบุจานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่จะให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการ
แก่นักศึกษานอกชั้นเรียน และวิธีการสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบ
กาหนดเวลาล่วงหน้า
ต.ย. - อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความ
ต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
www.prachyanun.com
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่งหวัง ซึ่ง
ต้องสอดคล้องกับที่ระบุไว้ในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อ
มาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum
Mapping) ตามที่กาหนดในรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
โดยมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้าน ให้แสดงข้อมูลต่อไปนี้
 1 สรุปสั้นๆ เกี่ยวกับความรู้ หรือทักษะที่รายวิชามุ่งหวังที่จะพัฒนานักศึกษา
 2 คาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการสอนที่จะใช้ในรายวิชาเพื่อพัฒนาความรู้ หรือทักษะใน
ข้อ 1
 3 วิธีการที่จะใช้วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชานี้เพื่อ
ประเมินผลการเรียนรู้ในมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้านที่เกี่ยวข้อง
www.prachyanun.com
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ)
1. คุณธรรม จริยธรรม
2. ความรู้
3. ทักษะทางปัญญา
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
 สิ่งที่ต้องพัฒนา
 วิธีการสอน
 วิธีการประเมินผล
www.prachyanun.com
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
สัปดาห์ที่ หัวข้อการสอน/รายละเอียด จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการสอน/
สื่อการสอน
อาจารย์ผู้สอน
1 บทที่ 1 ระบบสารสนเทศในองค์กร
- ความหมายและองค์ประกอบระบบ
สารสนเทศ
- ระบบสารสนเทศเชิงธุรกิจ
- การพัฒนาระบบสารสนเทศ
- จริยธรรมและปัจจัยทางสังคม (การดักจับ
จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์)
- การใช้ระบบสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
3 บรรยาย
ยกตัวอย่าง
ประกอบ อภิปราย
กลุ่มจาก
กรณีศึกษา
www.prachyanun.com
1. แผนการสอน ระบุหัวข้อ/รายละเอียด สัปดาห์ที่สอน จานวนชั่วโมงการ
สอน (ซึ่งต้องสอดคล้องกับจานวนหน่วยกิต) กิจกรรมการเรียนการสอนและ
สื่อที่ใช้ รวมทั้งอาจารย์ผู้สอน ในแต่ละหัวข้อ/รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล (ต่อ)
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ระบุวิธีการประเมินผลการเรียนรู้
หัวข้อย่อยแต่ละหัวข้อตามที่ปรากฏในแผนที่แสดงการกระจายความ
รับผิดชอบของรายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่
กาหนดในรายละเอียดของหลักสูตร สัปดาห์ที่ประเมิน และสัดส่วนของการ
ประเมิน
www.prachyanun.com
กิจกรรม ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่
ประเมิน
สัดส่วนของ
การประเมิน
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. ตาราและเอกสารหลัก
ระบุตาราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบ
ต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญอื่นๆ ซึ่งนักศึกษา
จาเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบ
ต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญอื่นๆ ซึ่งนักศึกษาควร
ศึกษาเพิ่มเติม
www.prachyanun.com
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ระบุวิธีการประเมินที่จะได้ข้อมูลการสอน เช่น จาก
ผู้สังเกตการณ์ หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของนักศึกษา เป็นต้น
3. การปรับปรุงการสอน อธิบายกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอน เช่น คณะ/
ภาควิชามีการกาหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอนไว้อย่างไรบ้าง การวิจัยในชั้น
เรียน การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เป็นต้น
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา อธิบายกระบวนการ
ที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของ
รายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย กระบวนการอาจจะ
ต่างกันไปสาหรับรายวิชาที่แตกต่างกัน หรือสาหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา อธิบาย
กระบวนการในการนาข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อwww.prachyanun.com
มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา
2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
3. การแสดงแผนที่การกระจายความรับผิดชอบ
มาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา
(Curriculum Mapping) เพื่อแสดง
ถึงความร่วมมือกันของคณาจารย์ในหลักสูตรในการเพื่อ
พัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้ให้แก่นักศึกษา
www.prachyanun.com
การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา
คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนักศึกษา
ด้านการเป็นผู้ประกอบการ กาหนดให้มีรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นผู้ประกอบการ เพื่อ
เตรียมความพร้อมในการสร้างธุรกิจ การบริหารจัดการ และ
นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในองค์กร
ด้านบุคลิกภาพ มีการสอดแทรก เรื่องการแต่งกาย การเข้าสังคม เทคนิคการ
เจรจาสื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
และการวางตัวในการทางานในบางรายวิชาที่เกี่ยวข้อง สาหรับ
ใช้ในการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ และ ใช้ในกิจกรรมปัจฉิม
นิเทศ ก่อนที่นักศึกษาจะสาเร็จการศึกษา
ด้านคุณธรรม จริยธรรม มีการสอดแทรกในแต่ละวิชา โดยสอนให้มีจิตสานึก
มีคุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรมอันดีงาม
การพัฒนาผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านความรู้
ด้านทักษะทางปัญญา
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ
รับผิดชอบ
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
www.prachyanun.com
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม
นักศึกษาต้องปฏิบัติตามระเบียบวินัยขั้นพื้นฐาน เช่น การเข้าเรียนตามเวลา
ที่กาหนด การทางานตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบ ปฏิบัติ
ตนเป็นสมาชิกของกลุ่มที่ดีสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของตนเอง การ
ยอมรับฟังความคิดเห็น และเคารพสิทธิของบุคคลอื่น มีความซื่อสัตย์สุจริต
ทั้งต่อตนเองและบุคคลอื่น ไม่ทาการทุจริตในการสอบ ไม่ทาการลอกเลียน
ผลงานทางวิชาการของผู้อื่นโดยปราศจากการอ้างอิง
อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนทุก
รายวิชาให้มีความเหมาะสมกลมกลืนกับเนื้อหาที่สอน รวมถึงการประพฤติ
ตนเป็นแบบอย่างที่ดี อาจารย์อาจมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรม เช่น การประกาศเกียรติคุณยกย่องนักศึกษาที่ทาความดี มีความ
เสียสละ และสร้างคุณประโยชน์แก่สังคมwww.prachyanun.com
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.ประเมินจากพฤติกรรมความมีวินัยและความพร้อม
เพรียงในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
2.ประเมินจากพฤติกรรมการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้น
เรียน การส่งงานตามที่ได้รับมอบหมายในระยะเวลาที่
กาหนด
3.ประเมินจากการกระทาการทุจริตในการสอบ
4.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ฯลฯ
www.prachyanun.com
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
การจัดกิจกรรมเรียนการสอนที่มีความหลากหลาย มีกิจกรรม
ส่งเสริมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และเน้นหลักการทาง
ทฤษฎี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของแต่ละรายวิชาตลอดจน
เนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ โดยใช้การสอนแบบผู้เรียนเป็น
สาคัญ การสอนแบบตั้งคาถาม การมอบหมายงานให้คิดวิเคราะห์
แก้ไขปัญหา
นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง เช่น เชิญ
ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษเฉพาะ
เรื่อง เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ที่หลากหลายเป็นการต่อยอดจาก
องค์ความรู้เดิม การศึกษาดูงานนอกสถานที่
www.prachyanun.com
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้
1.การทดสอบย่อย
2.การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3.การนาเสนอรายงานในชั้นเรียน
4.ประเมินจากรายงาน/บันทึกการเรียนรู้ของนักศึกษา/
โครงการ/อื่น ๆ ที่นักศึกษาจัดทา
ฯลฯ
www.prachyanun.com
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา
1. กรณีศึกษา
2. สอนแบบตั้งคาถาม และอาจารย์ให้ข้อมูลป้ อนกลับ
3. มอบหมายงานให้ค้นคว้า เขียนรายงาน และนาเสนอในชั้น
เรียน
4. จัดกิจกรรม อภิปรายกลุ่ม แสดงความคิดเห็น โดยให้นักศึกษา
ได้มีส่วนร่วมในการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ในองค์ความรู้ใหม่
เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสปฏิบัติจริง
5. ทบทวนบทเรียนเดิม เชื่อมโยงสู่บทเรียนใหม่
ฯลฯ www.prachyanun.com
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา
ประเมินตามความเป็นจริงจากผลงานและการปฏิบัติ
ของนักศึกษา เช่น แบบฝึกหัด รายงานการวิเคราะห์
แก้ไขปัญหา ตรวจเนื้อหาของรายงานการค้นคว้า และ
การอ้างอิงเอกสารในรายงานการค้นคว้า การใช้ภาษา
ในเอกสารรายงาน การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการ
นาเสนอผลงาน สังเกตการอภิปราย การแสดงความ
คิดเห็น การตอบคาถาม หรือการใช้แบบทดสอบ เป็น
ต้น
www.prachyanun.com
กลยุทธ์ในการสอนพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบใช้หลัก
1.มอบหมายงานกลุ่ม
2.จัดให้มีกิจกรรม การอภิปราย และแสดงความคิดเห็น
3.การมอบหมายงานให้นักศึกษาอ่านบทเรียนล่วงหน้าแล้ว
นามาถ่ายทอดให้เพื่อนฟังในชั้นเรียน
4.จัดให้มีภาคปฏิบัติในรายวิชา
5.การแนะนาหรือให้บทเรียนในชั้นปีแรกที่เน้นย้าในชั้นปีที่
สูงขึ้น
www.prachyanun.com
กลยุทธ์การประเมินผลด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบ
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ประเมินจากพฤติกรรม การอภิปราย การแสดงออก
ของนักศึกษาในการนาเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
การสอบปฏิบัติ หรือนักศึกษาประเมินเพื่อนร่วมกลุ่ม
กิจกรรม เป็นต้น
www.prachyanun.com
กลยุทธ์การสอน
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะการ
วิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสน
กลยุทธ์ที่ใช้ เช่น
1.การใช้สื่อเคลื่อนไหว
2.การมอบหมายงานเดี่ยว/กลุ่ม
3.การจัดให้มีรายวิชาโครงการ
4.การมอบหมายให้ค้นคว้า เขียนรายงานและนาเสนองาน
กลุ่มเทศ
www.prachyanun.com
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. ประเมินจากการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการนาเสนอผลงาน หรือการ
นาเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศสตร์
และสถิติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2. ประเมินจากความสามารถในการใช้ภาษาในการสื่อสาร ใน
เอกสารรายงาน และการนาเสนอผลงานปากเปล่า
3. ประเมินจากการสังเกต การอภิปราย การร่วมแสดงความคิดเห็น การ
ตอบคาถาม อธิบายข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ
กรณีศึกษาต่าง ๆ ที่มีการนาเสนอต่อชั้นเรียน เป็นต้น
www.prachyanun.com
Curriculum Mapping
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้สู่รายวิชา
(Curriculum Mapping)
www.prachyanun.com
รายวิชา
1. คุณธรรม
จริยธรรม
2. ความรู้ 3. ทักษะทาง
ปัญญา
4. ด้านทักษะ
ความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลและ
ความรับผิดชอบ
5. ด้านทักษะ
การวิเคราะห์เชิง
ตัวเลข การสื่อสาร
และการใช้
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
MTH 101 แคลคูลัสและเรขาคณิต
วิเคราะห์ 1
              
MTH 102 แคลคูลัสและเรขาคณิต
วิเคราะห์ 2
               
MTH 201 พีชคณิตเชิงเส้นและแคลคูลัส
เวกเตอร์
                     
MTH 202 สมการเชิงอนุพันธ์                 
หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา
ระดับคะแนน (GRADE) ค่าระดับคะแนนต่อหน่วยกิต ผลการศึกษา
ก หรือ A
ข+ หรือ B+
ข หรือ B
ค+ หรือ C+
ค หรือ C
ง+ หรือ D+
ง หรือ D
ต หรือ F
ถ หรือ W
ม.ส. หรือ I
พ.จ. หรือ S
ม.จ. หรือ U
ม.น. หรือ AU
4.00
3.50
3.00
2.50
2.00
1.50
1.00
0
-
-
-
-
-
ดีเยี่ยม (Excellent)
ดีมาก (Very Good)
ดี (Good)
ดีพอใช้ (Fairly Good)
พอใช้ (Fair)
อ่อน (Poor)
อ่อนมาก (Very Poor)
ตก (Fail)
ถอนรายวิชา (Withdrawn)
ไม่สมบูรณ์ (Incomplete)
เป็นที่พอใจ (Satisfactory)
ไม่เป็นที่พอใจ (Unsatisfactory)
ไม่นับหน่วยกิต (Audit)
www.prachyanun.com
บทสรุป
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
เครื่องมือที่ใช้ในการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
โดยผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ
การทาเอกสารประกอบการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
การวิจัยชั้นเรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อเป็นผลงานวิชาการ
LOGO
คาถาม ???
LOGO
LOGO
วิทยากร
รองศาสตราจารย์ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
prachyanun@hotmail.com
http://www.prachyanun.com
081-7037515

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาjintana_pai
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2chatruedi
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาการพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาprakaiporm13
 
Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมAyumu Black
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาa35974185
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนThamonwan Kottapan
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาSurapon Boonlue
 
Past 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPast 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPimploy Sornchai
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3Thamonwan Kottapan
 

Was ist angesagt? (20)

ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาการพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3.1
Chapter3.1Chapter3.1
Chapter3.1
 
Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรม
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter3(1)
Chapter3(1)Chapter3(1)
Chapter3(1)
 
Evaluation media
Evaluation mediaEvaluation media
Evaluation media
 
M4
M4M4
M4
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
 
Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)
 
Past 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPast 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational media
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
 

Ähnlich wie การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา

บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...Mnr Prn
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05Prachyanun Nilsook
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศWisut Lakhamsai
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guidechickyshare
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ Kanatip Sriwarom
 
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Sattakamon
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational mediaAnna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติTee Lek
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธSurapon Boonlue
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Ähnlich wie การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา (20)

บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศ
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guide
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 

Mehr von Prachyanun Nilsook

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationPrachyanun Nilsook
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdfPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfPrachyanun Nilsook
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาPrachyanun Nilsook
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตPrachyanun Nilsook
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationPrachyanun Nilsook
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.Prachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์Prachyanun Nilsook
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1Prachyanun Nilsook
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ Prachyanun Nilsook
 

Mehr von Prachyanun Nilsook (20)

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 
BCG Model
BCG ModelBCG Model
BCG Model
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
 
Digital transformation
Digital transformation Digital transformation
Digital transformation
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
 

การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา