SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
การตรวจ
สมรรถภาพปอด
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
21-Jul-14 1
การตรวจสมรรถภาพปอด
การตรวจสมรรถภาพปอด เป็นการตรวจที่
สาคัญและมีประโยชน์
 ด้านการวินิจฉัย
 ด้านการประเมินผล
 ด้านติดตามการรักษา
21-Jul-14 2
การตรวจสมรรถภาพปอด
 โรคทางระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคปอดที่
เกิดจากการทางาน, โรคหืด และโรคปอดอุดกั้น
เรื้อรัง
 นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ในการบอกถึงความ
เสื่อมของหน้าที่ระบบทางเดินหายใจก่อนที่
ผู้ป่วยจะมีอาการผิดปกติเกิดขึ้น
21-Jul-14 3
โครงสร้างของปอด
21-Jul-14 4
 เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสมรรถภาพปอดมีหลาย
ชนิดแต่ชนิดที่ใช้กันอย่างแพร่หลายคือ
“เครื่องสไปโรเมตรีย์”
 การตรวจสไปโรเมตรีย์ เป็นการตรวจวัดปริมาตร
ของอากาศที่หายใจเข้าและออกจากปอด ทาได้
ค่อนข้างง่ายแต่ต้องอาศัยความร่วมมือของผู้ที่มา
ตรวจ
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสมรรถภาพปอด
21-Jul-14 5
วิธีตรวจปอดแบบสไปโรเมตรีย์
21-Jul-14 6
1.FVC
 ปริมาตรของอากาศที่เป่าออกอย่างเร็ว แรง จนหมด
หลังจากหายใจเข้าอย่างเต็มที่
 ค่า FVC แสดงถึงปริมาตรอากาศที่จุอยู่ในปอดเกือบ
ทั้งหมด
 ค่าปกติ : มากกว่า 80 %
ค่าที่ตรวจวัดได้
21-Jul-14 7
2. FEV 1
 ปริมาตรของอากาศที่เป่าออกอย่างเร็วแรงในวินาทีที่ 1
 ค่า FEV 1 นี้ ใช้คานวณร่วมกันกับค่า FVC เพื่อหาค่า
FEV 1 / FVC %
 ค่าปกติ : มากกว่า 80 %
ค่าที่ตรวจวัดได้
21-Jul-14 8
ค่าที่ตรวจวัดได้
3. FEV 1 / FVC %
 ร้อยละของปริมาตรของอากาศที่เป่าออกมาได้ในวินาทีที่ 1 ต่อ
ปริมาตรของอากาศที่เป่าออกมา
 ค่า FEV 1 / FVC % จะแสดงถึงความสามารถในการที่จะเป่า
อากาศออกจากปอด ซึ่งขึ้นอยู่กับการออกแรงของผู้เข้ารับการ
ทดสอบ และลักษณะของทางเดินหายใจ
 ค่าปกติ : มากกว่า 70 %
21-Jul-14 9
ความผิดปกติที่ตรวจพบ
1. Obstructive
 มีการอุดกั้นของหลอดลม เช่น ในผู้ที่เป็น
โรคหืด โรคถุงลมโป่งพองจากการสูบบุหรี่
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
 กลุ่มนี้จะตรวจพบค่า FEV1 / FVC ต่า
กว่า 70 % โดยค่า FVC จะปกติ
21-Jul-14 10
ความผิดปกติแบบ Obstructive
21-Jul-14 11
ความผิดปกติที่ตรวจพบ
2. Restrictive
 ความยืดหยุ่นของปอดลดลง ทาให้ความจุของ
ปอดลดลง เช่น ผู้ที่มีโรคของเนื้อปอด ผู้ที่โครงสร้าง
กล้ามเนื้อ หรือกระดูกที่ช่วยในการหายใจผิดปกติ
 กลุ่มนี้จะมีค่า FVC เมื่อเทียบกับมาตรฐานต่ากว่า
80 % แต่ค่า FEV1 / FVC จะมากกว่า 70 %
21-Jul-14 12
ความผิดปกติแบบ Restrictive
21-Jul-14 13
ความผิดปกติที่ตรวจพบ
3. Combine
หมายถึง ผู้ที่ตรวจพบมีความผิดปกติทั้ง 2
อย่างร่วมกัน
21-Jul-14 14
ข้อบ่งชี้ในการทาสไปโรเมตรีย์
1.เพื่อการวินิจฉัยโรค
 ผู้ที่มีอาการเหนื่อย ไอ หายใจมีเสียงหวีด หรือเจ็บหน้าอก
 ผู้ที่ตรวจร่างกายพบเสียงหายใจผิดปกติ ทรวงอกผิดรูป
 ผู้ที่รังสีทรวงอกผิดปกติ
 ผู้ที่ตรวจพบก๊าซในเลือดแดงผิดปกติ
21-Jul-14 15
ข้อบ่งชี้ในการทาสไปโรเมตรีย์
 ผู้ที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรคปอดจากการประกอบอาชีพ
 ผู้ที่สูบบุหรี่ ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนด้าน
ระบบทางเดินหายใจในผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
 ในรายที่มีความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนด้านระบบ
ทางเดินหายใจในผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
 เพื่อประเมินความรุนแรงในผู้ที่เป็นโรคที่มีผลต่อการทางาน
ของระบบทางเดินหายใจ
21-Jul-14 16
ปอดผิดปกติจากการทางาน
21-Jul-14 17
ข้อบ่งชี้ในการทาสไปโรเมตรีย์
2. ติดตามการดาเนินโรคหรือผลการรักษา
 ดูผลของยาขยายหลอดลมในผู้ป่วยโรคหอบหืดหรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
 ติดตามการดาเนินโรค ในผู้ป่วยโรคที่เกี่ยวข้องกับปอดหรือหลอดลม
 ติดตามผู้ที่มีอาชีพเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบบทางเดินหายใจจากการ
ประกอบอาชีพ
 ติดตามผลข้างเคียงของยาบางชนิด เช่น amiodarone ที่มีผลต่อ
ระบบทางเดินหายใจ
21-Jul-14 18
การเตรียมตัวตรวจสมรรถภาพปอด
 งดออกกาลังกายก่อนตรวจอย่างน้อย 30
นาที
 ห้ามสวมเสื้อรัดทรวงอกและท้อง
 งดอาหารมื้อหนักก่อนตรวจ 2 ชั่วโมง
 หยุดสูบบุหรี่อย่างน้อย 1 ชั่วโมงก่อนตรวจ
21-Jul-14 19
การเตรียมตัวตรวจสมรรถภาพปอด
 หยุดยาขยายหลอดลม ชนิดสูด 6-8 ชั่วโมงก่อน
ตรวจ
 หยุดยาขยายหลอดลมชนิดกิน12-24ชั่วโมงก่อน
ตรวจ
 งดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์อย่างน้อย 4 ชั่วโมง
 งดน้าชา,กาแฟ หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนอย่าง
น้อย 2 ชั่วโมง
21-Jul-14 20
ข้อห้ามการตรวจสมรรถภาพปอด
1. ไอเป็นเลือด
2. ภาวะมีลมในช่องเยื่อหุ้มปอดที่ยังไม่ได้รับการ
รักษา
3. ระบบหลอดเลือด และหัวใจทางานไม่คงที่
4. ภาวะเส้นโลหิตแดงโป่งพองในทรวงอก ท้อง
และสมอง
21-Jul-14 21
ข้อห้ามการตรวจสมรรถภาพปอด
5. เพิ่งได้รับการผ่าตัดตาในระยะเวลาไม่นาน
6. เพิ่งได้รับการผ่าตัดช่องอก และท้องใน
ระยะเวลาไม่นาน
7. ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย
8. ภาวะหลอดเลือดแดงปอดอุดตัน
21-Jul-14 22
ภาวะแทรกซ้อนจากทาสไปโรเมตรีย์
1. ความดันในกระโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
2. เวียนหัว, มึนงง และในบางรายอาจมีอาการ
หมดสติได้
3. อาการไอ
4. หลอดลมตีบ โดยเฉพาะในผู้ป่วยหืด หรือ
ปอดอุดกั้นเรื้อรัง ที่ยังควบคุมอาการไม่ได้ดี
21-Jul-14 23
ภาวะแทรกซ้อนจากทาสไปโรเมตรีย์
5. เจ็บหน้าอก
6. ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด
7. ขาดออกซิเจน จากการหยุดให้ชั่วคราว
ระหว่างการตรวจ
8. การติดเชื้อ
21-Jul-14 24
การดูแลรักษาสุขภาพของปอด
1. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
2. ออกกาลังกายบริหารปอด
3. พักผ่อนให้เพียงพอ
4. ลด-ละ-เลิกสูบบุหรี่
5. เมื่อมีอาการหวัด/ไอเรื้อรัง/มีเสมหะมาก/หอบ/
เหนื่อย /ภูมิแพ้… รีบตรวจรักษา
21-Jul-14 25
การดูแลรักษาสุขภาพของปอด
6. หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่แออัด มีฝุ่นละออง
ไอ ควัน ของมลพิษ หรือสารเคมี และการ
ระบายอากาศไม่ดี
7. ผู้ที่ทางานเกี่ยวข้องกับฝุ่น สารเคมี หรือ
สารอันตราย ควรตรวจสุขภาพเอกซเรย์
ปอด ทดสอบสมรรถภาพปอดประจาปี
21-Jul-14 26
ฝุ่ นจากการทางานทาให้เกิดโรคปอด
21-Jul-14 27
การดูแลรักษาสุขภาพของปอด
8. มีการดาเนินงานเพื่อควบคุม ปิดกั้น หรือ
ลดปริมาณฝุ่นและสารอันตรายทั้งที่
แหล่งกาเนิด และที่กระจายในอากาศด้วย
21-Jul-14 28
ช่องทางการติดต่อ…
 facebook:
prachaya56@hotmail.com
เข้าร่วมในกลุ่มคลินิกอาชีวอนามัย
21-Jul-14 29

More Related Content

What's hot

การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทCotton On
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Sureerut Physiotherapist
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์Thira Woratanarat
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
การทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียนการทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียนSuthee Saritsiri
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Aphisit Aunbusdumberdor
 

What's hot (20)

การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
การทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียนการทำลายเวชระเบียน
การทำลายเวชระเบียน
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Hepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinomaHepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinoma
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
 

More from Prachaya Sriswang

More from Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 

การเป่าปอ..

Editor's Notes

  1. นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ในการบอกถึงความเสื่อมของหน้าที่ระบบทางเดินหายใจก่อนที่ผู้ป่วยจะมีอาการผิดปกติเกิดขึ้น เนื่องจากปอดเป็นอวัยวะที่มีความสามารถสำรองสูง อาการเหนื่อยจึงมักเกิดหลังจากมีความผิดปกติที่ปอดเกิดขึ้นมากแล้ว
  2. โดยการตรวจสไปโรเมตรีย์ เป็นการตรวจวัดปริมาตรของอากาศที่หายใจเข้าและออกจากปอด ทำได้ค่อนข้างง่ายแต่ต้องอาศัยความร่วมมือของผู้ที่มาตรวจเนื่องจากต้องมีขั้นตอนการสูดลมและการออกแรงเป่าอย่างเต็มที่ทางปากการวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดง เนื่องจากระดับก๊าซในเลือดแดงจะช่วยบอกถึงความผิดปกติในการแลกเปลี่ยนก๊าซเกี่ยวกับการรับออกซิเจนและการกำจัดคาร์บอนไดออกไซด์
  3. ผลการประเมินค่า : ค่า FVC แสดงถึงปริมาตรอากาศที่จุอยู่ในปอดเกือบทั้งหมด ค่านี้จะลดต่ำลงเมื่อเนื้อเยื่อปอดมีการเปลี่ยนแปลงเกิดเป็นพังผืด หรือปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่ ภาวะเช่นนี้เรียกว่า “ RESTRICTIVE ( มีการจำกัดการขยายตัวของปอด ) ” ค่าปกติ : มากกว่า 80 %
  4. 2. FEV 1 (Forced Expiratory Volume in one second) คือปริมาตรของอากาศที่เป่าออกอย่างเร็วแรงในวินาทีที่ 1 ซึ่ง FEV 1 นี้เป็นข้อมูลที่ใช้บ่อยที่สุดในการตรวจสมรรถภาพปอด ผลการประเมินค่า : ค่า FEV 1 นี้ ใช้คำนวณร่วมกันกับ ค่า FVC เพื่อหาค่า FEV 1 / FVC % ค่าปกติ : มากกว่า 80 %
  5. 3. FEV 1 / FVC % คือร้อยละของปริมาตรของอากาศที่เป่าออกมาได้ในวินาทีที่ 1 ต่อปริมาตรของอากาศที่เป่าออกมาได้มากที่สุดอย่างเร็วแรง ซึ่งเป็นข้อมูลที่ดีที่สุดที่แสดงถึงการอุดกั้นของหลอดลม ผลการประเมินค่า : ค่า FEV 1 / FVC % จะแสดงถึงความสามารถในการที่จะเป่าอากาศออกจากปอด ซึ่งขึ้นอยู่กับการออก แรงของผู้เข้ารับการทดสอบ และลักษณะของทางเดินหายใจ ถ้าทางเดินหายใจถูกอุดกั้น หรือมีความ ยืดหยุ่นตัวลดลง อากาศจะผ่านออกลำบาก ค่าดังกล่าวนี้จะลดน้อยลง ภาวะเช่นนี้เรียกว่า “ OBSTRUCTIVE ( มีการอุดกั้นหรือบีบของหลอดลม ) ” ค่าปกติ : มากกว่า 70 %
  6. ผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับฝุ่น สารเคมี หรือสารอันตรายควรตรวจสุขภาพเอกซเรย์ปอด ทดสอบสมรรถภาพปอดประจำปี เมื่อพบความผิดปกติต้องรีบรักษาและป้องกัน ต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากฝุ่น หรือสารเคมีที่เหมาะสมถูกต้องอย่างสม่ำเสมอ ขณะทำงาน ควรมีความรู้ถึงอันตราย และวิธีการป้องกันสารอันตรายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง