SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1


ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy Philosophy)
            คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ (2549 ,หน้า 6 ) เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยูและปฏิบติตน
                                                                               ่        ั
ของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและ
บริ หารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้กาวทันต่อโลกยุค
                                                                             ้
โลกาภิวตน์ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็ นที่จะต้องมีระบบ
         ั
ภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและ
      ้
ภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง ในการนาวิชาการต่าง
                                                                         ่
ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจ
ของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตย์สุจริ ต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ
ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและ
กว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี
         1. เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศ หรื อภูมิภาคหนึ่ง ๆ
ในการผลิตสินค้าและบริ การทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้นๆได้โดยไม่ตองพึ่งพาปัจจัยต่างๆ ที่เราไม่ได้เป็ น
                                                               ้
เจ้าของ
           2. เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลนั้น คือ ความสามารถในการดารงชีวิตได้อย่าง ไม่
เดือดร้อน มีความเป็ นอยูอย่างประมาณตน ตามฐานะ ตามอัตภาพ และที่สาคัญไม่หลงใหลไปตาม
                        ่
กระแสของวัตถุนิยม มีอิสรภาพเสรี ภาพไม่พนธนาการอยูกบสิ่งใด
                                       ั          ่ ั
            3. หากกล่าวโดยสรุ ป คือ หันกลับมายึดเส้นทางสายกลางในการดารงชีวิต
           หลักการพึ่งตนเอง
             1. ด้านจิตใจ ทาตนให้เป็ นที่พ่งตนเอง มีจิตสานึกที่ดี สร้างสรร ค์ให้ตนเองและชาติโดยรวม
                                           ึ
มีจิตใจเอื้ออาทร ประนีประนอม เห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็ นที่ต้ง       ั
            2. ด้านสังคม แต่ละชุมชนต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เชื่อมโยงกัน เป็ นเครื อข่ายชุมชนที่
แข็งแรง เป็ นอิสระ
           3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ใช้และจัดการอย่างฉลาด พร้อมทั้งหาทางเพิ่ม
มูลค่า โดยให้ยดอยูบนหลักการของความยังยืน
              ึ ่                    ่
           4. ด้านเทคโนโลยี จากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ วเทคโนโลยีที่เข้ามาใหม่ มีท้งดี
                                                                                           ั
และไม่ดี จึงต้องแยกแยะบนพื้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้านและ เลือกใช้เฉพาะที่สอดคล้องกับความ
ต้องการ และสภาพแวดล้อม และควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาของเราเอง
2


            5. ด้านเศรษฐกิจ แต่เดิมนักพัฒนามักมุ่งที่การเพิ่มรายได้ และไม่มีการมุ่งที่การลดรายจ่าย ใน
เวลาเช่นนี้จะต้องปรับทิศทางใหม่ คือ จะต้องมุ่งลดรายจ่ายก่อน เป็ นสาคัญ และยึดหลักพออยู่ พอกิน
พอใช้
            การปฏิบติตนตามแนวทางเศรษฐกิจแบบพอเพียงอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
                   ั
             1. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่ มเฟื อยในการดารงชีพอย่าง
จริ งจัง ดังพระราชดารัสว่า “ความเป็ นอยูที่ตองไม่ฟงเฟ้ อ ต้องประหยัดไปในทางที่ถกต้อง”
                                        ่ ้       ุ้                           ู
          2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริ ต แม้จะตกอยูในภาวะขาดแคลน ในการ
                                                                     ่
ดารงชีพก็ตาม ดังพระราชดารัสที่ว่า “...ความเจริ ญของคนทั้งหลาย ย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบ
และการหาเลี้ยงชีพ ชอบเป็ นหลักสาคัญ...”
           3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ และแข่งขันกันในทางการค้าขาย ประกอบอาชีพแบบ
ต่อสูกนอย่างรุ นแรงดังอดีต ซึ่งมีพระราชดารัสเรื่ องนี้ว่า “...ความสุขความเจริ ญอันแท้จริ งนั้น หมายถึง
     ้ ั
ความสุขความเจริ ญที่บุคคลแสวงหามาได้ดวยความเป็ นธรรมทั้งในเจตนา และการกระทา ไม่ใช่ได้มา
                                         ้
ด้วยความบังเอิญ หรื อด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผูอื่น...”
                                                        ้
             4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยากครั้งนี้ โดยต้องขวนขวายใฝ่ หา
ความรู้ให้เกิดมีรายได้เพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเป็ นเป้ าหมายสาคัญ พระราชดารัสตอนหนึ่งที่ให้
ความชัดเจนว่า “...การที่ตองการให้ทุกคนพยายามที่จะหาความรู้ และสร้างตนเองให้มนคงนี้เพื่อตนเอง
                            ้                                                         ั่
เพื่อที่จะให้ตวเองมีความเป็ นอยูที่กาวหน้า ที่มีความสุข พอมีพอกิน เป็ นขั้นหนึ่งและขั้นต่อไป ก็คือให้มี
              ั                   ่ ้
เกียรติว่ายืนได้ดวยตนเอง...”
                  ้
              5. ปฏิบติตนในแนวทางที่ดีลดละสิ่งชัวให้หมดสิ้นไป ทั้งนี้ดวยสังคมไทยที่ล่มสลายลงใน
                      ั                            ่                  ้
ครั้งนี้ เพราะยังมีบุคคลจานวนมิใช่นอยที่ดาเนินการโดยปราศจากละอายต่อแผ่นดิน พระบาทสมเด็จ
                                    ้
พระเจ้าอยูหวได้พระราชทานพระราโชวาท ว่า “...พยายามไม่ก่อความชัวให้เป็ นเครื่ องทาลายตัว ทาลาย
            ่ ั                                                    ่
ผูอื่น พยายามลดพยายามละความชัวที่ตวเองมีอยู่ พยายามก่อความดีให้แก่ตวอยูเ่ สมอ พยายามรักษาและ
  ้                                ่ ั                                  ั
เพิ่มพูนความดีท่ีมีอยูน้ น ให้งอกงามสมบูรณ์ข้ ึน...”
                        ่ ั
             นัยสาคัญของแนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง
            1. เป็ นระบบเศรษฐกิจที่ยดถือหลักการที่ว่า “ตนเป็ นที่พ่งแห่งตน ” โดยมุ่งเน้นการผลิต
                                       ึ                           ึ
พืชผลให้เพียงพอ กับความต้องการบริ โภคในครัวเรื อนเป็ นอันดับแรก เมื่อเหลือพอจากการบริ โภคแล้ว
จึงคานึงถึงการผลิตเพื่อการค้าเป็ นอันดับรองลงมา ผลผลิตส่วนเกินที่ออกสู่ตลาดก็จะเป็ นกาไรของ
เกษตรกร ในสภาพการณ์เช่นนี้เกษตรกรจะกลายสถานะเป็ นผูกาหนดหรื อเป็ นผูกระทาต่อตลาด แทน
                                                         ้                ้
ที่ว่าตลาดจะเป็ นตัวกระทา หรื อเป็ นตัวกาหนดเกษตรกรดังเช่นที่เป็ นอยูในขณะนี้ และหลักใหญ่สาคัญ
                                                                     ่
3


ยิง คือ การลดค่าใช้จ่าย โดยการสร้างสิ่งอุปโภคบริ โภคในที่ดินของตนเอง เช่น ข้าว น้ า ปลา ไก่ ไม้ผล
  ่
พืชผัก ฯลฯ
            2. เศรษฐกิจแบบพอเพียงให้ความสาคัญกับการรวมกลุ่มของชาวบ้าน ทั้งนี้ กลุ่มชาวบ้าน
หรื อองค์กรชาวบ้านจะทาหน้าที่เป็ นผูดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ให้หลากหลาย ครอบคลุมทั้ง
                                       ้
การเกษตรแบบผสมผสานหัตถกรรมการแปรรู ปอาหาร การทาธุรกิจค้าขาย และการท่องเที่ยวระดับ
ชุมชน ฯลฯ เมื่อองค์กรชาวบ้านเหล่านี้ได้รับการพัฒนาให้เข้มแข็ง และมีเครื อข่ายที่กว้างขวางมากขึ้น
แล้ว เกษตรกรทั้งหมดในชุมชนก็จะได้รับการดูแลให้มีรายได้เพิ่มขึ้น รวมทั้งได้รับการแก้ไขปัญหาใน
ทุก ๆ ด้าน เมื่อเป็ นเช่นนี้ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศก็จะสามารถเติบโตไปได้อย่างมีเสถียรภาพ ซึ่ง
หมายความว่าเศรษฐกิจสามารถขยายตัวไปพร้อม ๆ กับสภาวการณ์ดานการกระจายรายได้ที่ดีข้ ึน
                                                                      ้
            3. เศรษฐกิจแบบพอเพียงตั้งอยูบนพื้นฐานของการมีความเมตตา ความเอื้ออาทร และความ
                                           ่
สามัคคีของสมาชิกในชุมชนในการร่ วมแรงร่ วมใจ เพื่อประกอบอาชีพต่าง ๆ                   ให้บรรลุผลสาเร็ จ
ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจึงมิได้หมายถึงรายได้แต่เพียงมิติเดียว หากแต่ยงรวมถึงประโยชน์ ในมิติอื่น ๆ ด้วย
                                                                    ั
ได้แก่ การสร้างความมันคงให้กบสถาบันครอบครัว สถาบันชุมชน ความสามารถ ในการอนุรักษ์
                             ่     ั
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนากระบวนการเรี ยนรู้ของชุมชนบนพื้นฐานของภูมิปัญญา
ท้องถิ่น รวมทั้งการรักษาไว้ ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ดีงามของไทย ให้คงอยูตลอดไป่
             หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
             การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ต้งอยูบนพื้นฐานของทาง สายกลาง
                                                                   ั ่
และความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุมกัน          ้          ที่ดีในตัว
ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและ การกระทา
             ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอยเกินไปและไม่มากเกินไปโดย ไม่เบียดเบียน
                                                         ้
ตนเองและผูอื่น เช่นการผลิตและการบริ โภคที่อยูในระดับพอประมาณ
             ้                                   ่
             ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไป
อย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ
กระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
             การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง
                           ้
ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆที่คาดว่า จะเกิดขึ้นในอนาคต
ทั้งใกล้และไกล
             เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้ง
                                                                        ่
ความรู้ และคุณธรรมเป็ นพื้นฐาน กล่าวคือ
             เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง รอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ
ระมัดระวังในขั้นปฏิบติ   ั
4


               เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริ ตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต

แผนภูมที่ 3 สรุ ปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
      ิ




ที่มา : http//www.sufficiencyeconomy. (22 พฤษภาคม 2550)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริKawow
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNan NaJa
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2Apichaya Savetvijit
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
SufficiencyeconomyIct Krutao
 
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยโครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยAor Dujkamol
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1bass-mail
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงSuttipong Pratumvee
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 

Was ist angesagt? (19)

งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
Sufficiencyeconomy
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยโครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
 
002
002002
002
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ทดสอบเศรษฐศาสตร์
ทดสอบเศรษฐศาสตร์ทดสอบเศรษฐศาสตร์
ทดสอบเศรษฐศาสตร์
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

Ähnlich wie ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKruhy LoveOnly
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงWitayanun Sittisomboon
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 

Ähnlich wie ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Vass iry wed83254
Vass iry wed83254Vass iry wed83254
Vass iry wed83254
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
183356
183356183356
183356
 

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. 1 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy Philosophy) คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ (2549 ,หน้า 6 ) เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยูและปฏิบติตน ่ ั ของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและ บริ หารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้กาวทันต่อโลกยุค ้ โลกาภิวตน์ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็ นที่จะต้องมีระบบ ั ภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและ ้ ภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง ในการนาวิชาการต่าง ่ ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจ ของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริ ต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและ กว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี 1. เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศ หรื อภูมิภาคหนึ่ง ๆ ในการผลิตสินค้าและบริ การทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้นๆได้โดยไม่ตองพึ่งพาปัจจัยต่างๆ ที่เราไม่ได้เป็ น ้ เจ้าของ 2. เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลนั้น คือ ความสามารถในการดารงชีวิตได้อย่าง ไม่ เดือดร้อน มีความเป็ นอยูอย่างประมาณตน ตามฐานะ ตามอัตภาพ และที่สาคัญไม่หลงใหลไปตาม ่ กระแสของวัตถุนิยม มีอิสรภาพเสรี ภาพไม่พนธนาการอยูกบสิ่งใด ั ่ ั 3. หากกล่าวโดยสรุ ป คือ หันกลับมายึดเส้นทางสายกลางในการดารงชีวิต หลักการพึ่งตนเอง 1. ด้านจิตใจ ทาตนให้เป็ นที่พ่งตนเอง มีจิตสานึกที่ดี สร้างสรร ค์ให้ตนเองและชาติโดยรวม ึ มีจิตใจเอื้ออาทร ประนีประนอม เห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็ นที่ต้ง ั 2. ด้านสังคม แต่ละชุมชนต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เชื่อมโยงกัน เป็ นเครื อข่ายชุมชนที่ แข็งแรง เป็ นอิสระ 3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ใช้และจัดการอย่างฉลาด พร้อมทั้งหาทางเพิ่ม มูลค่า โดยให้ยดอยูบนหลักการของความยังยืน ึ ่ ่ 4. ด้านเทคโนโลยี จากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ วเทคโนโลยีที่เข้ามาใหม่ มีท้งดี ั และไม่ดี จึงต้องแยกแยะบนพื้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้านและ เลือกใช้เฉพาะที่สอดคล้องกับความ ต้องการ และสภาพแวดล้อม และควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาของเราเอง
  • 2. 2 5. ด้านเศรษฐกิจ แต่เดิมนักพัฒนามักมุ่งที่การเพิ่มรายได้ และไม่มีการมุ่งที่การลดรายจ่าย ใน เวลาเช่นนี้จะต้องปรับทิศทางใหม่ คือ จะต้องมุ่งลดรายจ่ายก่อน เป็ นสาคัญ และยึดหลักพออยู่ พอกิน พอใช้ การปฏิบติตนตามแนวทางเศรษฐกิจแบบพอเพียงอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ั 1. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่ มเฟื อยในการดารงชีพอย่าง จริ งจัง ดังพระราชดารัสว่า “ความเป็ นอยูที่ตองไม่ฟงเฟ้ อ ต้องประหยัดไปในทางที่ถกต้อง” ่ ้ ุ้ ู 2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริ ต แม้จะตกอยูในภาวะขาดแคลน ในการ ่ ดารงชีพก็ตาม ดังพระราชดารัสที่ว่า “...ความเจริ ญของคนทั้งหลาย ย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบ และการหาเลี้ยงชีพ ชอบเป็ นหลักสาคัญ...” 3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ และแข่งขันกันในทางการค้าขาย ประกอบอาชีพแบบ ต่อสูกนอย่างรุ นแรงดังอดีต ซึ่งมีพระราชดารัสเรื่ องนี้ว่า “...ความสุขความเจริ ญอันแท้จริ งนั้น หมายถึง ้ ั ความสุขความเจริ ญที่บุคคลแสวงหามาได้ดวยความเป็ นธรรมทั้งในเจตนา และการกระทา ไม่ใช่ได้มา ้ ด้วยความบังเอิญ หรื อด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผูอื่น...” ้ 4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยากครั้งนี้ โดยต้องขวนขวายใฝ่ หา ความรู้ให้เกิดมีรายได้เพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเป็ นเป้ าหมายสาคัญ พระราชดารัสตอนหนึ่งที่ให้ ความชัดเจนว่า “...การที่ตองการให้ทุกคนพยายามที่จะหาความรู้ และสร้างตนเองให้มนคงนี้เพื่อตนเอง ้ ั่ เพื่อที่จะให้ตวเองมีความเป็ นอยูที่กาวหน้า ที่มีความสุข พอมีพอกิน เป็ นขั้นหนึ่งและขั้นต่อไป ก็คือให้มี ั ่ ้ เกียรติว่ายืนได้ดวยตนเอง...” ้ 5. ปฏิบติตนในแนวทางที่ดีลดละสิ่งชัวให้หมดสิ้นไป ทั้งนี้ดวยสังคมไทยที่ล่มสลายลงใน ั ่ ้ ครั้งนี้ เพราะยังมีบุคคลจานวนมิใช่นอยที่ดาเนินการโดยปราศจากละอายต่อแผ่นดิน พระบาทสมเด็จ ้ พระเจ้าอยูหวได้พระราชทานพระราโชวาท ว่า “...พยายามไม่ก่อความชัวให้เป็ นเครื่ องทาลายตัว ทาลาย ่ ั ่ ผูอื่น พยายามลดพยายามละความชัวที่ตวเองมีอยู่ พยายามก่อความดีให้แก่ตวอยูเ่ สมอ พยายามรักษาและ ้ ่ ั ั เพิ่มพูนความดีท่ีมีอยูน้ น ให้งอกงามสมบูรณ์ข้ ึน...” ่ ั นัยสาคัญของแนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง 1. เป็ นระบบเศรษฐกิจที่ยดถือหลักการที่ว่า “ตนเป็ นที่พ่งแห่งตน ” โดยมุ่งเน้นการผลิต ึ ึ พืชผลให้เพียงพอ กับความต้องการบริ โภคในครัวเรื อนเป็ นอันดับแรก เมื่อเหลือพอจากการบริ โภคแล้ว จึงคานึงถึงการผลิตเพื่อการค้าเป็ นอันดับรองลงมา ผลผลิตส่วนเกินที่ออกสู่ตลาดก็จะเป็ นกาไรของ เกษตรกร ในสภาพการณ์เช่นนี้เกษตรกรจะกลายสถานะเป็ นผูกาหนดหรื อเป็ นผูกระทาต่อตลาด แทน ้ ้ ที่ว่าตลาดจะเป็ นตัวกระทา หรื อเป็ นตัวกาหนดเกษตรกรดังเช่นที่เป็ นอยูในขณะนี้ และหลักใหญ่สาคัญ ่
  • 3. 3 ยิง คือ การลดค่าใช้จ่าย โดยการสร้างสิ่งอุปโภคบริ โภคในที่ดินของตนเอง เช่น ข้าว น้ า ปลา ไก่ ไม้ผล ่ พืชผัก ฯลฯ 2. เศรษฐกิจแบบพอเพียงให้ความสาคัญกับการรวมกลุ่มของชาวบ้าน ทั้งนี้ กลุ่มชาวบ้าน หรื อองค์กรชาวบ้านจะทาหน้าที่เป็ นผูดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ให้หลากหลาย ครอบคลุมทั้ง ้ การเกษตรแบบผสมผสานหัตถกรรมการแปรรู ปอาหาร การทาธุรกิจค้าขาย และการท่องเที่ยวระดับ ชุมชน ฯลฯ เมื่อองค์กรชาวบ้านเหล่านี้ได้รับการพัฒนาให้เข้มแข็ง และมีเครื อข่ายที่กว้างขวางมากขึ้น แล้ว เกษตรกรทั้งหมดในชุมชนก็จะได้รับการดูแลให้มีรายได้เพิ่มขึ้น รวมทั้งได้รับการแก้ไขปัญหาใน ทุก ๆ ด้าน เมื่อเป็ นเช่นนี้ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศก็จะสามารถเติบโตไปได้อย่างมีเสถียรภาพ ซึ่ง หมายความว่าเศรษฐกิจสามารถขยายตัวไปพร้อม ๆ กับสภาวการณ์ดานการกระจายรายได้ที่ดีข้ ึน ้ 3. เศรษฐกิจแบบพอเพียงตั้งอยูบนพื้นฐานของการมีความเมตตา ความเอื้ออาทร และความ ่ สามัคคีของสมาชิกในชุมชนในการร่ วมแรงร่ วมใจ เพื่อประกอบอาชีพต่าง ๆ ให้บรรลุผลสาเร็ จ ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจึงมิได้หมายถึงรายได้แต่เพียงมิติเดียว หากแต่ยงรวมถึงประโยชน์ ในมิติอื่น ๆ ด้วย ั ได้แก่ การสร้างความมันคงให้กบสถาบันครอบครัว สถาบันชุมชน ความสามารถ ในการอนุรักษ์ ่ ั ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนากระบวนการเรี ยนรู้ของชุมชนบนพื้นฐานของภูมิปัญญา ท้องถิ่น รวมทั้งการรักษาไว้ ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ดีงามของไทย ให้คงอยูตลอดไป่ หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ต้งอยูบนพื้นฐานของทาง สายกลาง ั ่ และความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุมกัน ้ ที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและ การกระทา ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอยเกินไปและไม่มากเกินไปโดย ไม่เบียดเบียน ้ ตนเองและผูอื่น เช่นการผลิตและการบริ โภคที่อยูในระดับพอประมาณ ้ ่ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไป อย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ กระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง ้ ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆที่คาดว่า จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งใกล้และไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้ง ่ ความรู้ และคุณธรรมเป็ นพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง รอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ ระมัดระวังในขั้นปฏิบติ ั
  • 4. 4 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ ซื่อสัตย์สุจริ ตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต แผนภูมที่ 3 สรุ ปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ิ ที่มา : http//www.sufficiencyeconomy. (22 พฤษภาคม 2550)