SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
1



                    สมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลือง นั้น คือโครงการเศรษฐกิจ ของ หลวงประดิ
ษฐมนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค์) ในสมัยรัฐบาลพระยามโนปกร์
นิติธาดาสมัยที่ ๒ ซึงก่อให้เกิดความแตกแยกออกเป็น ๒
                       ่
ฝ่ายในยุคนั้น ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยลงความเห็นว่าเป็นแผนที่นิยม
ระบอบคอมมิวนิสต์ โครงการหลักในแผนปฏิรูปเศรษฐกิจที่
ทำาให้ถูกมองว่าฝักใฝ่คอมมิวนิสต์ คือ รัฐจะบังคับซื้อที่นาและที่
สวนทั้งหมดเป็นของรัฐบาลทั้งหมด โดยจะจ่ายเป็นพันธบัตร
รัฐบาลแทนเงินสด จากนั้นให้เกษตรกร ชาวนายังคงทำาไร่ทำานา
ทำาสวนในที่ของตน ในฐานะลูกจ้างของรัฐ แต่ไม่มีกรรมสิทธิ์ใน
ที่ดิน ไม่เป็นทั้งเจ้าของและผู้เช่า ค่าจ้างที่จ่ายจะจ่ายเป็นตั๋วเงิน
หรือพันธบัตร หรือบัตรแทนเงิน ซึ่งเกษตรกรจะสามารถใช้ตั๋ว
เงินเหล่านี้ซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในร้านที่รัฐจะจัดตั้งขึ้นเพื่อ
จำาหน่ายสินค้าราคาถูก ส่วนผลผลิตทางการเกษตรที่ได้เป็นของ
รัฐ รัฐเป็นผู้จัดจำาหน่ายเพื่อตัดปัญหาพ่อค้าคนกลาง
   - ความแตกแยกทีเกิด ฝ่ายที่สนับสนุนนายก ฯ เช่น พ.อ.
                         ่
พระยาทรงสุรเดช พ.อ.พระยาฤทธิอัคคเณย์ ตลอดจนพระบาท
สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงมีพระวินิจฉัยเห็นชอบกับ
แนวทางของพระยามโนปกรณ์ โดยทรงอธิบายคัดค้านโดยยก
เหตุผลด้านเศรษฐกิจ การเมืองอย่างละเอียด และมีความตอน
หนึ่งว่า
" การที่จะรู้ว่าใครเป็นคนถูกหรือผิดก็ต้องทดลองดูเท่านั้นจึงจะ
เห็นได้ แต่มีข้ออันหนึ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจนไม่ต้องเป็นสิ่ง
สงสัยเลยว่า โครงการอันนี้เป็นโครงการอันเดียวอย่างแน่นอน
กับที่ประเทศรัสเซียใช้อยู่ ส่วนใครจะเอาอย่างใครนั้นข้าพเจ้าไม่
ทราบสตาลินจะเอาอย่างหลวงประดิษฐ์ หรือหลวงประดิษฐ์จะ
เอาอย่างสตาลินก็ตอบไม่ได้ ตอบได้ข้อเดียวว่าโครงการทั้ง
สองนี้เหมือนกันหมด เหมือนกันจนรายละเอียดเช่นที่ใช้และรูป
ของวิธีการกระทำา"
   ส่วนฝ่ายที่เห็นกับหลวงประดิษฐมนูธรรมส่วนใหญ่เป็นนาย
2



ทหารและพลเรือนชั้นผู้น้อยและผู้ที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองวัยหนุ่มซึ่งดำารงตำาแหน่ง สส.ในขณะนั้นด้วย ปรากฏว่า
เมื่อการประชุมสภาเพื่อพิจารณางบประมาณปี ๒๔๗๖ ได้มีสส.
พกปืนเข้าไปในสภา อันถือเป็นการกระทำาที่คุกคามสภาผู้แทน
ราษฎร ทำาให้รัฐบาลต้องสั่งให้ค้นอาวุธอย่างเข้มงวด ก่อให้เกิด
ความไม่พอใจและมีการอภิปรายตำาหนิรัฐบาลอย่างรุนแรง
รัฐบาลได้ตอบโต้โดยพรก.ปิดสมัยประชุมสภาและงดใช้
รัฐธรรมนูญบางมาตรา ตังรัฐบาลใหม่ ซึ่งในครั้งนั้นมีรัฐมนตรี ๕
                          ้
คนพ้นตำาแหน่ง ๑ ในนั้น คือ หลวงประดิษฐมนูธรรม ซึงรัฐบาล
                                                     ่
ได้ให้ท่านและภริยาเดินทางไปฝรั่งเศส นับเป็นนักการเมืองไทย
ในระบอบประชาธิปไตยคนแรกที่ถูกเนรเทศ
    - ผลกระทบจากสมุดปกเหลืองที่ถูกระบุว่ามีแนวคิด
คอมมิวนิสต์ได้ก่อให้ความหวั่นไหวหวาดกลัวในหมู่ประชาชน
ว่าคอมมิวนิสต์คือสิ่งที่จะทำาความหายนะแก่ราษฎรและทำาลาย
ความมั่นคงของประเทศ และได้เกิดมีพรบ.คอมมิวนิสต์ ปี
๒๔๗๖ เป็นการอธิบายความหมายของคำา ๆ นี้เป็นครั้งแรก แต่
รัฐบาลของพระยามโนปกรณ์ ฯ ก็ถูกรัฐประหารเงียบเมื่อวันที่
๒๐ มิย. ๒๔๗๖ โดยพ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนาซึงคุมกำาลัง
ทั้งทหารบก ทหารเรือ ส่งจดหมายบีบให้นายกและรัฐบาลลา
ออก โดยที่สุดนั้นพระยามโนปกรณ์ฯต้องเดินทางออกนอก
ประเทศไปอยู่ที่ปีนัง และอสัญกรรมที่นั่นเมื่อ ๑ ตค. ๒๔๙๑


            ……………………………………………….
3




  เค้าโครงเศรษฐกิจ
เค้าโครงเศรษฐกิจเกิดขึ้นจาก ปรีดี พนมยงค์ ได้รับมอบหมาย
จากคณะราษฎร และรัฐบาลซึ่งมีพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็น
นายกรัฐมนตรีอยู่ขณะนั้น ให้ทำาการร่างแผนเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
ขึ้น
 - สาระสำาคัญของเนื้อหาในเค้าโครงเศรษฐกิจ คือ เริ่มแรกจะ
มีคำาชีแจ้งว่าในการพิจารณาหรืออ่านเค้าโครงเศรษฐกิจนี้ ควร
       ้
วางใจเป็นกลาง ไม่นึกถึงประโยชน์ส่วนตน และควรขจัดทิฐิ
มานะออก และในส่วนเนื้อหาจะแบ่งออกเป็น 11 หมวด ปรีดี
พนมยงค์ได้ร่างเค้าโครงเศรษฐกิจ โดยต้องการให้บรรลุหลักข้อ
3 ของประกาศคณะราษฎร หลักซึงเกี่ยวแก่เศรษฐกิจของ
                                  ่
ประเทศมีความว่า “จะต้องบำารุงความสุขสมบูรณ์ของ
ราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้
ราษฎรทุกคนทำา จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่
ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก”
   และได้ชี้ให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงการปกครองที่เกิดขึ้นนี้
รัฐบาลทำาได้ไม่ใช่เหตุสุดวิสัย โดยเค้าโครงเศรษฐกิจมีลักษณะ
เป็นแบบสหกรณ์เต็มรูปแบบแต่ไม่ทำาลายกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
ของเอกชน โดยให้รัฐซื้อที่ดินจากเจ้าของเดิมด้วยพันธบัตร มีด
อกเบี้ยประจำาปี นายปรีดียังได้วางหลักการประกันสังคม คือ
4



ให้การประกันแก่ราษฎรตั้งแต่เกิดจนตายว่า เมื่อราษฎรผู้ใดไม่
สามารถทำางาน หรือทำางานไม่ได้เพราะเจ็บป่วยหรือชราหรือ
อ่อนอายุ ก็จะได้รับความอุปการะเลี้ยงดูจากรัฐบาล ซึงระบุไว้ ่
อย่างชัดเจนในหมวดที่ 3 แห่งเค้าโครงการเศรษฐกิจในชื่อร่าง
พ.ร.บ.“ว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร” นอกจาก
นี้ยังได้เสนอให้มีการตั้งธนาคารแห่งชาติ และออกสลากกินแบ่ง
เพื่อระดมทุนให้แก่รัฐบาล
     แต่เมื่อนายปรีดีได้นำาร่างเค้าโครงเศรษฐกิจนี้เสนอต่อรัฐบาล
ปรากฏว่าอนุกรรมการพิจารณาเค้าโครงเศรษฐกิจที่รัฐบาลตั้งขึ้น
มากลั่นกรองส่วนใหญ่เห็นด้วย แต่อนุกรรมการส่วนน้อย อันนำา
โดยพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ไม่เห็นด้วย เพราะไม่ต้องการให้
มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ซึ่งเจ้าและขุนนาง
ยังเป็นผู้คุมอำานาจอยู่ เมื่อนำาเรื่องนี้เข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
เสียงส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย นายปรีดีจึงขอลาออกจากตำาแหน่ง
รัฐมนตรี ดังนั้นรัฐบาลจึงร่วมมือกับทหารบางกลุ่มทำาการยึด
อำานาจด้วยการปิดสภาและออก พ.ร.บ. ว่าด้วยคอมมิวนิสต์
   พ.ศ. 2476 ออกแถลงการณ์ประณามนายปรีดี พนม
ยงค์ว่าเป็นคอมมิวนิสต์ นายปรีดีจำาต้องเดินทางออกนอก
ประเทศไป และหลังจากนั้นก็ได้มีการออกสมุดปกขาว ซึงก็คือ         ่
พระบรมราชวินิจฉัยของรัชกาลที่ 7 ออกโจมตีเค้าโครง
เศรษฐกิจ (สมุดปกเหลือง) ของปรีดี พนมยงค์
    ดังนั้นจะเห็นได้ว่าเค้าโครงเศรษฐกิจ (สมุดปกเหลือง) ของ
ปรีดี พนมยงค์ เป็นเอกสารประวัติศาสตร์ที่มีนัยสำาคัญต่อสังคม
ไทย 2 ประการ โดยจะเห็นได้ว่าเป็นนัยของการพัฒนา คือ
1. เป็นร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก
และฉบับเดียวของประเทศไทยที่
     เสนอแนวทางเศรษฐกิจแห่งชาติแบบสังคมนิยม ภายใต้
กรอบการเมืองในระบอบ
     ประชาธิปไตยของประเทศไทย
2. ผลของการเสนอ “สมุดปกเหลือง” ก่อให้เกิดวาทกรรม
ระหว่างกลุ่มทีมีวิสัยทัศน์ทาง
                ่
5



     เศรษฐกิจ-การเมือง ซึงแตกต่างกัน 2 ขั้ว ในคณะรัฐบาลชุด
                              ่
แรกของระบอบประชาธิปไตยไทย
     ขั้วหนึ่ง คือ กลุ่มหัวก้าวหน้าในคณะราษฎร นำาโดย หลวง
ประดิษฐ์มนูธรรม ผู้เป็นตัวแทน
     ทัศนะเศรษฐกิจสังคมนิยมแบบอ่อนๆ
     อีกขั้วหนึ่ง คือ กลุ่มศักดินา-ขุนนาง-ทหาร นำาโดย พระยา
มโนปกรณ์นิติธาดา ผูเป็นตัวแทน
                          ้
     ทัศนะเศรษฐกิจบริวารโลกทุนนิยมเสรี โดยได้มีการกล่าวหา
ว่าปรีดี พนมยงค์เป็น
      คอมมิวนิสต์ และทำาให้เค้าโครงเศรษฐกิจนี้มิได้มีผลบังคับ
ใช้
  แต่อย่างไรก็ตามแม้ว่าเค้าโครงเศรษฐกิจนี้จะมิได้รับความเห็น
ชอบจากคณะรัฐมนตรี เพราะถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ แต่
สำาหรับในแวดวงวิชาการในปัจจุบัน เช่น
ในทัศนะของ ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ เห็นว่าเค้าโครงเศรษฐกิจนั้น
ท่านปรีดีได้มีคำาชี้แจงชัดเจนว่า ได้มีการหยิบเอาส่วนดีของลัทธิ
ต่างๆ ที่เห็นว่าเหมาะสมแก่ประเทศมานำาเสนอในเค้าโครง และ
ชี้อย่างชัดเจนว่าการจะร่างนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจที่ดีนั้น
ต้องขจัดเอาประโยชน์ส่วนตนและทิฐิมานะออก และต้องมีใจ
เป็นกลาง เจตนารมณ์ของ สมุดปกเหลืองเค้าโครงทาง
เศรษฐกิจของท่านอาจารย์ปรีดี คือ ต้องการเปิดโอกาสและปู
ทางให้ประชาชนสามัญชนทั้งหลายเข้ามามีสิทธิมีส่วนร่วมใน
การจัดการเศรษฐกิจตั้งแต่ในระดับชุมชนจนถึงระดับชาติ
     และที่สำาคัญต้องทำาให้ประเทศมีเอกราชทางเศรษฐกิจ ความ
คิดทางเศรษฐกิจของท่านปรีดีก็ได้ถูกนำามาใช้ในปัจจุบันหลาย
เรื่อง สะท้อนให้เห็นว่าความคิดทางเศรษฐกิจหลายประการอาจ
จะลำ้าสมัย จึงมีผู้คนจำานวนไม่น้อยในระยะนั้นไม่เข้าใจหรือแสร้ง
ไม่เข้าใจเนื่องจากไปขัดแย้งกับผลประโยชน์ตน ไม่ว่าจะ
เป็นการจัดตั้งสหกรณ์ทางเศรษฐกิจของชุมชน ระบบประกัน
สังคม ระบบภาษีที่สร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และได้มผู้     ี
เห็นว่าแนวความคิด ในเค้าโครงเศรษฐกิจ มิใช่เป็นแบบ
คอมมิวนิสต์ ดังที่ถูกกล่าวหา แต่เป็น แบบที่ นายปรีดี กล่าวว่า
6



“โปลิซีของข้าพเจ้านั้น เดินแบบโซเชียลลิสม์ ผสมลิ
เบรัล” ดังจะเห็นได้ว่า ในเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว มีการ
รับรองกรรมสิทธิ์ของเอกชนไว้ ในหมวดที่ 3 เช่นเดียวกับที่มีใน
ประเทศเสรีนิยมทางเศรษฐกิจทั้งหลาย
   นอกจากนี้จะเห็นได้ว่าแม้ว่าเค้าโครงเศรษฐกิจของปรีดี พนม
ยงค์ จะมิได้มีผลบังคับใช้ แต่สาระสำาคัญในเค้าโครงเศรษฐกิจ
ก็ได้รับนำามาปฏิบัติก็เป็นแบบฉบับของการวางแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติอย่างเป็นระบบ และความคิดหลาย
อย่างในเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว ก็ได้มีการนำามาปฏิบัติอย่าง
ได้ผลดี ทังในสมัยที่เขาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการบริหารประเทศ
           ้
และหลังจากสมัยของปรีดี อาทิเช่น การก่อตั้ง ธนาคารแห่ง
ประเทศไทย การจัดระบบ การเก็บภาษีที่เป็นธรรม (ประมวล
รัษฎากร) การปรับปรุง ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ให้
สอดคล้องกับ ระบบการเมืองใหม่ และการประกันสังคม แก่
ราษฎรทั่วหน้า
  โดยปรีดี พนมยงค์เป็นนักการเมืองคนแรก ที่ริเริ่มแนวความคิด
ที่จะให้ราษฎรทุกคน ได้รับการ ประกันสังคม (Social
assurance) จากรัฐบาล โดยระบุไว้อย่างชัดเจน ในหมวดที่ 3
แห่งเค้าโครงการเศรษฐกิจ แต่น่าเสียดาย ที่ร่างของแนวความ
คิดดังกล่าว ถูกกล่าวหาว่า เป็นคอมมิวนิสต์ กว่าประเทศไทยจะ
ยอมรับให้มีนโยบายประกันสังคมให้แก่ประชาชน ก็เป็นร่วงเลย
ไปเป็นระยะเวลาที่ยาวนานมาก


           ……………………………………………….
7




โครงสร้างเศรษฐกิจปรีดี พนมยงค์
 ในช่วงคริสตศตวรรษที่ ๑๙ บรรดาชาติมหาอำานาจตะวันตก ได้
แผ่แสนยานุภาพ มาสู่เอเซียใต้ และคาบสมุทรอินโดจีนอีกครั้ง
หลังจากที่เคยเข้ามาครั้งแรก เมื่อราว ๔ ศตวรรษ ก่อนหน้านั้น
การแผ่แสนยานุภาพ ของชาติมหาอำานาจตะวันตกในยุคนี้ ต่าง
จากยุคแรก ตรงที่ไม่เพียงเข้ามาเพื่อล่าอาณานิคม และเผยแพร่
ศาสนาเท่านั้น หากยังเข้ามาพร้อมกับลัทธิการค้าเสรี ความ
ก้าวหน้าทางวิทยาการแผนใหม่ และระบบการปกครองแบบปา
เลียเมนต์ด้วย ราชอาณาจักรสยาม หรืออีกนัยหนึ่งประเทศไทย
ได้รับผลกระทบ จากการล่าอาณานิคม ในช่วงศตวรรษนี้ เช่น
เดียวกับประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งหลาย นับตั้งแต่ ต้องถูกบังคับให้
เข้าสู่ ตลาดการค้าเสรีของโลก ด้วยการลงนามในสนธิสัญญา
บาวริ่ง พ.ศ.๒๓๙๘ และตามมาด้วย การสถาปนา ระบบ
สิทธิสภาพ นอกอาณาเขต และการสูญเสีย ดินแดนบางส่วน
เพื่อรักษาเอกราช และอิสรภาพ ของชาติไว้
   ผลกระทบดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดพลวัตขนานใหญ่ในสังคม
ไทย เพื่อปรับตัว ให้เท่าทัน และสามารถอยู่รอดได้ ใน
ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงของโลก ในระดับ
ชนชั้นที่มีการศึกษาของฝ่ายคณะราษฎรก็ได้มี การเรียกร้อง ให้
มีปาเลียเมนต์ ได้แก่ การเรียกร้องของ เทียนวรรณ และ ก.ส.ร.
กุหลาบ ตลอดจนการเรียกร้อง ของพระบรมวงศานุวงศ์ และ
ข้าราชการอีกจำานวนหนึ่งที่ได้ลงพระนาม และลงนาม ใน
เอกสารกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่
หัว เพื่อขอให้เปลี่ยนแปลงการปกครอง ไปเป็นแบบลิมิเต็ดโม
8



นากี เมื่อ ร.ศ. ๑๐๓ (ตรงกับพุทธศักราช ๒๔๒๘) และซึงต่อมา ่
มีผลทำาให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิรูป
การปกครองครั้งใหญ่ ในปี พ.ศ.๒๔๓๕ โดยล้มเลิกการบริหาร
ราชการ แบบจตุสดมภ์โบราณ มาเป็น ระบบกระทรวงทบวงกรม
แบบตะวันตก และเพื่อให้ ได้คนที่มีความรู้ มาช่วยราชการ ใน
ระบบใหม่ ที่ทรงปฏิรูปนี้ ก็ได้ทรงส่งเสริม ให้ลูกเจ้านาย ขุนนาง
และให้ทุนลูกหลานราษฎรที่เรียนดี ไปศึกษาต่อ ในอังกฤษ
และภาคพื้นยุโรป
    แต่พลวัตภายในสังคมไทย มิได้หยุดยั้งเพียงเท่านี้ กล่าวคือ
เมื่อระบบเศรษฐกิจ ของประเทศไทย ถูกดึงเข้าสู่ระบบ
เศรษฐกิจโลก มากยิ่งขึ้น กลไกการบริหาร การปกครองแบบเก่า
ไม่สามารถตอบสนอง การแก้ปัญหาเศรษฐกิจสังคมยุคใหม่ได้
ดังบันทึกของพระยาสุริยานุวัติ เสนาบดี กระทรวงพระคลังมหา
สมบัติ ได้แสดงสถานภาพของชาวนา ส่วนใหญ่ของประเทศใน
ยุคนั้น ดังนี้
   "ชาวนาที่ยากจน ขัดสนด้วยทุน ต้องออกแรงทำางานแต่ลำาพัง
ด้วยความเหน็ดเหนื่อยเพียงใด ย่อมจะเห็นปรากฎ อยู่ทั่วไปแล้ว
ในเวลา ที่ทำางานอยู่ เสบียงอาหาร และผ้านุ่งห่มไม่พอ ก็ต้อง
ซื้อเชื่อเขา โดยต้องเสีย ราคาแพง หรือถ้าต้องกู้เงินเขาไปซื้อ
ก็ต้องเสียดอกเบี้ยอย่างแพงเหมือนกัน เมื่อเกี่ยวข้าวได้ผลแล้ว
ไม่มีกำาลัง และพาหนะ พอจะขนไปจากลานนวดข้าว หรือไม่มี
ยุ้งฉาง สำาหรับเก็บข้าวไว้ขาย เมื่อเวลาข้าวในตลาดจะขึ้นราคา
ก็ต้องจำาเป็นขายข้าวเสีย แต่เมื่ออยู่ในลานนั้นเอง จะได้ราคา
ตำ่าสักเท่าใด ก็ต้องจำาใจขาย มิฉะนั้นจะไม่ได้เงินใช้หนี้เขาทัน
กำาหนดสัญญาต้องเสียเปรียบ เพราะมีทุนน้อย เช่นนี้ ที่สุด เมื่อ
ขายข้าวได้สิ้นเชิงแล้ว บางทีก็จะไม่ได้เงินใช้หนี้เขาพอคุ้มค่า
สิ่งของซึ่งจำาเป็นต้องบริโภคในการเลี้ยงชีพแท้ๆ เมื่อปีหน้าจะ
ทำานาต่อไป ก็ต้องเป็นหนี้เขาอีก หนีใหม่ทันถมหนีเก่ามาก
                                      ้            ้
หนักขึ้นทุกปีไป แรงที่ได้ออกไป โดยความเหน็ดเหนื่อย และ
ความซึ่งต้องทรมานกาย อุตส่าห์ตากแดด ตากฝน ทนลำาบาก
9



มา เป็นหนักหนานั้น ก็ไม่ทำาให้เกิดผล เป็นทรัพย์ของตัวขึ้นได้
เท่ากับออกแรงทำาประโยชน์ ให้แก่ผู้อื่นฝ่ายเดียวเป็นแท้ ดูเป็น
ที่สมเพชนัก" ผู้อภิวัฒน์ ประชาธิปไตย
  การที่สภาพเศรษฐกิจของสยามล้าหลังเช่นนี้ ก็เพราะอยู่ภาย
ใต้โครงสร้างสังคมอุปภัมภ์แบบเจ้าขุนมูลนาย ราษฎรไทยส่วน
ใหญ่ ยังอยู่ในภาคเกษตร แบบดั้งเดิม ด้อยโอกาส ในการเรียนรู้
และรับรู้ความเปลี่ยนแปลง ของโลกภายนอก ยังมีนโยบาย จัด
ระบบการศึกษา ในลักษณะส่งเสริมให้ราษฎรรู้จัก คิด อ่าน สร้าง
สรรค
    ด้วยเหตุนี้ แม้ยุคสมัย จะล่วงเข้าสู่ ต้นคริสตศวรรษที่ ๒๐
แล้วก็ตาม ราษฎรไทย ก็ยังไม่มีสิทธิมีเสียงหรือมีส่วนร่วมในการ
กำาหนดชะตากรรมของบ้านเมือง หรือแม้แต่ชะตากรรมของ
ราษฎรเอง สภาวะความล้าหลังทางสังคม ดังกล่าวนี้เอง เป็น
เหตุให้เกิดการกบฎของกลุ่มปัญญาชน ข้าราชการชั้นผู้น้อย (
หรือกบฎ ร.ศ. ๑๓๐) ใน พ.ศ.๒๔๕๔ อันเป็นปีแรก แห่งรัชกาล
ที่ ๖ ทังนี้ เพื่อเรียกร้องให้ มีการจำากัดอำานาจ ของพระมหา
        ้
กษัตริย์ ให้อยู่ภายใต้กฎหมาย แม้กบฎ ร.ศ. ๑๓๐ จะ ประสบ
ความล้มเหลว ในการเปลี่ยนแปลง การปกครอง ก็ได้เป็นกรณี
แบบอย่าง ที่สร้างแรงบันดาลใจ ในการอภิวัฒน์ ให้แก่ราษฎร
ไทย ผูนิยมประชาธิปไตย ทังหลาย
          ้                     ้
    นายปรีดี พนมยงค์ ถือกำาเนิด และเติบโตมาในท่ามกลาง
กระแสการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว ท่านเกิดเมื่อวันที่ ๑๑
พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๔๓ อันเป็นช่วงปลายสมัย รัชกาลที่ ๕ ใน
ครอบครัวชาวนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ช่วงชีวิต ๑๕-๑๖ ปี
ในวัยเด็ก ช่วยให้นายปรีดี ได้สัมผัสกับ สภาพปัญหาของชาวนา
ซึ่งก็คือ ปัญหาใหญ่ของประเทศในยุคนั้น ท่านได้สะท้อน
ปัญหาที่เห็น ในวัยเยาว์ว่า "เนื่องจากชาวนา ต้องประสบภัย
ธรรมชาติ เช่น โรคพืช, ฝนแล้ง, นำ้าท่วมมากเกินไป ป่วยไข้
ทำางานไม่ได้ ต้องถูกขโมยลักควาย แต่เจ้าของที่ดินก็ไม่ปราณี
คือเรียกเก็บค่าเช่าที่ดินตามที่ตกลงกันไว้ให้ได้ จึงทำาให้ลูกนา
10



อัตคัตขัดสน เจ้าของนาก็ทำาการยึดทรัพย์ ตลอดจนข้าวกิน ข้าว
ปลูกที่ชาวนา พอมีอยู่บ้างนั้น" และ "ความอัตคัตขัดสน ของ
ชาวนา มีอีกมากมายหลายประการ ที่แสดงว่า ชาวนาไม่ได้รับ
ความช่วยเหลือ จากทางราชการ แต่ชาวนา ก็มีภาระ ที่ต้องเสีย
เงินรัชชูปการ ถ้าไม่มีเงินเสีย ก็ต้องถูกเกณฑ์ไปทำางาน
ประมาณปีละ ๑๕-๓๐ วัน และต้องเสียอากรค่านา"
   การรับรู้สภาพปัญหาของสังคมไทยนับแต่วัยเยาว์ของนาย
ปรีดี มิได้เกิน ความจริง เมื่อเปรียบเทียบกับ รายงานของ
ดร.คาร์ล ซี ซิมเมอร์แมน แห่งมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด
สหรัฐอเมริกา ผู้ได้รับการเชื้อเชิญจากรัฐบาลสยาม ให้เข้ามา
สำารวจ เศรษฐกิจในสยาม ตังแต่ พ.ศ. ๒๔๗๓ ดังปรากฎ ใน
                              ้
รายงาน ตอนหนึ่งว่า"พ่อค้าคนกลาง คิดกำาไรจากการกู้หนี้ยืม
สิน ชาวชนบทหลายทาง กระทำาให้วิธีการซื้อสินค้า และวิธีขาย
สินค้า ผิดหลักทางเศรษฐกิจ เนื่องด้วย พ่อค้าคนกลาง มี
อำานาจทางเศรษฐกิจ เหนือกสิกร ผู้รับซื้อข้าว เป็นผูแบ่งข้าว
                                                   ้
เปลือก ในท้องที่ ออกเป็นชั้นต่างๆ และตังราคา ตามชอบใจ
                                          ้
ข้อบกพร่องต่างๆ เหล่านี้ กระทำาให้กสิกรรม ก้าวหน้าได้อย่าง
แสนเข็ญ"
   และเมื่อมีโอกาสเข้ามาศึกษาต่อ ในโรงเรียนกฎหมาย แห่ง
กระทรวงยุติธรรม ที่กรุงเทพฯ นายปรีดี ก็ได้รับรู้ ถึงสิ่งที่เรียกว่า
"สิทธิสภาพ นอกอาณาเขต" ซึ่งอาจารย์ผู้สอน กล่าวถึงบุคคล
ต่างชาติ ผู้มีสิทธิพิเศษ นอกอำานาจ ศาลสถิตย์ยุติธรรม ของ
สยาม ความรู้นี้เอง ทำาให้นักเรียนกฎหมายปรีดี เริ่มตระหนักถึง
การสูญเสียเอกราช ทางการศาลของประเทศ
  ในเวลาต่อมา นายปรีดี ได้ให้สัมภาษณ์ ประสบการณ์ทาง
สังคม ที่ท่านได้รับรู้ ในวัยเยาวร์ว่า "ผมได้กล่าวแล้ว ถึงสภาพ
สังคมไทย ที่ผมประสบพบเห็น แก่ตนเองว่า ราษฎรได้มีความ
อัตคัต ขัดสนในทางเศรษฐกิจ เพราะไม่มี สิทธิเสรีภาพ กับ
ความเสมอภาค ในทางการเมือง อีกทั้งตกอยู ภายใต้อิทธิพล
และอำานาจของหลายประเทศทุนนิยม ผมได้มความคิด ก่อนที่
                                               ี
11



ได้มาศึกษาในฝรั่งเศสแล้ว ว่าจะต้องค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติม ว่ามี
วิธีใดที่จะทำาให้ ความเป็นอยู่ของราษฎรดีขึ้น"
  เช่นเดียวกับนักเรียน ผู้มผลการเรียนดีเด่นอื่นๆ นายปรีดี ได้รับ
                           ี
ทุน จากกระทรวงยุติธรรม เพื่อไปศึกษาต่อวิชากฎหมาย ณ
ประเทศฝรั่งเศส (ระหว่าง พ.ศ.๒๔๖๓-๒๔๗๐) แต่ท่านไม่เคย
ละทิง อุดมการณ์ และการรับรู้ เกี่ยวกับ สภาพปัญหาเศรษฐกิจ
     ้
สังคมของบ้านเกิดเมืองนอน ตรงกันข้ามประสบการณ์เหล่านั้น
กลับเป็นเรงกระตุ้นให้ท่านมีมานะ ศึกษาเรียนรู้วิชากฎหมาย
รวมทั้งวิชาเศรษฐศาสตร์ชั้นสูง ของตะวันตกเพื่อนำามาประยุกต์
ใช้ ในการปรับปรุงสภาพสังคมไทย จากการที่ ได้เรียนรู้
วิชาการของประเทศภาคพื้นยุโรป และอังกฤษ นี้เอง ทำาให้นาย
ปรีดี เห็นความสำาคัญของ การเปลี่ยนแปลง การปกครอง
ประเทศ เข้าสู่การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย
(Democracy) ทั้งนี้ เพื่อเป็นรากฐาน ในการสร้างชีวิตใหม่ และ
วัฒนธรรมใหม่ ให้แก่สังคมไทย ซึ่งจะต้องพัฒนาเข้าสู่ สังคม
ประชาธรรม (Civil Society) ตามวิถีของ สังคมนานาอารยะ
ประเทศ ด้วยเหตุว่า ระบอบ ประชาธิปไตยเป็นรากฐานที่ขาด
เสียมิได้ สำาหรับอารยธรรมของมนุษยชาติ ในสังคมยุคใหม่
   ด้วยแรงบันดาลใจดังกล่าว ประกอบกับกระแสความเป็นจริง
ของสังคมโลก เป็นเหตุผลักดันให้ท่าน กลายเป็นบุคคลสำาคัญ
ในคณะราษฎร ที่ได้สถาปนา ระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระ
มหากษัตริย์เป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ ทำาให้ระบอบ
ประชาธิปไตย มีความเจริญงอกงามขึ้น ในประเทศไทย ดังที่
ปรากฎอยู่ ในปัจจุบัน นายปรีดี มิได้มงหมาย เปลี่ยนแปลงการ
                                    ุ่
ปกครอง เพียงเพื่อให้ได้มา ซึ่งระบบ ประชาธิปไตย ทางการ
เมืองเท่านั้น หากแสดงเจตนารมณ์ และแสดงบทบาท อย่าง
แจ่มชัด ทีจะก้าวไป สู่ประชาธิปไตย ทางเศรษฐกิจ สังคม และ
          ่
การศึกษา เหนือสิ่งอื่นใด เขาปราถนาที่จะ ให้ระบอบ
ประชาธิปไตย เป็นบรรทัดฐาน ในการพัฒนาประชาชาติเล็กๆ
อย่างสยาม ให้ยืนหยัดอยู่ อย่างมีเอกราช และศักดิ์ศรี ในทุก
12



ด้าน ท่ามกลางนานาอารยประเทศ ในประชาคมโลกยุคใหม่
เจตนารมณ์ ประชาธิปไตยของเขา ปรากฎอย่างชัดเจน ในหลัก
๖ ประการของ "ประกาศคณะราษฎร" ที่เขาเป็นผู้ร่างขึ้น เพื่อใช้
เป็นคำาแถลงการณ์ ในวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔
มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ หลัก ๖ ประการ มีดังนี้
๑. จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชใน
ทางการเมือง ในทางศาล ในทาง เศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศ
ไว้ให้มั่นคง
๒. จะต้องรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อ
กัน ลดน้อยลงให้มาก
๓. จะต้องบำารุงความสุขสมบูรณ์ ในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาล
ใหม่ จะหางานให้ราษฎรทุกคนทำา จะวางโครงการเศรษฐกิจ
แห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก
๔. จะต้องให้ราษฎร มีสิทธิเสมอภาคกัน
๕. จะต้องให้ราษฎร ได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ
๖. จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่ แก่ราษฎร
   นอกจากเจตนารมณ์ทั้ง ๖ ประการนี้แล้ว แนวความคิดที่กล่าว
ได้ว่า เป็นจุดเด่นของนายปรีดี และเป็นจุดที่ตกเป็นเป้าของการ
วิพากษ์วิจารณ์มากที่สุด มาจนกระทั่งทุกวันนี้ ก็คือ "เค้าโครง
เศรษฐกิจแห่งชาติ" อันเป็นการแสดงให้เห็นว่า นายปรีดี ให้
ความสำาคัญกับการจัดระบบเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก
ทั้งนี้ โดยพิจารณาจากคำากล่าวของเขาเอง ที่ว่า "การ
เปลี่ยนแปลง การปกครองคราวนี้ ไม่ใช้ Coup d' Etat
เป็น Revolution ในทางเศรษฐกิจ" เจตนารมณ์ดังกล่าวนี้
นายปรีดี ได้ตราไว้ ในหมวดที่ ๑ แห่งเค้าโครงเศรษฐกิจฯ ที่เขา
ร่างขึ้นว่า "ข้าพเจ้าจึงยังคงยืนยันความข้อนี้อยู่เสมอ และเห็นว่า
ถ้ารัฐบาลได้จัดการโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ให้เหมาะสม
13



แล้ว การหางาน ให้ราษฎรทุกคนทำา ใช่เป็นการสุดวิสัยไม่ การ
บำารุงความสุขสมบูรณ์ ของราษฎรนี้ เป็นจุดประสงค์อันใหญ่
ของข้าพเจ้า ในการทำาการเปลี่ยนแปลง การปกครอง ข้าพเจ้า
มิได้ปรารถนา ที่จะเปลี่ยน พระเจ้าแผ่นดินองค์เดียว มาเป็น
หลายองค์ ซึงเป็นการปกครอง แบบประชาธิปไตย แต่เปลือก
                ่
นอกเท่านั้น ข้าพเจ้ามุ่งแต่สาระสำาคัญคือ "บำารุงความสุข
สมบูรณ์ ของราษฎร" และถือว่า รัฐธรรมนูญ เปรียบประดุจ
กุญแจที่จะไขประตู เปิดช่องให้ราษฎร ได้มีส่วนมีเสียง ในการ
ปกครอง ให้จัดถูกต้อง ตามความต้องการของตน และเมื่อประตู
ที่กีดกั้นอยู่ ได้เปิดออกแล้ว รัฐบาลก็จะต้องนำาราษฎร ผ่าน
ประตูนั้น เข้าไปสู่ชัยภูมิ แห่งความสมบูรณ์"
 แม้ความคิดในเรื่องการจัดระบบเศรษฐกิจโดยรัฐ ของนายปรีดี
จะมีจุดอ่อนให้วิพากษ์ อย่างไรก็ตาม แต่แท้ที่จริงแล้ว เค้าโครง
เศรษฐกิจฯ ของเขานั้น เป็นเค้าโครงการปฏิวัติสังคมด้วย บุคคล
ผู้สำาเร็จ ประกาศนียบัตรการศึกษาขั้นสูง ในทางเศรษฐกิจ
(Diploma d' Etudes Superieures of Economic Politique)
เช่นนายปรีดี ย่อมต้องตระหนักดีว่า ระบบเศรษฐกิจ
 ย่อมไม่มความหมาย แต่ประการใด ถ้าหากไม่ถูกใช้ เป็นเครื่อง
          ี
มือในการยกระดับคุณภาพชีวิตและสังคม ดังคำาชีแจงของเขา
                                                 ้
ในเค้าโครงเศรษฐกิจฯ ตอนหนึ่งว่า "ผู้อ่าน โดยมีอุปาทานร้าย
มักจะเหมาทันทีว่า การที่รัฐบาล ประกอบการเศรษฐกิจเสียเอง
นี้ จะทำาให้มนุษย์ กลายเป็นสัตว์... ข้าพเจ้าได้ระวัง มิให้มนุษย์
มีสภาพเป็นสัตว์ ข้าพเจ้าประสงค์ ให้มนุษย์ เป็นมนุษย์ยิ่งขึ้น
ปราศจากการประทุษร้ายต่อกัน อันเนื่องมาจาก เหตุเศรษฐกิจ"
 นายปรีดีฯ เป็นนักการเมืองคนแรก ทีริเริ่มแนวความคิด ที่
                                      ่
จะให้ราษฎรทุกคน ได้รับการ ประกันสังคม (Social assurance)
จากรัฐบาล โดยระบุไว้อย่างชัดเจน ในหมวดที่ ๓ แห่งเค้าโครง
เศรษฐกิจฯ แต่น่าเสียดาย ที่ร่างของแนวความคิดดังกล่าว ถูก
กล่าวหาว่า เป็นคอมมิวนิสต์ กว่าประเทศไทย จะยอมรับให้มีน
โยบายประกันสังคมให้แก่ประชาชน ก็เป็นเวลา ๖ ปี หลังจาก
14



นั้นแนวความคิด ในเค้าโครงเศรษฐกิจฯ มิใช่เป็นแบบ
คอมมิวนิสต์ ดังที่ถูกกล่าวหา แต่เป็น แบบที่นายปรีดี กล่าวว่า
"โปลิซีของข้าพเจ้านั้น เดินแบบโซเชียลลิสม์ ผสมลิ
เบรัล" ดังจะเห็นได้ว่า ในเค้าโครงการเศรษฐกิจดังกล่าว มีการ
รับรองกรรมสิทธิ์ของเอกชนไว้ ในหมวด ๓ เช่นเดียวกับที่มี ใน
ประเทศเสรีนิยมทางเศรษฐกิจทั้งหลาย
  แม้เค้าโครงการเศรษฐกิจฯ ของนายปรีดี จะไม่ได้รับการเห็น
ชอบ จากคณะรัฐมนตรียุคนั้น และตนเองก็ถูกเนรเทศ ด้วย
ข้อหาคอมมิวนิสต์ แต่เค้าโครงการเศรษฐกิจฯ ของเขา ก็เป็น
แบบฉบับของการวางแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
อย่างเป็นระบบและความคิดหลายอย่างในเค้าโครงการเศรษฐ
กิจฯดังกล่าว ก็ได้มีการนำามาปฏิบัติอย่างได้ผลดี ทังในสมัยที่
                                                  ้
เขาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการบริหารประเทศ และหลังจากนั้น อาทิ
เช่น การก่อตั้ง ธนาคารแห่งประเทศไทย การจัดระบบ การเก็บ
ภาษีที่เป็นธรรม (ประมวลรัษฎากร) การปรับปรุงระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน ให้สอดคล้องกับ ระบบการเมืองใหม่ และการ
ประกันสังคม แก่ราษฎรทั่วหน้า ฯลฯ


            ……………………………………………….




บทเรียนจากเค้าโครงเศรษฐกิจ
บทเรียนการเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจ ของท่านปรีดีเมื่อปี
พ.ศ.2476 เป็นตัวอย่างที่สำาคัญ ช่วงเวลาที่ "ปรีดี พนมยงค์" มี
บทบาททางการเมืองอย่างโดดเด่น บนเส้นทางประชาธิปไตย
ไทย ด้วยบทบาทตำาแหน่งหน้าที่ต่างๆ มากมาย ตังแต่การอภิ
                                                 ้
วัฒน์ 2475 จนถึง 8 พฤศจิกายน 2490 นั้น เป็นช่วงเวลาไม่
15



ยาวนานนักเพียง 15 ปีเท่านั้น แต่รัฐบุรุษท่านนี้ก็ได้บรรลุภารกิจ
หลายประการ เพื่อชาติ ราษฎร และระบอบประชาธิปไตย นับ
ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงการรัฐประหาร
2490 และทำาให้ "ปรีด" ต้องกลายเป็น "รัฐบุรุษพลัดถิ่น" ต้องระ
                     ี
หกระเหินลี้ภัยทางการเมืองไปอยู่ต่างแดนยาวนานกว่า 36 ปี
และถึงแก่อนิจกรรม ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ความเอาใจ
ใส่ต่อปัญหา "เศรษฐกิจ" และปัญหาปากท้องของประชาชน
สะท้อนจากคำาพูดของท่านที่กล่าวว่า "การเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองคราวนี้ ไม่ใช่ Coup d'Etat เป็น Revolution ในทาง
เศรษฐกิจ"
  พร้อมทั้งได้กำาหนดหลักเศรษฐกิจไว้ในหลัก 6 ประการ ที่คณะ
ราษฎรได้ประกาศในวันยึดอำานาจรัฐ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน
2475 ด้วยว่า "จะต้องบำารุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทาง
เศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ราษฎรทุกคนทำา
เศรษฐกิจแห่งชาติ และความพยายามที่จะพัฒนาเศรษฐกิจให้
เจริญก้าวหน้า เพื่อสร้างความสุขสมบูรณ์ ให้กับราษฎรในทาง
เศรษฐกิจ" ถือเป็นเป้าหมายและวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งของปรีดี
และคณะราษฎร ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 คณะ
ราษฎรได้พยายามที่จะแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกตำ่า ซึ่งส่ง
สัญญาณต่อเนื่องจากปลายสมัยรัชกาลที่หก ต่อเนื่องมาจนถึง
รัชกาลที่เจ็ด ทีมงานเศรษฐกิจของคณะราษฎรได้เริ่มลดภาระ
ประชาชน ด้วยการยกเลิกการเก็บภาษีอากรบางประเภท และ
ลดภาษีที่ดินสำาหรับปลูกข้าวลง 50%
  เดือนกรกฎาคม 2475 ได้มีการประกาศที่จะจัดทำาเค้าโครงการ
เศรษฐกิจแห่งชาติให้สำาเร็จโดยเร็ว ต่อมารัฐบาลจึงมีมติมอบ
หมายให้ปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจเสนอ
รัฐบาล เมื่อปรีดีได้ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจเสร็จ ได้นำาไปมอบ
ให้พระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรี เพื่อจะได้เสนอต่อ
ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีพิจารณารับรองก่อนเข้าที่ประชุมสภา เมื่อ
16



พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ได้รับร่างนั้นแล้ว ก็ได้เรียกประชุมขึ้น
อย่างไม่เป็นทางการครั้งที่หนึ่ง โดยไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน
ปรีดีได้เสนอเค้าโครงเศรษฐกิจเพื่อใช้เป็นหลักในการบริหารใน
วันที่ 10 มีนาคม 2476 และในที่สุด ก็ถูกบีบให้เดินทางออก
นอกประเทศลี้ภัยการเมืองครั้งแรก ด้วยข้อหามีการกระทำาอัน
เป็นคอมมิวนิสต์ จากการเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจ การเสนอ
เค้าโครงเศรษฐกิจของท่านปรีดีเข้าทางกลุ่มอนุรักษนิยมพอดี
จึงถือโอกาสกำาจัด "ปรีดี" ออกจากเวทีการเมือง
  แผนเศรษฐกิจฉบับแรกของคณะราษฎร ทั้งพระยาศรีวิสาร
วาจา พระยาราชวังสัน ตลอดจนนายกรัฐมนตรี พระยามโน
ปกรณ์นิติธาดา ไม่เห็นด้วย ตำาแหน่งนายกรัฐมนตรีของพระยา
มโนฯ นั้น ก็ได้รับการสนับสนุนโดยท่านปรีดี เพื่อเป็นการ
ประนีประนอมกับระบอบเก่า และสมัยที่ทำางานร่วมกันใน
กระทรวงยุติธรรมดูท่าทีแล้ว พระยามโนฯ น่าจะมีความคิด
ทางการเมืองก้าวหน้า แต่เมื่อพระยามโนฯ ได้ดำารงตำาแหน่ง
นายกรัฐมนตรีแล้ว ทุกอย่างก็เปลี่ยนแปลงไป              พระยา
มโนฯ เมื่อได้รับร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจนี้ไว้ ก็เก็บใส่ลิ้นชัก
เอาไว้มิได้มีการนำาขึ้นพิจารณาในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีอีก ต่อ
มาก็ได้มีการพิจารณาร่างเค้าโครงการของท่านปรีดีอย่างไม่เป็น
ทางการอีกเป็นครั้งที่สอง และผลจากการพิจารณามีแกนนำาปีก
อนุรักษนิยมในคณะราษฎรบางส่วนไม่เห็นด้วย อาทิเช่น พระยา
ทรงสุรเดช หลวงสินธุ์สงครามชัย พระประศาสน์พิทยายุทธ และ
นายประยูร ภมรมนตรี ขณะเดียวกัน ก็มีข่าวลือหนาหู ว่า ปรีดี
เป็นคอมมิวนิสต์ ทำาให้เกิดความไม่พอใจอย่างสูงในสภาผู้แทน
ซึ่งสมาชิกส่วนใหญ่สนับสนุนท่านปรีดี พระยามโนฯ จึงถูก
สมาชิกสภาผู้แทนเร่งเร้าให้รีบประกาศใช้แผนเศรษฐกิจ ดังที่
รัฐบาลเคยให้สัญญาไว้ และรับปากไว้แล้วว่ากำาลังอยู่ในระหว่าง
เตรียมร่าง ทั้งขู่ว่า ถ้ารัฐบาลไม่ประกาศแผนเศรษฐกิจในเร็ววัน
สภาจะเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล ในการ
ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครังที่ 55/2475 วันที่ 10 มีนาคม
                               ้
17



2475 นายจรูญ สืบแสง สมาชิกสภาผู้แทนได้ตั้งกระทู้ถาม
รัฐบาลเกี่ยวกับการจัดการเศรษฐกิจแห่งชาติ โดยนายจรูญ สืบ
แสง ได้กล่าวว่า
  "เท่าที่ได้ทราบมามีว่า นโยบายในทางเศรษฐกิจนี้ไม่ลงรอย
กัน เพราะต่างคนต่างเห็นชอบไปคนละทาง และบางคนก็มี
Prejudice ในบางคน หรือไม่อย่างนั้น ก็มี Prejudice ในทาง
นโยบาย อาทิเช่น นโยบายของหลวงประดิษฐ์ มีบางคนเข้าใจ
ว่า เป็นนโยบายทาง Communist หรือ Socialist แต่เราต้องคิด
ว่า นโยบายจะเป็นไปในทางใดก็ตาม ถ้าหากจะเป็นไปในทางที่
จะให้ราษฎรได้รับประโยชน์แล้ว ก็ควรจะเสียสละได้แม้ชีวิต
และเท่าที่เป็นอยู่เช่นนี้แล้ว เรามิได้ทำาประโยชน์อันใดเป็นปึก
แผ่น อาจจะนำามาซึ่งความแค้นเคืองของราษฎร เมื่อเป็นเช่นนี้
ก็จะเป็นเหตุให้ความรับผิดชอบตกแก่คณะราษฎร ผู้ริเริ่ม
เปลี่ยนแปลงการปกครองได้ เพราะได้ให้คำามั่นสัญญาไว้"
    ต่อมารัฐบาล จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมานุการขึ้นชุดหนึ่ง
จำานวน 14 คน มีพระยาราชวังสันเป็นประธาน พิจารณาร่าง
เค้าโครงการเศรษฐกิจของท่านปรีดี และด้วยเหตุนี้ จึงได้มีการ
เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ เพื่อพิจารณาอย่างเป็นทางการ
เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2475 ในการประชุมคณะกรรมานุการ
พิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจนี้ ปรีดีได้เริ่มแถลงว่า "หัวข้อ
สำาคัญในการประชุมวันนี้ เนื่องจากหลักหกประการที่ได้ประกาศ
ไว้ในข้อ 3 มีใจความอยู่ 3 ประการ ในการบำารุงความสุขสมบูรณ์
ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ คือ จะจัดมิให้ราษฎรอดอยาก จะ
หางานให้ราษฎรทุกคนทำา จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ
และเสนอว่า
"โครงการนี้ไม่ใช่หลักคอมมิวนิสต์ เรามีทั้งแคปิตัลลิสม์ และโซ
เชียลลิสม์รวมกัน ถ้าพวกคอมมิวนิสต์มาอ่านจะติเตียนมากกว่า
ยังรับรองพวกมั่งมีให้มีอยู่ และว่า "โปลีชีของข้าพเจ้านั้น เดิน
แบบโซเชียลลิสม์ผสมลิเบรัล" หลักการของข้าพเจ้านี้ ไม่ขัดกับ
18



Capitalism เดินคู่กันไปแท้ๆ เราต้องการให้มีทุน เราต้องอาศัย
ทุนของพวกมั่งมี"
  อย่างไรก็ตาม แม้เนื้อหาเค้าโครงเศรษฐกิจจะเป็นประโยชน์
ต่อราษฎรทั้งหลาย แต่ในที่สุด ภายใต้ความขัดแย้งทางการ
เมืองอันแหลมคม "เค้าโครงเศรษฐกิจ" ได้ถูกใช้เป็นหนึ่งใน
เหตุผลข้ออ้าง เพื่อยึดอำานาจรัฐ โดยพระองค์เจ้าบวรเดชและ
คณะ


            ……………………………………………….




                  เอกสารอ้างอิง
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2004q3/artic
le2004july27p2.htm
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2008q2/200
8april18p1.htm
http://th.answers.yahoo.com/question/index?
qid=20100704122057AAWeHb8
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2004q3/artic
le2004july27p2.htm
19



http://www.sainampeung.ac.th/chalengsak/work/u
nite4/chapter7/er7/ans7/ram7_ans.html สืบค้นวันที่
17 สิงหาคม 2554

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆwiriya kosit
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 

Was ist angesagt? (20)

ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
C3
C3C3
C3
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 

Andere mochten auch

ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5Pochchara Tiamwong
 
Nuomos sutarčių vykdymas ir nutraukimas
Nuomos sutarčių vykdymas ir nutraukimasNuomos sutarčių vykdymas ir nutraukimas
Nuomos sutarčių vykdymas ir nutraukimasLaura Kelmelytė
 
Orientation to Everyday Democracy's work
Orientation to Everyday Democracy's workOrientation to Everyday Democracy's work
Orientation to Everyday Democracy's workEveryday Democracy
 
Androidセミナーで学んだこと
Androidセミナーで学んだことAndroidセミナーで学んだこと
Androidセミナーで学んだことNozomu Akiyama
 
Presentacion Corporativa v0911
Presentacion Corporativa v0911Presentacion Corporativa v0911
Presentacion Corporativa v0911grametech_grup
 
82311 batlle safari
82311 batlle safari82311 batlle safari
82311 batlle safarilittlemons16
 
احلى لقطات ليلة ختم القرآن في مكة رمضان 1432 السديس
احلى لقطات ليلة ختم القرآن في مكة رمضان 1432 السديساحلى لقطات ليلة ختم القرآن في مكة رمضان 1432 السديس
احلى لقطات ليلة ختم القرآن في مكة رمضان 1432 السديسDr.Ebtehal G
 
Scissors Collection
Scissors CollectionScissors Collection
Scissors CollectionRupalee Fair
 
Creation of Manuscripts
Creation of ManuscriptsCreation of Manuscripts
Creation of Manuscriptsmoranck2
 
Statybos ekonomika ir inovacijos statyboje
Statybos ekonomika ir inovacijos statybojeStatybos ekonomika ir inovacijos statyboje
Statybos ekonomika ir inovacijos statybojeLaura Kelmelytė
 
Pastatų ūkio valdymas Švedijoje
Pastatų ūkio valdymas ŠvedijojePastatų ūkio valdymas Švedijoje
Pastatų ūkio valdymas ŠvedijojeLaura Kelmelytė
 
Folk ballads
Folk balladsFolk ballads
Folk balladsmoranck2
 

Andere mochten auch (17)

ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5
ประกาศ ผู้ประเมิน รอบที่ 5
 
Nuomos sutarčių vykdymas ir nutraukimas
Nuomos sutarčių vykdymas ir nutraukimasNuomos sutarčių vykdymas ir nutraukimas
Nuomos sutarčių vykdymas ir nutraukimas
 
Orientation to Everyday Democracy's work
Orientation to Everyday Democracy's workOrientation to Everyday Democracy's work
Orientation to Everyday Democracy's work
 
Androidセミナーで学んだこと
Androidセミナーで学んだことAndroidセミナーで学んだこと
Androidセミナーで学んだこと
 
Kingdom hearts
Kingdom heartsKingdom hearts
Kingdom hearts
 
Ajedrez usaid
Ajedrez usaidAjedrez usaid
Ajedrez usaid
 
What
WhatWhat
What
 
Presentacion Corporativa v0911
Presentacion Corporativa v0911Presentacion Corporativa v0911
Presentacion Corporativa v0911
 
82311 batlle safari
82311 batlle safari82311 batlle safari
82311 batlle safari
 
احلى لقطات ليلة ختم القرآن في مكة رمضان 1432 السديس
احلى لقطات ليلة ختم القرآن في مكة رمضان 1432 السديساحلى لقطات ليلة ختم القرآن في مكة رمضان 1432 السديس
احلى لقطات ليلة ختم القرآن في مكة رمضان 1432 السديس
 
Scissors Collection
Scissors CollectionScissors Collection
Scissors Collection
 
Creation of Manuscripts
Creation of ManuscriptsCreation of Manuscripts
Creation of Manuscripts
 
LefrancoisGandon@MSW11: ULiS
LefrancoisGandon@MSW11: ULiSLefrancoisGandon@MSW11: ULiS
LefrancoisGandon@MSW11: ULiS
 
Kingdom hearts
Kingdom heartsKingdom hearts
Kingdom hearts
 
Statybos ekonomika ir inovacijos statyboje
Statybos ekonomika ir inovacijos statybojeStatybos ekonomika ir inovacijos statyboje
Statybos ekonomika ir inovacijos statyboje
 
Pastatų ūkio valdymas Švedijoje
Pastatų ūkio valdymas ŠvedijojePastatų ūkio valdymas Švedijoje
Pastatų ūkio valdymas Švedijoje
 
Folk ballads
Folk balladsFolk ballads
Folk ballads
 

Ähnlich wie สมุดปกเหลือง

บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการSaiiew
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารBoBiw Boom
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยKlangpanya
 
Security sector governace
Security sector governaceSecurity sector governace
Security sector governaceTeeranan
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการSaiiew
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
9789740329848
97897403298489789740329848
9789740329848CUPress
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateKatawutPK
 

Ähnlich wie สมุดปกเหลือง (20)

รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 
Pw4 5
Pw4 5Pw4 5
Pw4 5
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
Pw10
Pw10Pw10
Pw10
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
4สมัยประชาธิปไตย
4สมัยประชาธิปไตย4สมัยประชาธิปไตย
4สมัยประชาธิปไตย
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
2
22
2
 
Security sector governace
Security sector governaceSecurity sector governace
Security sector governace
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
Social M.2 term1
Social M.2 term1Social M.2 term1
Social M.2 term1
 
9789740329848
97897403298489789740329848
9789740329848
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the state
 

สมุดปกเหลือง

  • 1. 1 สมุดปกเหลือง สมุดปกเหลือง นั้น คือโครงการเศรษฐกิจ ของ หลวงประดิ ษฐมนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค์) ในสมัยรัฐบาลพระยามโนปกร์ นิติธาดาสมัยที่ ๒ ซึงก่อให้เกิดความแตกแยกออกเป็น ๒ ่ ฝ่ายในยุคนั้น ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยลงความเห็นว่าเป็นแผนที่นิยม ระบอบคอมมิวนิสต์ โครงการหลักในแผนปฏิรูปเศรษฐกิจที่ ทำาให้ถูกมองว่าฝักใฝ่คอมมิวนิสต์ คือ รัฐจะบังคับซื้อที่นาและที่ สวนทั้งหมดเป็นของรัฐบาลทั้งหมด โดยจะจ่ายเป็นพันธบัตร รัฐบาลแทนเงินสด จากนั้นให้เกษตรกร ชาวนายังคงทำาไร่ทำานา ทำาสวนในที่ของตน ในฐานะลูกจ้างของรัฐ แต่ไม่มีกรรมสิทธิ์ใน ที่ดิน ไม่เป็นทั้งเจ้าของและผู้เช่า ค่าจ้างที่จ่ายจะจ่ายเป็นตั๋วเงิน หรือพันธบัตร หรือบัตรแทนเงิน ซึ่งเกษตรกรจะสามารถใช้ตั๋ว เงินเหล่านี้ซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในร้านที่รัฐจะจัดตั้งขึ้นเพื่อ จำาหน่ายสินค้าราคาถูก ส่วนผลผลิตทางการเกษตรที่ได้เป็นของ รัฐ รัฐเป็นผู้จัดจำาหน่ายเพื่อตัดปัญหาพ่อค้าคนกลาง - ความแตกแยกทีเกิด ฝ่ายที่สนับสนุนนายก ฯ เช่น พ.อ. ่ พระยาทรงสุรเดช พ.อ.พระยาฤทธิอัคคเณย์ ตลอดจนพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงมีพระวินิจฉัยเห็นชอบกับ แนวทางของพระยามโนปกรณ์ โดยทรงอธิบายคัดค้านโดยยก เหตุผลด้านเศรษฐกิจ การเมืองอย่างละเอียด และมีความตอน หนึ่งว่า " การที่จะรู้ว่าใครเป็นคนถูกหรือผิดก็ต้องทดลองดูเท่านั้นจึงจะ เห็นได้ แต่มีข้ออันหนึ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจนไม่ต้องเป็นสิ่ง สงสัยเลยว่า โครงการอันนี้เป็นโครงการอันเดียวอย่างแน่นอน กับที่ประเทศรัสเซียใช้อยู่ ส่วนใครจะเอาอย่างใครนั้นข้าพเจ้าไม่ ทราบสตาลินจะเอาอย่างหลวงประดิษฐ์ หรือหลวงประดิษฐ์จะ เอาอย่างสตาลินก็ตอบไม่ได้ ตอบได้ข้อเดียวว่าโครงการทั้ง สองนี้เหมือนกันหมด เหมือนกันจนรายละเอียดเช่นที่ใช้และรูป ของวิธีการกระทำา" ส่วนฝ่ายที่เห็นกับหลวงประดิษฐมนูธรรมส่วนใหญ่เป็นนาย
  • 2. 2 ทหารและพลเรือนชั้นผู้น้อยและผู้ที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการ ปกครองวัยหนุ่มซึ่งดำารงตำาแหน่ง สส.ในขณะนั้นด้วย ปรากฏว่า เมื่อการประชุมสภาเพื่อพิจารณางบประมาณปี ๒๔๗๖ ได้มีสส. พกปืนเข้าไปในสภา อันถือเป็นการกระทำาที่คุกคามสภาผู้แทน ราษฎร ทำาให้รัฐบาลต้องสั่งให้ค้นอาวุธอย่างเข้มงวด ก่อให้เกิด ความไม่พอใจและมีการอภิปรายตำาหนิรัฐบาลอย่างรุนแรง รัฐบาลได้ตอบโต้โดยพรก.ปิดสมัยประชุมสภาและงดใช้ รัฐธรรมนูญบางมาตรา ตังรัฐบาลใหม่ ซึ่งในครั้งนั้นมีรัฐมนตรี ๕ ้ คนพ้นตำาแหน่ง ๑ ในนั้น คือ หลวงประดิษฐมนูธรรม ซึงรัฐบาล ่ ได้ให้ท่านและภริยาเดินทางไปฝรั่งเศส นับเป็นนักการเมืองไทย ในระบอบประชาธิปไตยคนแรกที่ถูกเนรเทศ - ผลกระทบจากสมุดปกเหลืองที่ถูกระบุว่ามีแนวคิด คอมมิวนิสต์ได้ก่อให้ความหวั่นไหวหวาดกลัวในหมู่ประชาชน ว่าคอมมิวนิสต์คือสิ่งที่จะทำาความหายนะแก่ราษฎรและทำาลาย ความมั่นคงของประเทศ และได้เกิดมีพรบ.คอมมิวนิสต์ ปี ๒๔๗๖ เป็นการอธิบายความหมายของคำา ๆ นี้เป็นครั้งแรก แต่ รัฐบาลของพระยามโนปกรณ์ ฯ ก็ถูกรัฐประหารเงียบเมื่อวันที่ ๒๐ มิย. ๒๔๗๖ โดยพ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนาซึงคุมกำาลัง ทั้งทหารบก ทหารเรือ ส่งจดหมายบีบให้นายกและรัฐบาลลา ออก โดยที่สุดนั้นพระยามโนปกรณ์ฯต้องเดินทางออกนอก ประเทศไปอยู่ที่ปีนัง และอสัญกรรมที่นั่นเมื่อ ๑ ตค. ๒๔๙๑ ……………………………………………….
  • 3. 3 เค้าโครงเศรษฐกิจ เค้าโครงเศรษฐกิจเกิดขึ้นจาก ปรีดี พนมยงค์ ได้รับมอบหมาย จากคณะราษฎร และรัฐบาลซึ่งมีพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็น นายกรัฐมนตรีอยู่ขณะนั้น ให้ทำาการร่างแผนเกี่ยวกับเศรษฐกิจ ขึ้น - สาระสำาคัญของเนื้อหาในเค้าโครงเศรษฐกิจ คือ เริ่มแรกจะ มีคำาชีแจ้งว่าในการพิจารณาหรืออ่านเค้าโครงเศรษฐกิจนี้ ควร ้ วางใจเป็นกลาง ไม่นึกถึงประโยชน์ส่วนตน และควรขจัดทิฐิ มานะออก และในส่วนเนื้อหาจะแบ่งออกเป็น 11 หมวด ปรีดี พนมยงค์ได้ร่างเค้าโครงเศรษฐกิจ โดยต้องการให้บรรลุหลักข้อ 3 ของประกาศคณะราษฎร หลักซึงเกี่ยวแก่เศรษฐกิจของ ่ ประเทศมีความว่า “จะต้องบำารุงความสุขสมบูรณ์ของ ราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ ราษฎรทุกคนทำา จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก” และได้ชี้ให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงการปกครองที่เกิดขึ้นนี้ รัฐบาลทำาได้ไม่ใช่เหตุสุดวิสัย โดยเค้าโครงเศรษฐกิจมีลักษณะ เป็นแบบสหกรณ์เต็มรูปแบบแต่ไม่ทำาลายกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ของเอกชน โดยให้รัฐซื้อที่ดินจากเจ้าของเดิมด้วยพันธบัตร มีด อกเบี้ยประจำาปี นายปรีดียังได้วางหลักการประกันสังคม คือ
  • 4. 4 ให้การประกันแก่ราษฎรตั้งแต่เกิดจนตายว่า เมื่อราษฎรผู้ใดไม่ สามารถทำางาน หรือทำางานไม่ได้เพราะเจ็บป่วยหรือชราหรือ อ่อนอายุ ก็จะได้รับความอุปการะเลี้ยงดูจากรัฐบาล ซึงระบุไว้ ่ อย่างชัดเจนในหมวดที่ 3 แห่งเค้าโครงการเศรษฐกิจในชื่อร่าง พ.ร.บ.“ว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร” นอกจาก นี้ยังได้เสนอให้มีการตั้งธนาคารแห่งชาติ และออกสลากกินแบ่ง เพื่อระดมทุนให้แก่รัฐบาล แต่เมื่อนายปรีดีได้นำาร่างเค้าโครงเศรษฐกิจนี้เสนอต่อรัฐบาล ปรากฏว่าอนุกรรมการพิจารณาเค้าโครงเศรษฐกิจที่รัฐบาลตั้งขึ้น มากลั่นกรองส่วนใหญ่เห็นด้วย แต่อนุกรรมการส่วนน้อย อันนำา โดยพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ไม่เห็นด้วย เพราะไม่ต้องการให้ มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ซึ่งเจ้าและขุนนาง ยังเป็นผู้คุมอำานาจอยู่ เมื่อนำาเรื่องนี้เข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เสียงส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย นายปรีดีจึงขอลาออกจากตำาแหน่ง รัฐมนตรี ดังนั้นรัฐบาลจึงร่วมมือกับทหารบางกลุ่มทำาการยึด อำานาจด้วยการปิดสภาและออก พ.ร.บ. ว่าด้วยคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2476 ออกแถลงการณ์ประณามนายปรีดี พนม ยงค์ว่าเป็นคอมมิวนิสต์ นายปรีดีจำาต้องเดินทางออกนอก ประเทศไป และหลังจากนั้นก็ได้มีการออกสมุดปกขาว ซึงก็คือ ่ พระบรมราชวินิจฉัยของรัชกาลที่ 7 ออกโจมตีเค้าโครง เศรษฐกิจ (สมุดปกเหลือง) ของปรีดี พนมยงค์ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าเค้าโครงเศรษฐกิจ (สมุดปกเหลือง) ของ ปรีดี พนมยงค์ เป็นเอกสารประวัติศาสตร์ที่มีนัยสำาคัญต่อสังคม ไทย 2 ประการ โดยจะเห็นได้ว่าเป็นนัยของการพัฒนา คือ 1. เป็นร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก และฉบับเดียวของประเทศไทยที่ เสนอแนวทางเศรษฐกิจแห่งชาติแบบสังคมนิยม ภายใต้ กรอบการเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยของประเทศไทย 2. ผลของการเสนอ “สมุดปกเหลือง” ก่อให้เกิดวาทกรรม ระหว่างกลุ่มทีมีวิสัยทัศน์ทาง ่
  • 5. 5 เศรษฐกิจ-การเมือง ซึงแตกต่างกัน 2 ขั้ว ในคณะรัฐบาลชุด ่ แรกของระบอบประชาธิปไตยไทย ขั้วหนึ่ง คือ กลุ่มหัวก้าวหน้าในคณะราษฎร นำาโดย หลวง ประดิษฐ์มนูธรรม ผู้เป็นตัวแทน ทัศนะเศรษฐกิจสังคมนิยมแบบอ่อนๆ อีกขั้วหนึ่ง คือ กลุ่มศักดินา-ขุนนาง-ทหาร นำาโดย พระยา มโนปกรณ์นิติธาดา ผูเป็นตัวแทน ้ ทัศนะเศรษฐกิจบริวารโลกทุนนิยมเสรี โดยได้มีการกล่าวหา ว่าปรีดี พนมยงค์เป็น คอมมิวนิสต์ และทำาให้เค้าโครงเศรษฐกิจนี้มิได้มีผลบังคับ ใช้ แต่อย่างไรก็ตามแม้ว่าเค้าโครงเศรษฐกิจนี้จะมิได้รับความเห็น ชอบจากคณะรัฐมนตรี เพราะถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ แต่ สำาหรับในแวดวงวิชาการในปัจจุบัน เช่น ในทัศนะของ ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ เห็นว่าเค้าโครงเศรษฐกิจนั้น ท่านปรีดีได้มีคำาชี้แจงชัดเจนว่า ได้มีการหยิบเอาส่วนดีของลัทธิ ต่างๆ ที่เห็นว่าเหมาะสมแก่ประเทศมานำาเสนอในเค้าโครง และ ชี้อย่างชัดเจนว่าการจะร่างนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจที่ดีนั้น ต้องขจัดเอาประโยชน์ส่วนตนและทิฐิมานะออก และต้องมีใจ เป็นกลาง เจตนารมณ์ของ สมุดปกเหลืองเค้าโครงทาง เศรษฐกิจของท่านอาจารย์ปรีดี คือ ต้องการเปิดโอกาสและปู ทางให้ประชาชนสามัญชนทั้งหลายเข้ามามีสิทธิมีส่วนร่วมใน การจัดการเศรษฐกิจตั้งแต่ในระดับชุมชนจนถึงระดับชาติ และที่สำาคัญต้องทำาให้ประเทศมีเอกราชทางเศรษฐกิจ ความ คิดทางเศรษฐกิจของท่านปรีดีก็ได้ถูกนำามาใช้ในปัจจุบันหลาย เรื่อง สะท้อนให้เห็นว่าความคิดทางเศรษฐกิจหลายประการอาจ จะลำ้าสมัย จึงมีผู้คนจำานวนไม่น้อยในระยะนั้นไม่เข้าใจหรือแสร้ง ไม่เข้าใจเนื่องจากไปขัดแย้งกับผลประโยชน์ตน ไม่ว่าจะ เป็นการจัดตั้งสหกรณ์ทางเศรษฐกิจของชุมชน ระบบประกัน สังคม ระบบภาษีที่สร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และได้มผู้ ี เห็นว่าแนวความคิด ในเค้าโครงเศรษฐกิจ มิใช่เป็นแบบ คอมมิวนิสต์ ดังที่ถูกกล่าวหา แต่เป็น แบบที่ นายปรีดี กล่าวว่า
  • 6. 6 “โปลิซีของข้าพเจ้านั้น เดินแบบโซเชียลลิสม์ ผสมลิ เบรัล” ดังจะเห็นได้ว่า ในเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว มีการ รับรองกรรมสิทธิ์ของเอกชนไว้ ในหมวดที่ 3 เช่นเดียวกับที่มีใน ประเทศเสรีนิยมทางเศรษฐกิจทั้งหลาย นอกจากนี้จะเห็นได้ว่าแม้ว่าเค้าโครงเศรษฐกิจของปรีดี พนม ยงค์ จะมิได้มีผลบังคับใช้ แต่สาระสำาคัญในเค้าโครงเศรษฐกิจ ก็ได้รับนำามาปฏิบัติก็เป็นแบบฉบับของการวางแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติอย่างเป็นระบบ และความคิดหลาย อย่างในเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว ก็ได้มีการนำามาปฏิบัติอย่าง ได้ผลดี ทังในสมัยที่เขาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการบริหารประเทศ ้ และหลังจากสมัยของปรีดี อาทิเช่น การก่อตั้ง ธนาคารแห่ง ประเทศไทย การจัดระบบ การเก็บภาษีที่เป็นธรรม (ประมวล รัษฎากร) การปรับปรุง ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ให้ สอดคล้องกับ ระบบการเมืองใหม่ และการประกันสังคม แก่ ราษฎรทั่วหน้า โดยปรีดี พนมยงค์เป็นนักการเมืองคนแรก ที่ริเริ่มแนวความคิด ที่จะให้ราษฎรทุกคน ได้รับการ ประกันสังคม (Social assurance) จากรัฐบาล โดยระบุไว้อย่างชัดเจน ในหมวดที่ 3 แห่งเค้าโครงการเศรษฐกิจ แต่น่าเสียดาย ที่ร่างของแนวความ คิดดังกล่าว ถูกกล่าวหาว่า เป็นคอมมิวนิสต์ กว่าประเทศไทยจะ ยอมรับให้มีนโยบายประกันสังคมให้แก่ประชาชน ก็เป็นร่วงเลย ไปเป็นระยะเวลาที่ยาวนานมาก ……………………………………………….
  • 7. 7 โครงสร้างเศรษฐกิจปรีดี พนมยงค์ ในช่วงคริสตศตวรรษที่ ๑๙ บรรดาชาติมหาอำานาจตะวันตก ได้ แผ่แสนยานุภาพ มาสู่เอเซียใต้ และคาบสมุทรอินโดจีนอีกครั้ง หลังจากที่เคยเข้ามาครั้งแรก เมื่อราว ๔ ศตวรรษ ก่อนหน้านั้น การแผ่แสนยานุภาพ ของชาติมหาอำานาจตะวันตกในยุคนี้ ต่าง จากยุคแรก ตรงที่ไม่เพียงเข้ามาเพื่อล่าอาณานิคม และเผยแพร่ ศาสนาเท่านั้น หากยังเข้ามาพร้อมกับลัทธิการค้าเสรี ความ ก้าวหน้าทางวิทยาการแผนใหม่ และระบบการปกครองแบบปา เลียเมนต์ด้วย ราชอาณาจักรสยาม หรืออีกนัยหนึ่งประเทศไทย ได้รับผลกระทบ จากการล่าอาณานิคม ในช่วงศตวรรษนี้ เช่น เดียวกับประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งหลาย นับตั้งแต่ ต้องถูกบังคับให้ เข้าสู่ ตลาดการค้าเสรีของโลก ด้วยการลงนามในสนธิสัญญา บาวริ่ง พ.ศ.๒๓๙๘ และตามมาด้วย การสถาปนา ระบบ สิทธิสภาพ นอกอาณาเขต และการสูญเสีย ดินแดนบางส่วน เพื่อรักษาเอกราช และอิสรภาพ ของชาติไว้ ผลกระทบดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดพลวัตขนานใหญ่ในสังคม ไทย เพื่อปรับตัว ให้เท่าทัน และสามารถอยู่รอดได้ ใน ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงของโลก ในระดับ ชนชั้นที่มีการศึกษาของฝ่ายคณะราษฎรก็ได้มี การเรียกร้อง ให้ มีปาเลียเมนต์ ได้แก่ การเรียกร้องของ เทียนวรรณ และ ก.ส.ร. กุหลาบ ตลอดจนการเรียกร้อง ของพระบรมวงศานุวงศ์ และ ข้าราชการอีกจำานวนหนึ่งที่ได้ลงพระนาม และลงนาม ใน เอกสารกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว เพื่อขอให้เปลี่ยนแปลงการปกครอง ไปเป็นแบบลิมิเต็ดโม
  • 8. 8 นากี เมื่อ ร.ศ. ๑๐๓ (ตรงกับพุทธศักราช ๒๔๒๘) และซึงต่อมา ่ มีผลทำาให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิรูป การปกครองครั้งใหญ่ ในปี พ.ศ.๒๔๓๕ โดยล้มเลิกการบริหาร ราชการ แบบจตุสดมภ์โบราณ มาเป็น ระบบกระทรวงทบวงกรม แบบตะวันตก และเพื่อให้ ได้คนที่มีความรู้ มาช่วยราชการ ใน ระบบใหม่ ที่ทรงปฏิรูปนี้ ก็ได้ทรงส่งเสริม ให้ลูกเจ้านาย ขุนนาง และให้ทุนลูกหลานราษฎรที่เรียนดี ไปศึกษาต่อ ในอังกฤษ และภาคพื้นยุโรป แต่พลวัตภายในสังคมไทย มิได้หยุดยั้งเพียงเท่านี้ กล่าวคือ เมื่อระบบเศรษฐกิจ ของประเทศไทย ถูกดึงเข้าสู่ระบบ เศรษฐกิจโลก มากยิ่งขึ้น กลไกการบริหาร การปกครองแบบเก่า ไม่สามารถตอบสนอง การแก้ปัญหาเศรษฐกิจสังคมยุคใหม่ได้ ดังบันทึกของพระยาสุริยานุวัติ เสนาบดี กระทรวงพระคลังมหา สมบัติ ได้แสดงสถานภาพของชาวนา ส่วนใหญ่ของประเทศใน ยุคนั้น ดังนี้ "ชาวนาที่ยากจน ขัดสนด้วยทุน ต้องออกแรงทำางานแต่ลำาพัง ด้วยความเหน็ดเหนื่อยเพียงใด ย่อมจะเห็นปรากฎ อยู่ทั่วไปแล้ว ในเวลา ที่ทำางานอยู่ เสบียงอาหาร และผ้านุ่งห่มไม่พอ ก็ต้อง ซื้อเชื่อเขา โดยต้องเสีย ราคาแพง หรือถ้าต้องกู้เงินเขาไปซื้อ ก็ต้องเสียดอกเบี้ยอย่างแพงเหมือนกัน เมื่อเกี่ยวข้าวได้ผลแล้ว ไม่มีกำาลัง และพาหนะ พอจะขนไปจากลานนวดข้าว หรือไม่มี ยุ้งฉาง สำาหรับเก็บข้าวไว้ขาย เมื่อเวลาข้าวในตลาดจะขึ้นราคา ก็ต้องจำาเป็นขายข้าวเสีย แต่เมื่ออยู่ในลานนั้นเอง จะได้ราคา ตำ่าสักเท่าใด ก็ต้องจำาใจขาย มิฉะนั้นจะไม่ได้เงินใช้หนี้เขาทัน กำาหนดสัญญาต้องเสียเปรียบ เพราะมีทุนน้อย เช่นนี้ ที่สุด เมื่อ ขายข้าวได้สิ้นเชิงแล้ว บางทีก็จะไม่ได้เงินใช้หนี้เขาพอคุ้มค่า สิ่งของซึ่งจำาเป็นต้องบริโภคในการเลี้ยงชีพแท้ๆ เมื่อปีหน้าจะ ทำานาต่อไป ก็ต้องเป็นหนี้เขาอีก หนีใหม่ทันถมหนีเก่ามาก ้ ้ หนักขึ้นทุกปีไป แรงที่ได้ออกไป โดยความเหน็ดเหนื่อย และ ความซึ่งต้องทรมานกาย อุตส่าห์ตากแดด ตากฝน ทนลำาบาก
  • 9. 9 มา เป็นหนักหนานั้น ก็ไม่ทำาให้เกิดผล เป็นทรัพย์ของตัวขึ้นได้ เท่ากับออกแรงทำาประโยชน์ ให้แก่ผู้อื่นฝ่ายเดียวเป็นแท้ ดูเป็น ที่สมเพชนัก" ผู้อภิวัฒน์ ประชาธิปไตย การที่สภาพเศรษฐกิจของสยามล้าหลังเช่นนี้ ก็เพราะอยู่ภาย ใต้โครงสร้างสังคมอุปภัมภ์แบบเจ้าขุนมูลนาย ราษฎรไทยส่วน ใหญ่ ยังอยู่ในภาคเกษตร แบบดั้งเดิม ด้อยโอกาส ในการเรียนรู้ และรับรู้ความเปลี่ยนแปลง ของโลกภายนอก ยังมีนโยบาย จัด ระบบการศึกษา ในลักษณะส่งเสริมให้ราษฎรรู้จัก คิด อ่าน สร้าง สรรค ด้วยเหตุนี้ แม้ยุคสมัย จะล่วงเข้าสู่ ต้นคริสตศวรรษที่ ๒๐ แล้วก็ตาม ราษฎรไทย ก็ยังไม่มีสิทธิมีเสียงหรือมีส่วนร่วมในการ กำาหนดชะตากรรมของบ้านเมือง หรือแม้แต่ชะตากรรมของ ราษฎรเอง สภาวะความล้าหลังทางสังคม ดังกล่าวนี้เอง เป็น เหตุให้เกิดการกบฎของกลุ่มปัญญาชน ข้าราชการชั้นผู้น้อย ( หรือกบฎ ร.ศ. ๑๓๐) ใน พ.ศ.๒๔๕๔ อันเป็นปีแรก แห่งรัชกาล ที่ ๖ ทังนี้ เพื่อเรียกร้องให้ มีการจำากัดอำานาจ ของพระมหา ้ กษัตริย์ ให้อยู่ภายใต้กฎหมาย แม้กบฎ ร.ศ. ๑๓๐ จะ ประสบ ความล้มเหลว ในการเปลี่ยนแปลง การปกครอง ก็ได้เป็นกรณี แบบอย่าง ที่สร้างแรงบันดาลใจ ในการอภิวัฒน์ ให้แก่ราษฎร ไทย ผูนิยมประชาธิปไตย ทังหลาย ้ ้ นายปรีดี พนมยงค์ ถือกำาเนิด และเติบโตมาในท่ามกลาง กระแสการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว ท่านเกิดเมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๔๓ อันเป็นช่วงปลายสมัย รัชกาลที่ ๕ ใน ครอบครัวชาวนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ช่วงชีวิต ๑๕-๑๖ ปี ในวัยเด็ก ช่วยให้นายปรีดี ได้สัมผัสกับ สภาพปัญหาของชาวนา ซึ่งก็คือ ปัญหาใหญ่ของประเทศในยุคนั้น ท่านได้สะท้อน ปัญหาที่เห็น ในวัยเยาว์ว่า "เนื่องจากชาวนา ต้องประสบภัย ธรรมชาติ เช่น โรคพืช, ฝนแล้ง, นำ้าท่วมมากเกินไป ป่วยไข้ ทำางานไม่ได้ ต้องถูกขโมยลักควาย แต่เจ้าของที่ดินก็ไม่ปราณี คือเรียกเก็บค่าเช่าที่ดินตามที่ตกลงกันไว้ให้ได้ จึงทำาให้ลูกนา
  • 10. 10 อัตคัตขัดสน เจ้าของนาก็ทำาการยึดทรัพย์ ตลอดจนข้าวกิน ข้าว ปลูกที่ชาวนา พอมีอยู่บ้างนั้น" และ "ความอัตคัตขัดสน ของ ชาวนา มีอีกมากมายหลายประการ ที่แสดงว่า ชาวนาไม่ได้รับ ความช่วยเหลือ จากทางราชการ แต่ชาวนา ก็มีภาระ ที่ต้องเสีย เงินรัชชูปการ ถ้าไม่มีเงินเสีย ก็ต้องถูกเกณฑ์ไปทำางาน ประมาณปีละ ๑๕-๓๐ วัน และต้องเสียอากรค่านา" การรับรู้สภาพปัญหาของสังคมไทยนับแต่วัยเยาว์ของนาย ปรีดี มิได้เกิน ความจริง เมื่อเปรียบเทียบกับ รายงานของ ดร.คาร์ล ซี ซิมเมอร์แมน แห่งมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด สหรัฐอเมริกา ผู้ได้รับการเชื้อเชิญจากรัฐบาลสยาม ให้เข้ามา สำารวจ เศรษฐกิจในสยาม ตังแต่ พ.ศ. ๒๔๗๓ ดังปรากฎ ใน ้ รายงาน ตอนหนึ่งว่า"พ่อค้าคนกลาง คิดกำาไรจากการกู้หนี้ยืม สิน ชาวชนบทหลายทาง กระทำาให้วิธีการซื้อสินค้า และวิธีขาย สินค้า ผิดหลักทางเศรษฐกิจ เนื่องด้วย พ่อค้าคนกลาง มี อำานาจทางเศรษฐกิจ เหนือกสิกร ผู้รับซื้อข้าว เป็นผูแบ่งข้าว ้ เปลือก ในท้องที่ ออกเป็นชั้นต่างๆ และตังราคา ตามชอบใจ ้ ข้อบกพร่องต่างๆ เหล่านี้ กระทำาให้กสิกรรม ก้าวหน้าได้อย่าง แสนเข็ญ" และเมื่อมีโอกาสเข้ามาศึกษาต่อ ในโรงเรียนกฎหมาย แห่ง กระทรวงยุติธรรม ที่กรุงเทพฯ นายปรีดี ก็ได้รับรู้ ถึงสิ่งที่เรียกว่า "สิทธิสภาพ นอกอาณาเขต" ซึ่งอาจารย์ผู้สอน กล่าวถึงบุคคล ต่างชาติ ผู้มีสิทธิพิเศษ นอกอำานาจ ศาลสถิตย์ยุติธรรม ของ สยาม ความรู้นี้เอง ทำาให้นักเรียนกฎหมายปรีดี เริ่มตระหนักถึง การสูญเสียเอกราช ทางการศาลของประเทศ ในเวลาต่อมา นายปรีดี ได้ให้สัมภาษณ์ ประสบการณ์ทาง สังคม ที่ท่านได้รับรู้ ในวัยเยาวร์ว่า "ผมได้กล่าวแล้ว ถึงสภาพ สังคมไทย ที่ผมประสบพบเห็น แก่ตนเองว่า ราษฎรได้มีความ อัตคัต ขัดสนในทางเศรษฐกิจ เพราะไม่มี สิทธิเสรีภาพ กับ ความเสมอภาค ในทางการเมือง อีกทั้งตกอยู ภายใต้อิทธิพล และอำานาจของหลายประเทศทุนนิยม ผมได้มความคิด ก่อนที่ ี
  • 11. 11 ได้มาศึกษาในฝรั่งเศสแล้ว ว่าจะต้องค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติม ว่ามี วิธีใดที่จะทำาให้ ความเป็นอยู่ของราษฎรดีขึ้น" เช่นเดียวกับนักเรียน ผู้มผลการเรียนดีเด่นอื่นๆ นายปรีดี ได้รับ ี ทุน จากกระทรวงยุติธรรม เพื่อไปศึกษาต่อวิชากฎหมาย ณ ประเทศฝรั่งเศส (ระหว่าง พ.ศ.๒๔๖๓-๒๔๗๐) แต่ท่านไม่เคย ละทิง อุดมการณ์ และการรับรู้ เกี่ยวกับ สภาพปัญหาเศรษฐกิจ ้ สังคมของบ้านเกิดเมืองนอน ตรงกันข้ามประสบการณ์เหล่านั้น กลับเป็นเรงกระตุ้นให้ท่านมีมานะ ศึกษาเรียนรู้วิชากฎหมาย รวมทั้งวิชาเศรษฐศาสตร์ชั้นสูง ของตะวันตกเพื่อนำามาประยุกต์ ใช้ ในการปรับปรุงสภาพสังคมไทย จากการที่ ได้เรียนรู้ วิชาการของประเทศภาคพื้นยุโรป และอังกฤษ นี้เอง ทำาให้นาย ปรีดี เห็นความสำาคัญของ การเปลี่ยนแปลง การปกครอง ประเทศ เข้าสู่การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย (Democracy) ทั้งนี้ เพื่อเป็นรากฐาน ในการสร้างชีวิตใหม่ และ วัฒนธรรมใหม่ ให้แก่สังคมไทย ซึ่งจะต้องพัฒนาเข้าสู่ สังคม ประชาธรรม (Civil Society) ตามวิถีของ สังคมนานาอารยะ ประเทศ ด้วยเหตุว่า ระบอบ ประชาธิปไตยเป็นรากฐานที่ขาด เสียมิได้ สำาหรับอารยธรรมของมนุษยชาติ ในสังคมยุคใหม่ ด้วยแรงบันดาลใจดังกล่าว ประกอบกับกระแสความเป็นจริง ของสังคมโลก เป็นเหตุผลักดันให้ท่าน กลายเป็นบุคคลสำาคัญ ในคณะราษฎร ที่ได้สถาปนา ระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระ มหากษัตริย์เป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ ทำาให้ระบอบ ประชาธิปไตย มีความเจริญงอกงามขึ้น ในประเทศไทย ดังที่ ปรากฎอยู่ ในปัจจุบัน นายปรีดี มิได้มงหมาย เปลี่ยนแปลงการ ุ่ ปกครอง เพียงเพื่อให้ได้มา ซึ่งระบบ ประชาธิปไตย ทางการ เมืองเท่านั้น หากแสดงเจตนารมณ์ และแสดงบทบาท อย่าง แจ่มชัด ทีจะก้าวไป สู่ประชาธิปไตย ทางเศรษฐกิจ สังคม และ ่ การศึกษา เหนือสิ่งอื่นใด เขาปราถนาที่จะ ให้ระบอบ ประชาธิปไตย เป็นบรรทัดฐาน ในการพัฒนาประชาชาติเล็กๆ อย่างสยาม ให้ยืนหยัดอยู่ อย่างมีเอกราช และศักดิ์ศรี ในทุก
  • 12. 12 ด้าน ท่ามกลางนานาอารยประเทศ ในประชาคมโลกยุคใหม่ เจตนารมณ์ ประชาธิปไตยของเขา ปรากฎอย่างชัดเจน ในหลัก ๖ ประการของ "ประกาศคณะราษฎร" ที่เขาเป็นผู้ร่างขึ้น เพื่อใช้ เป็นคำาแถลงการณ์ ในวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ หลัก ๖ ประการ มีดังนี้ ๑. จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชใน ทางการเมือง ในทางศาล ในทาง เศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศ ไว้ให้มั่นคง ๒. จะต้องรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อ กัน ลดน้อยลงให้มาก ๓. จะต้องบำารุงความสุขสมบูรณ์ ในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาล ใหม่ จะหางานให้ราษฎรทุกคนทำา จะวางโครงการเศรษฐกิจ แห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก ๔. จะต้องให้ราษฎร มีสิทธิเสมอภาคกัน ๕. จะต้องให้ราษฎร ได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ ๖. จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่ แก่ราษฎร นอกจากเจตนารมณ์ทั้ง ๖ ประการนี้แล้ว แนวความคิดที่กล่าว ได้ว่า เป็นจุดเด่นของนายปรีดี และเป็นจุดที่ตกเป็นเป้าของการ วิพากษ์วิจารณ์มากที่สุด มาจนกระทั่งทุกวันนี้ ก็คือ "เค้าโครง เศรษฐกิจแห่งชาติ" อันเป็นการแสดงให้เห็นว่า นายปรีดี ให้ ความสำาคัญกับการจัดระบบเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก ทั้งนี้ โดยพิจารณาจากคำากล่าวของเขาเอง ที่ว่า "การ เปลี่ยนแปลง การปกครองคราวนี้ ไม่ใช้ Coup d' Etat เป็น Revolution ในทางเศรษฐกิจ" เจตนารมณ์ดังกล่าวนี้ นายปรีดี ได้ตราไว้ ในหมวดที่ ๑ แห่งเค้าโครงเศรษฐกิจฯ ที่เขา ร่างขึ้นว่า "ข้าพเจ้าจึงยังคงยืนยันความข้อนี้อยู่เสมอ และเห็นว่า ถ้ารัฐบาลได้จัดการโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ให้เหมาะสม
  • 13. 13 แล้ว การหางาน ให้ราษฎรทุกคนทำา ใช่เป็นการสุดวิสัยไม่ การ บำารุงความสุขสมบูรณ์ ของราษฎรนี้ เป็นจุดประสงค์อันใหญ่ ของข้าพเจ้า ในการทำาการเปลี่ยนแปลง การปกครอง ข้าพเจ้า มิได้ปรารถนา ที่จะเปลี่ยน พระเจ้าแผ่นดินองค์เดียว มาเป็น หลายองค์ ซึงเป็นการปกครอง แบบประชาธิปไตย แต่เปลือก ่ นอกเท่านั้น ข้าพเจ้ามุ่งแต่สาระสำาคัญคือ "บำารุงความสุข สมบูรณ์ ของราษฎร" และถือว่า รัฐธรรมนูญ เปรียบประดุจ กุญแจที่จะไขประตู เปิดช่องให้ราษฎร ได้มีส่วนมีเสียง ในการ ปกครอง ให้จัดถูกต้อง ตามความต้องการของตน และเมื่อประตู ที่กีดกั้นอยู่ ได้เปิดออกแล้ว รัฐบาลก็จะต้องนำาราษฎร ผ่าน ประตูนั้น เข้าไปสู่ชัยภูมิ แห่งความสมบูรณ์" แม้ความคิดในเรื่องการจัดระบบเศรษฐกิจโดยรัฐ ของนายปรีดี จะมีจุดอ่อนให้วิพากษ์ อย่างไรก็ตาม แต่แท้ที่จริงแล้ว เค้าโครง เศรษฐกิจฯ ของเขานั้น เป็นเค้าโครงการปฏิวัติสังคมด้วย บุคคล ผู้สำาเร็จ ประกาศนียบัตรการศึกษาขั้นสูง ในทางเศรษฐกิจ (Diploma d' Etudes Superieures of Economic Politique) เช่นนายปรีดี ย่อมต้องตระหนักดีว่า ระบบเศรษฐกิจ ย่อมไม่มความหมาย แต่ประการใด ถ้าหากไม่ถูกใช้ เป็นเครื่อง ี มือในการยกระดับคุณภาพชีวิตและสังคม ดังคำาชีแจงของเขา ้ ในเค้าโครงเศรษฐกิจฯ ตอนหนึ่งว่า "ผู้อ่าน โดยมีอุปาทานร้าย มักจะเหมาทันทีว่า การที่รัฐบาล ประกอบการเศรษฐกิจเสียเอง นี้ จะทำาให้มนุษย์ กลายเป็นสัตว์... ข้าพเจ้าได้ระวัง มิให้มนุษย์ มีสภาพเป็นสัตว์ ข้าพเจ้าประสงค์ ให้มนุษย์ เป็นมนุษย์ยิ่งขึ้น ปราศจากการประทุษร้ายต่อกัน อันเนื่องมาจาก เหตุเศรษฐกิจ" นายปรีดีฯ เป็นนักการเมืองคนแรก ทีริเริ่มแนวความคิด ที่ ่ จะให้ราษฎรทุกคน ได้รับการ ประกันสังคม (Social assurance) จากรัฐบาล โดยระบุไว้อย่างชัดเจน ในหมวดที่ ๓ แห่งเค้าโครง เศรษฐกิจฯ แต่น่าเสียดาย ที่ร่างของแนวความคิดดังกล่าว ถูก กล่าวหาว่า เป็นคอมมิวนิสต์ กว่าประเทศไทย จะยอมรับให้มีน โยบายประกันสังคมให้แก่ประชาชน ก็เป็นเวลา ๖ ปี หลังจาก
  • 14. 14 นั้นแนวความคิด ในเค้าโครงเศรษฐกิจฯ มิใช่เป็นแบบ คอมมิวนิสต์ ดังที่ถูกกล่าวหา แต่เป็น แบบที่นายปรีดี กล่าวว่า "โปลิซีของข้าพเจ้านั้น เดินแบบโซเชียลลิสม์ ผสมลิ เบรัล" ดังจะเห็นได้ว่า ในเค้าโครงการเศรษฐกิจดังกล่าว มีการ รับรองกรรมสิทธิ์ของเอกชนไว้ ในหมวด ๓ เช่นเดียวกับที่มี ใน ประเทศเสรีนิยมทางเศรษฐกิจทั้งหลาย แม้เค้าโครงการเศรษฐกิจฯ ของนายปรีดี จะไม่ได้รับการเห็น ชอบ จากคณะรัฐมนตรียุคนั้น และตนเองก็ถูกเนรเทศ ด้วย ข้อหาคอมมิวนิสต์ แต่เค้าโครงการเศรษฐกิจฯ ของเขา ก็เป็น แบบฉบับของการวางแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อย่างเป็นระบบและความคิดหลายอย่างในเค้าโครงการเศรษฐ กิจฯดังกล่าว ก็ได้มีการนำามาปฏิบัติอย่างได้ผลดี ทังในสมัยที่ ้ เขาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการบริหารประเทศ และหลังจากนั้น อาทิ เช่น การก่อตั้ง ธนาคารแห่งประเทศไทย การจัดระบบ การเก็บ ภาษีที่เป็นธรรม (ประมวลรัษฎากร) การปรับปรุงระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน ให้สอดคล้องกับ ระบบการเมืองใหม่ และการ ประกันสังคม แก่ราษฎรทั่วหน้า ฯลฯ ………………………………………………. บทเรียนจากเค้าโครงเศรษฐกิจ บทเรียนการเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจ ของท่านปรีดีเมื่อปี พ.ศ.2476 เป็นตัวอย่างที่สำาคัญ ช่วงเวลาที่ "ปรีดี พนมยงค์" มี บทบาททางการเมืองอย่างโดดเด่น บนเส้นทางประชาธิปไตย ไทย ด้วยบทบาทตำาแหน่งหน้าที่ต่างๆ มากมาย ตังแต่การอภิ ้ วัฒน์ 2475 จนถึง 8 พฤศจิกายน 2490 นั้น เป็นช่วงเวลาไม่
  • 15. 15 ยาวนานนักเพียง 15 ปีเท่านั้น แต่รัฐบุรุษท่านนี้ก็ได้บรรลุภารกิจ หลายประการ เพื่อชาติ ราษฎร และระบอบประชาธิปไตย นับ ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงการรัฐประหาร 2490 และทำาให้ "ปรีด" ต้องกลายเป็น "รัฐบุรุษพลัดถิ่น" ต้องระ ี หกระเหินลี้ภัยทางการเมืองไปอยู่ต่างแดนยาวนานกว่า 36 ปี และถึงแก่อนิจกรรม ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ความเอาใจ ใส่ต่อปัญหา "เศรษฐกิจ" และปัญหาปากท้องของประชาชน สะท้อนจากคำาพูดของท่านที่กล่าวว่า "การเปลี่ยนแปลงการ ปกครองคราวนี้ ไม่ใช่ Coup d'Etat เป็น Revolution ในทาง เศรษฐกิจ" พร้อมทั้งได้กำาหนดหลักเศรษฐกิจไว้ในหลัก 6 ประการ ที่คณะ ราษฎรได้ประกาศในวันยึดอำานาจรัฐ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ด้วยว่า "จะต้องบำารุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทาง เศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ราษฎรทุกคนทำา เศรษฐกิจแห่งชาติ และความพยายามที่จะพัฒนาเศรษฐกิจให้ เจริญก้าวหน้า เพื่อสร้างความสุขสมบูรณ์ ให้กับราษฎรในทาง เศรษฐกิจ" ถือเป็นเป้าหมายและวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งของปรีดี และคณะราษฎร ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 คณะ ราษฎรได้พยายามที่จะแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกตำ่า ซึ่งส่ง สัญญาณต่อเนื่องจากปลายสมัยรัชกาลที่หก ต่อเนื่องมาจนถึง รัชกาลที่เจ็ด ทีมงานเศรษฐกิจของคณะราษฎรได้เริ่มลดภาระ ประชาชน ด้วยการยกเลิกการเก็บภาษีอากรบางประเภท และ ลดภาษีที่ดินสำาหรับปลูกข้าวลง 50% เดือนกรกฎาคม 2475 ได้มีการประกาศที่จะจัดทำาเค้าโครงการ เศรษฐกิจแห่งชาติให้สำาเร็จโดยเร็ว ต่อมารัฐบาลจึงมีมติมอบ หมายให้ปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจเสนอ รัฐบาล เมื่อปรีดีได้ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจเสร็จ ได้นำาไปมอบ ให้พระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรี เพื่อจะได้เสนอต่อ ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีพิจารณารับรองก่อนเข้าที่ประชุมสภา เมื่อ
  • 16. 16 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ได้รับร่างนั้นแล้ว ก็ได้เรียกประชุมขึ้น อย่างไม่เป็นทางการครั้งที่หนึ่ง โดยไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน ปรีดีได้เสนอเค้าโครงเศรษฐกิจเพื่อใช้เป็นหลักในการบริหารใน วันที่ 10 มีนาคม 2476 และในที่สุด ก็ถูกบีบให้เดินทางออก นอกประเทศลี้ภัยการเมืองครั้งแรก ด้วยข้อหามีการกระทำาอัน เป็นคอมมิวนิสต์ จากการเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจ การเสนอ เค้าโครงเศรษฐกิจของท่านปรีดีเข้าทางกลุ่มอนุรักษนิยมพอดี จึงถือโอกาสกำาจัด "ปรีดี" ออกจากเวทีการเมือง แผนเศรษฐกิจฉบับแรกของคณะราษฎร ทั้งพระยาศรีวิสาร วาจา พระยาราชวังสัน ตลอดจนนายกรัฐมนตรี พระยามโน ปกรณ์นิติธาดา ไม่เห็นด้วย ตำาแหน่งนายกรัฐมนตรีของพระยา มโนฯ นั้น ก็ได้รับการสนับสนุนโดยท่านปรีดี เพื่อเป็นการ ประนีประนอมกับระบอบเก่า และสมัยที่ทำางานร่วมกันใน กระทรวงยุติธรรมดูท่าทีแล้ว พระยามโนฯ น่าจะมีความคิด ทางการเมืองก้าวหน้า แต่เมื่อพระยามโนฯ ได้ดำารงตำาแหน่ง นายกรัฐมนตรีแล้ว ทุกอย่างก็เปลี่ยนแปลงไป พระยา มโนฯ เมื่อได้รับร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจนี้ไว้ ก็เก็บใส่ลิ้นชัก เอาไว้มิได้มีการนำาขึ้นพิจารณาในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีอีก ต่อ มาก็ได้มีการพิจารณาร่างเค้าโครงการของท่านปรีดีอย่างไม่เป็น ทางการอีกเป็นครั้งที่สอง และผลจากการพิจารณามีแกนนำาปีก อนุรักษนิยมในคณะราษฎรบางส่วนไม่เห็นด้วย อาทิเช่น พระยา ทรงสุรเดช หลวงสินธุ์สงครามชัย พระประศาสน์พิทยายุทธ และ นายประยูร ภมรมนตรี ขณะเดียวกัน ก็มีข่าวลือหนาหู ว่า ปรีดี เป็นคอมมิวนิสต์ ทำาให้เกิดความไม่พอใจอย่างสูงในสภาผู้แทน ซึ่งสมาชิกส่วนใหญ่สนับสนุนท่านปรีดี พระยามโนฯ จึงถูก สมาชิกสภาผู้แทนเร่งเร้าให้รีบประกาศใช้แผนเศรษฐกิจ ดังที่ รัฐบาลเคยให้สัญญาไว้ และรับปากไว้แล้วว่ากำาลังอยู่ในระหว่าง เตรียมร่าง ทั้งขู่ว่า ถ้ารัฐบาลไม่ประกาศแผนเศรษฐกิจในเร็ววัน สภาจะเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล ในการ ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครังที่ 55/2475 วันที่ 10 มีนาคม ้
  • 17. 17 2475 นายจรูญ สืบแสง สมาชิกสภาผู้แทนได้ตั้งกระทู้ถาม รัฐบาลเกี่ยวกับการจัดการเศรษฐกิจแห่งชาติ โดยนายจรูญ สืบ แสง ได้กล่าวว่า "เท่าที่ได้ทราบมามีว่า นโยบายในทางเศรษฐกิจนี้ไม่ลงรอย กัน เพราะต่างคนต่างเห็นชอบไปคนละทาง และบางคนก็มี Prejudice ในบางคน หรือไม่อย่างนั้น ก็มี Prejudice ในทาง นโยบาย อาทิเช่น นโยบายของหลวงประดิษฐ์ มีบางคนเข้าใจ ว่า เป็นนโยบายทาง Communist หรือ Socialist แต่เราต้องคิด ว่า นโยบายจะเป็นไปในทางใดก็ตาม ถ้าหากจะเป็นไปในทางที่ จะให้ราษฎรได้รับประโยชน์แล้ว ก็ควรจะเสียสละได้แม้ชีวิต และเท่าที่เป็นอยู่เช่นนี้แล้ว เรามิได้ทำาประโยชน์อันใดเป็นปึก แผ่น อาจจะนำามาซึ่งความแค้นเคืองของราษฎร เมื่อเป็นเช่นนี้ ก็จะเป็นเหตุให้ความรับผิดชอบตกแก่คณะราษฎร ผู้ริเริ่ม เปลี่ยนแปลงการปกครองได้ เพราะได้ให้คำามั่นสัญญาไว้" ต่อมารัฐบาล จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมานุการขึ้นชุดหนึ่ง จำานวน 14 คน มีพระยาราชวังสันเป็นประธาน พิจารณาร่าง เค้าโครงการเศรษฐกิจของท่านปรีดี และด้วยเหตุนี้ จึงได้มีการ เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ เพื่อพิจารณาอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2475 ในการประชุมคณะกรรมานุการ พิจารณาเค้าโครงการเศรษฐกิจนี้ ปรีดีได้เริ่มแถลงว่า "หัวข้อ สำาคัญในการประชุมวันนี้ เนื่องจากหลักหกประการที่ได้ประกาศ ไว้ในข้อ 3 มีใจความอยู่ 3 ประการ ในการบำารุงความสุขสมบูรณ์ ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ คือ จะจัดมิให้ราษฎรอดอยาก จะ หางานให้ราษฎรทุกคนทำา จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ และเสนอว่า "โครงการนี้ไม่ใช่หลักคอมมิวนิสต์ เรามีทั้งแคปิตัลลิสม์ และโซ เชียลลิสม์รวมกัน ถ้าพวกคอมมิวนิสต์มาอ่านจะติเตียนมากกว่า ยังรับรองพวกมั่งมีให้มีอยู่ และว่า "โปลีชีของข้าพเจ้านั้น เดิน แบบโซเชียลลิสม์ผสมลิเบรัล" หลักการของข้าพเจ้านี้ ไม่ขัดกับ
  • 18. 18 Capitalism เดินคู่กันไปแท้ๆ เราต้องการให้มีทุน เราต้องอาศัย ทุนของพวกมั่งมี" อย่างไรก็ตาม แม้เนื้อหาเค้าโครงเศรษฐกิจจะเป็นประโยชน์ ต่อราษฎรทั้งหลาย แต่ในที่สุด ภายใต้ความขัดแย้งทางการ เมืองอันแหลมคม "เค้าโครงเศรษฐกิจ" ได้ถูกใช้เป็นหนึ่งใน เหตุผลข้ออ้าง เพื่อยึดอำานาจรัฐ โดยพระองค์เจ้าบวรเดชและ คณะ ………………………………………………. เอกสารอ้างอิง http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2004q3/artic le2004july27p2.htm http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2008q2/200 8april18p1.htm http://th.answers.yahoo.com/question/index? qid=20100704122057AAWeHb8 http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2004q3/artic le2004july27p2.htm