SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 27
Variable, Constant, Math
สำำนักวิชำ
สำรสนเทศศำสตร์
Company
วันนี้เรียน
ตัวแปร1
ค่ำคงที่2
เครื่องหมำยดำำเนิน
กำร
3
ฟังก์ชันทำง
คณิตศำสตร์
4
Company
ตัวแปร (Variable)
 ตัวแปร คือ กำรตั้งชื่อเรียกหน่วยควำมจำำ
ที่เรำจองพื้นที่ไว้ สำำหรับเก็บข้อมูลที่ต้อง
ใช้ในกำรทำำงำนของโปรแกรม ส่งผลให้
สำมำรถเรียกใช้งำนพื้นที่นั้นๆ ในหน่วย
ควำมจำำได้โดยง่ำย ด้วยกำรเรียกผ่ำนชื่อ
ตัวแปรที่เรำตั้งขึ้น
Company
กฎกำรตั้งชื่อตัวแปร
ตั้งชื่อให้สื่อถึงควำมหมำยของข้อมูลที่ต้องกำรจัด
เก็บ และใช้อักขระภำษำอังกฤษเท่ำนั้น
ชื่อต้องไม่เหมือนกับคีย์เวิร์ด
 คีย์เวิร์ด คือ ชื่อที่มีควำมหมำยและวิธีกำรใช้
งำนที่แน่นอน เช่น char, int เป็นต้น อื่นๆ ดูใน
เอกสำร m-learning
ชื่อมีควำมยำวไม่จำำกัด แต่คอมไพเลอร์จะรู้ควำม
แตกต่ำง
ของแต่ละชื่อได้เฉพำะ 32 อักษรแรกเท่ำนั้น
Company
กฎกำรตั้งชื่อตัวแปร
 อักษรแรกของชื่อต้องเป็นอักษร คือ A ถึง Z หรือ a ถึง z หรือ
เครื่องหมำย_
 (ขีดเส้นใต้) เท่ำนั้น
 ภำยในชื่อห้ำมมีกำรเว้นช่องว่ำง หรือใช้สัญลักษณ์อื่นนอกเหนือ
จำก
 A ถึง Z
หรือ a ถึง z หรือเครื่องหมำย_(ขีดเส้นใต้)และตัวเลข เท่ำนั้น
 อักษรตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก คอมไพเลอร์จะถือว่ำมีควำม
แตกต่ำงกัน เช่น Num1 กับ num1 จะเป็นชื่อที่ไม่เหมือนกัน
Company
แบบฝึกหัด 1: ทดสอบควำมเข้ำใจในกำรตั้ง
ชื่อตัวแปร
 พิจำรณำชื่อของตัวแปรด้ำนล่ำงนี้ แล้วตอบ
ว่ำเป็นกำรตั้งชื่อที่ผิดหรือถูก
 และถ้ำบอกเหตุผลในกำรตั้งชื่อผิด และแก้ให้
ถูก
 Gig Name1
 Gig-Name1
 1 GigName
 #GigName
 _GigName1
 Gig%Name1
 long
 Long
Company
 รูปแบบคำำสั่งคือ
 ชนิดของตัวแปร ชื่อตัวแปร;
 ตัวอย่ำง
 int num1;
 char name;
 float Long;
กำรสร้ำงตัวแปรในภำษำ C++
Text
Company
ตัวอย่างการสร้างตัวแปรในภาษา
C++
 โจทย์: ต้องการพิมพ์เครื่องหมายใดๆ ออกทาง
จอภาพ
 ตัวแปรสำาหรับเก็บเครื่องหมาย
 เครื่องหมาย ประกอบด้วยอักขระเพียงตัวเดียว
(*, @,+) ดังนั้นควรใช้ตัวแปร char
 สร้างตัวแปรในภาษา C++ ได้ว่า char symbol;
 ตัวแปรสำาหรับเก็บจำานวนเครื่องหมายที่ผู้ใช้
ต้องการให้พิมพ์
 จำานวนเครื่องหมาย เป็นจำานวนนับ (ไม่มีค่า
ลบ,ทศนิยม) ดังนั้นควรใช้ตัวแปร int
Company
ข้อสังเกตในการตั้งชื่อตัวแปร
 จากโจทย์การหาพื้นที่สามเหลี่ยม เรา
สามารถสร้างตัวแปรโดยใช้คำาสั่งดังนี้
 แบบที่ 1
 float invariant;
 float base;
 float height;
 float result;
 แบบที่ 2
 float invariant, base, height, result;
Company
ค่าคงที่ (Constant)
ค่าคงที่ คือค่าที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้
สร้างเพื่อป้องกันมิให้โปรแกรมแก้ไขค่า
รูปแบบคำาสั่งที่ใช้คือ
const ชนิดของตัวแปร ชื่อ
ตัวแปร = ค่า;
ตัวอย่าง
const float Pi = 3.1415;
Company
คอนสแตนต์ชนิดอินทีเจอร์ (interger
constant)
 แบ่งเป็น 3 ชนิดคือ
 Decimal integer constant
• ชุดตัวเลข ตั้งแต่ 0 ถึง 9
• เช่น const int JanDay = 31;
 Octal integer constant
• ชุดตัวเลข ตั้งแต่ 0 ถึง 7 และต้องขึ้นต้นด้วย 0
เสมอ
• เช่น const int Oct1 = 011;
 Hexadecimal integer constant
• ชุดตัวเลข ตั้งแต่ 0 ถึง 9 และ A ถึง F
• ต้องขึ้นต้นด้วย 0X หรือ 0x เสมอ
• เช่น const int Hex1 = 0x21;
Company
คอนสแตนต์ชนิด float (float
constant)
แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
 ชุดตัวเลข ตั้งแต่ 0 ถึง 9 และทศนิยม
• เช่น const float Pi = 3.1425;
 เลขยกกำาลัง
• ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
– ตัวเลข
– ตัวคูณสิบยกกำาลัง แสดงด้วย E หรือ e ตามด้วย
เลขยกกำาลังซึ่งเป็นอินทีเจอร์บวกหรือลบ
Company
คอนสแตนต์ชนิด float (float
constant)
float constant แบบเลขยกกำาลัง
1. const float num1 = 1.0E3 หมายถึง
1.0 * 103
2. const float num1 = 1.0E+2 หมาย
ถึง 1.0 * 102
3. const float num1 = 1.0E-3 หมาย
ถึง 1.0 * 10-3
4. const float num1 = 121.21e-3
หมายถึง 121.21 * 10-3
ตัวอย่าง
Company
คอนสแตนต์ชนิดอักษร (character
constant)
YourText
YourText
เป็นการกำาหนดค่าคงที่ในตัวแปรแบบอักษร
แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
 การกำาหนดค่าคงที่ให้กับตัวแปรแบบอักษรทั่วไป
• เช่น const char grad = ‘a’;
 Escape sequence
• ประกอบด้วยเครื่องหมาย  และอักษรอยู่ภายใน
เครื่องหมาย ‘ ’ เช่น
– ‘n’ แปลว่า ต้องการขึ้นบรรทัดใหม่
– ‘r’ แปลว่า เหมือนการกด Enter
– ‘’ แปลว่า ต้องการแสดงเครื่องหมาย 
• Escape sequence ที่อยู่ในข้อความซึ่งอยู่ใน
เครื่องหมาย “ ” แล้วไม่จำาเป็นต้องใส่ ‘ ’ เพิ่มเติมอีก
Company
คอนสแตนต์ชนิด string (string
constant)
เป็นชุดตัวอักษรที่อยู่ภายในเครื่องหมาย “ ”
ซึ่งอาจจะมีอักษรจำานวนมากหรือไม่มีอักษร
เลย เช่น
“ ”พื้นที่สามเหลี่ยมนี้เท่ากับ
“”
การเก็บข้อมูลในหน่วยความจำา จะเท่ากับ
ความยาวของ string บวก 1 ไบต์ เพื่อแสดง
การจบข้อความนั้น (เรียกรหัส ASCII NUL)
อักษร ‘A’
string “A”
A
A 0
Company
แบบฝึกหัด 2: ทดสอบความเข้าใจเรื่องค่า
คงที่ (Constant)
2000
2001
 จงเขียนคำาสั่งเพื่อสร้าง constant ดังนี้
 ต้องการสร้างตัวแปรแบบ integer ฐาน
สิบ เก็บตัวแปรที่ชื่อว่า num1 โดย
กำาหนดค่าคงที่ฐานสิบเท่ากับ 5
 ต้องการสร้างตัวแปรแบบ integer ฐาน
แปด เก็บตัวแปรที่ชื่อว่า num1 โดย
กำาหนดค่าคงที่ฐานแปดเท่ากับ 34
 ต้องการสร้างตัวแปรแบบ integer ฐาน
สิบหก เก็บตัวแปรที่ชื่อว่า num1 โดย
กำาหนดค่าคงที่ฐานสิบหกเท่ากับ AF
Company
แบบฝึกหัด 2: ทดสอบความเข้าใจเรื่องค่า
คงที่ (Constant)
2000
2001
จงเขียนคำาสั่งเพื่อสร้าง constant ดังนี้
1. ต้องการสร้างตัวแปรแบบ float เก็บ
ตัวแปรที่ชื่อว่า inva โดยกำาหนดค่าคงที่
เท่ากับ 0.01
2. ต้องการสร้างตัวแปรแบบ float เก็บ
ตัวแปรที่ชื่อว่า inva โดยกำาหนดค่าคงที่
เท่ากับ 0.9 * 109
3. ต้องการสร้างตัวแปรแบบ float เก็บ
ตัวแปรที่ชื่อว่า inva โดยกำาหนดค่าคงที่
เท่ากับ 0.001 * 10-6
Company
เครื่องหมายดำาเนินการทาง
คณิตศาสตร์
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
 การคำานวณทางคณิตศาสตร์
 การดำาเนินการทางตรรกศาสตร์
 การเปรียบเทียบ
Company
เครื่องหมายการคำานวณทาง
คณิตศาสตร์
การดำาเนิน
การ
เครื่องห
มาย
ตัวอย่างการใช้งาน ผลลัพ
ธ์
บวก + เมื่อ A =0 แล้ว A = 1+2; A = 3
ลบ - เมื่อ A =0 แล้ว A = 2-1; A = 1
คูณ * เมื่อ A =0 แล้ว A = 2 * 1; A = 2
หาร / เมื่อ A =0 แล้ว A = 2/1; A = 2
หารเอาเศษ % เมื่อ A =0 แล้ว A = 3%2; A = 1
Company
เครื่องหมายการคำานวณทาง
คณิตศาสตร์
การดำาเนิน
การ
เครื่องห
มาย
ตัวอย่างการใช้งาน ผลลัพ
ธ์
เพิ่มค่าทีละ
หนึ่ง
++ เมื่อ A=0, c=1แล้ว A = ++c;
หรือ A = c++;
A = 2
ลดค่าทีละ
หนึ่ง
-- เมื่อ A=0, c=1 แล้ว A = --c;
หรือ A = c--;
A1= 0
บวกแบบลด
รูป
+= เมื่อ A=0 แล้ว A += 2; A =
A+2;
A = 2
ลบแบบลดรูป -= เมื่อ A=0 แล้ว A -= 2; A =
-2
คูณแบบลด
รูป
*= เมื่อ A=1 แล้ว A *= 2; A = 2
หารแบบลด
รูป
/= เมื่อ A=1 แล้ว A /= 2; A =
0.5
หารเอาเศษ %= เมื่อ A=3 แล้ว A %=2; A =1
Company
เครื่องหมายทางตรรกศาสตร์
 แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ
 และ (and) ใช้สัญลักษณ์ &&
 หรือ (or) ใช้สัญลักษณ์ ||
 ไม่ (not) ใช้สัญลักษณ์ !
Company
ตัวอย่างผลลัพธ์ที่ได้จากการดำาเนิน
การทางตรรกศาสตร์
A B A &&
B
A || B !A
T T T T F
T F F T F
F T F T T
F F F F T
Company
เครื่องหมายเปรียบเทียบ
หนดให้ เมื่อ A=0, C=1 แล้ว
การดำาเนินการ เครื่องหมาย ตัวอย่างการใช้งาน ผลลัพธ์
เท่ากับ == A == C เท็จ
ไม่เท่ากับ != A != C จริง
น้อยกว่า < A < C จริง
น้อยกว่า
เท่ากับ
<= A <= C จริง
มากกว่า > A > C เท็จ
มากกว่า
เท่ากับ
>= A >= C เท็จ
Company
ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
 การใช้งานฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์จะต้องประกาศ
#include <math.h>
ในตอนต้นของการเขียนโปรแกรมก่อนเสมอ
 ตัวอย่างฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
การดำาเนินการ รูปแบบคำาสั่ง ตัวอย่าง
การใช้
งาน
ผลลั
พธ์
ยกกำาลัง pow(เลขฐาน,
เลขยกกำาลัง)
pow(2,
3)
8
square root sqrt(เลขที่
ต้องการถอดราก)
sqrt(4) 2
float
absolute
fabs(ตัวเลข) fabs(-
3.14)
3.14
Company
จงแปลงนิพจน์ทางคณิตศาสตร์เป็นนิพจน์ในภาษา C++
1. นิพจน์คือ
2. นิพจน์คือ
3. นิพจน์คือ
4. นิพจน์คือ
แบบฝึกหัด 3 ฝึกเขียนนิพจน์ในภาษา
C++
+ + −2
6 3 5x x
+ +2
2 3 6x x
+2 5
3
x
x
+2
2 3.14x x
Company
แบบฝึกหัด 3 ฝึกเขียนนิพจน์ในภาษา
C++A = 1, B = -2, C=3
จงหาผลลัพธ์ที่ได้จากการดำาเนินการทางตรรกศาสตร์ดังนี้
1. ((C%2)<= A) && (B<A)
2. (B>=C) || (B>A)
3. (A>B) && (B<C)
4. ((A+2) >(1+C)) && (A !=2)
5. (C<=A) && ((B+1) > 9)
6. ((A-1) > (B*2)) || (C<A)
7. (A !=C) && ((B/10) > (A+3))
สำานักวิชาสารสนเทศาสตร์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ploy StopDark
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ing Gnii
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]Mook Sasivimon
 
การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excel
การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excelการคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excel
การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม ExcelKaen Kaew
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกNaphamas
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกSupicha Ploy
 
บทที่ 6 อาร์เรย์
บทที่ 6 อาร์เรย์บทที่ 6 อาร์เรย์
บทที่ 6 อาร์เรย์Theeravaj Tum
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1Little Tukta Lita
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3KEk YourJust'one
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 

Was ist angesagt? (19)

Know1 3
Know1 3Know1 3
Know1 3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
 
งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
 
การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excel
การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excelการคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excel
การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excel
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
บทที่ 6 อาร์เรย์
บทที่ 6 อาร์เรย์บทที่ 6 อาร์เรย์
บทที่ 6 อาร์เรย์
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 
Tec4
Tec4Tec4
Tec4
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
Array 2
Array 2Array 2
Array 2
 

Andere mochten auch

Activity2. Greece. Women without frontiers
Activity2. Greece. Women without frontiersActivity2. Greece. Women without frontiers
Activity2. Greece. Women without frontiersCarlos Ajamil Royo
 
Activity2. Germany.English civitan.
Activity2. Germany.English civitan.Activity2. Germany.English civitan.
Activity2. Germany.English civitan.Carlos Ajamil Royo
 
Visual Storytelling & Thumbstopping design
Visual Storytelling & Thumbstopping designVisual Storytelling & Thumbstopping design
Visual Storytelling & Thumbstopping designTom Edwards
 
Room1 TAG Lucy Warman The Alternative Guide To Uc Lan Elluminate2
Room1   TAG   Lucy Warman   The Alternative Guide To Uc Lan Elluminate2Room1   TAG   Lucy Warman   The Alternative Guide To Uc Lan Elluminate2
Room1 TAG Lucy Warman The Alternative Guide To Uc Lan Elluminate2JISC SSBR
 
Unlocking the Power of Purpose by The EVR1 Institute
Unlocking the Power of Purpose by The EVR1 InstituteUnlocking the Power of Purpose by The EVR1 Institute
Unlocking the Power of Purpose by The EVR1 InstituteBrandon Peele
 
Perspectives on ideology
Perspectives on ideologyPerspectives on ideology
Perspectives on ideologytwad
 
Earth Science Multi-Q
Earth Science Multi-QEarth Science Multi-Q
Earth Science Multi-Qdmix333
 
quadern de viatge
quadern de viatgequadern de viatge
quadern de viatgearubiovalls
 
Action research plan
Action research planAction research plan
Action research planclcaruso
 
IDP Policy Presentation Nov 2009
IDP Policy Presentation Nov 2009IDP Policy Presentation Nov 2009
IDP Policy Presentation Nov 2009Caitlin Ryan
 

Andere mochten auch (20)

Activity2. Greece. Women without frontiers
Activity2. Greece. Women without frontiersActivity2. Greece. Women without frontiers
Activity2. Greece. Women without frontiers
 
D I A P 1
D I A P 1D I A P 1
D I A P 1
 
Activity2. Germany.English civitan.
Activity2. Germany.English civitan.Activity2. Germany.English civitan.
Activity2. Germany.English civitan.
 
Visual Storytelling & Thumbstopping design
Visual Storytelling & Thumbstopping designVisual Storytelling & Thumbstopping design
Visual Storytelling & Thumbstopping design
 
Room1 TAG Lucy Warman The Alternative Guide To Uc Lan Elluminate2
Room1   TAG   Lucy Warman   The Alternative Guide To Uc Lan Elluminate2Room1   TAG   Lucy Warman   The Alternative Guide To Uc Lan Elluminate2
Room1 TAG Lucy Warman The Alternative Guide To Uc Lan Elluminate2
 
Project action
Project actionProject action
Project action
 
Unlocking the Power of Purpose by The EVR1 Institute
Unlocking the Power of Purpose by The EVR1 InstituteUnlocking the Power of Purpose by The EVR1 Institute
Unlocking the Power of Purpose by The EVR1 Institute
 
Perspectives on ideology
Perspectives on ideologyPerspectives on ideology
Perspectives on ideology
 
How many of you know the alfabet
How many of you know the alfabetHow many of you know the alfabet
How many of you know the alfabet
 
Learning rw is
Learning rw isLearning rw is
Learning rw is
 
Writing and research
Writing and researchWriting and research
Writing and research
 
Prezentare red
Prezentare redPrezentare red
Prezentare red
 
Earth Science Multi-Q
Earth Science Multi-QEarth Science Multi-Q
Earth Science Multi-Q
 
quadern de viatge
quadern de viatgequadern de viatge
quadern de viatge
 
Samethalu
SamethaluSamethalu
Samethalu
 
Καραΐσκάκης
ΚαραΐσκάκηςΚαραΐσκάκης
Καραΐσκάκης
 
Casas
CasasCasas
Casas
 
Webdev work
Webdev workWebdev work
Webdev work
 
Action research plan
Action research planAction research plan
Action research plan
 
IDP Policy Presentation Nov 2009
IDP Policy Presentation Nov 2009IDP Policy Presentation Nov 2009
IDP Policy Presentation Nov 2009
 

Ähnlich wie Variable Constant Math

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766CUPress
 
ตัวแปรและชนิดข้อมูล
ตัวแปรและชนิดข้อมูลตัวแปรและชนิดข้อมูล
ตัวแปรและชนิดข้อมูลInam Chatsanova
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำPoeruthai Kittiphan
 
นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์korn27122540
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelพัน พัน
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระAreeya Onnom
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 

Ähnlich wie Variable Constant Math (20)

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
53011213095
5301121309553011213095
53011213095
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
Unit9
Unit9Unit9
Unit9
 
C language
C languageC language
C language
 
C language
C languageC language
C language
 
ตัวแปรและชนิดข้อมูล
ตัวแปรและชนิดข้อมูลตัวแปรและชนิดข้อมูล
ตัวแปรและชนิดข้อมูล
 
207
207207
207
 
lesson 3
lesson 3lesson 3
lesson 3
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 

Mehr von นายพิศณุ ท่าสอน (7)

Chapter 05 Loop
Chapter 05 LoopChapter 05 Loop
Chapter 05 Loop
 
Lab Chapter7 Structure And Function
Lab Chapter7 Structure And FunctionLab Chapter7 Structure And Function
Lab Chapter7 Structure And Function
 
Array1
Array1Array1
Array1
 
Chapter 05 Loop
Chapter 05 LoopChapter 05 Loop
Chapter 05 Loop
 
Chapter 04 Compare
Chapter 04 CompareChapter 04 Compare
Chapter 04 Compare
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
Chapter 01 Analysis 1
Chapter 01 Analysis 1Chapter 01 Analysis 1
Chapter 01 Analysis 1
 

Variable Constant Math