SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 40
โครงการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม การสร้างระบบพยากรณ์โรคเพื่อการจัดการโรคของกล้วยไม้ในโรงเรือน ( Development of disease forecasting system for disease management in orchid nursery )  หัวหน้าโครงการ  รศ . ดร . สมศิริ แสงโชติ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร ม . เกษตรศาสตร์ บางเขน
วัตถุประสงค์ เพื่อวิจัยและพัฒนาระบบพยากรณ์เพื่อใช้ในการจัดการโรคที่สำคัญของกล้วยไม้ตัดดอกสกุลหวาย
สวนกล้วยไม้  6  สวน จ . สมุทรสาคร จ . นครปฐม จ . ราชบุรี จ . นครราชสีมา จ . กาญจนบุรี จ . เพชรบุรี
วิธีการดำเนินการ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเก็บตัวอย่างและการประเมินโรค ที่พบในสวนกล้วยไม้สกุลหวาย ( ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน  2552 -  สิงหาคม  2553) Sub title ประเมินโรคที่สำคัญของดอกกล้วยไม้สกุลหวาย โรคใบปื้นเหลือง โรคใบจุดดำ โรคดอกสนิม โรคเกสรดำ
 
 
 
ดาวน์โหลดข้อมูลพยากรณ์อากาศ จาก  NECTEC
ช่วงที่พบการเกิดโรคและสภาพอากาศ
1-15  เม . ย .  52 16-30  เม . ย .  52 1-15  พ . ค .  52 16-31  พ . ค .  52 1-30  มิ . ย .  53 1-31  ก . ค .  53 1-31  ส . ค .  53 1-15  เม . ย .  52 16-30  เม . ย .  52 1-15  พ . ค .  52 16-31  พ . ค .  52 1-30  มิ . ย .  53 1-31  ก . ค .  53 1-31  ส . ค .  53
โรคเกสรดำ สวนละ  100  เกสร A.alternata C. eragrostidis C. lunata Nigrospora  sp. ปลายเกสรดำ เกสรดำ
 
 
 
 
 
 
-  อาการเกสรดำ มีเชื้อราเกี่ยวข้องแต่จาก ลักษณะการเข้าทำลายน่าจะเป็นการเข้าทำลายซ้ำเติม ทำให้อาการรุนแรงขึ้น อาการเกสรดำน่าจะมีปัจจัยอื่นเกี่ยวข้อง -  เชื้อราที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการเกสรดำ ได้แก่ เชื้อรา  C. eragostidis ,  A. alternata ,  C. Lunata, Cladosporium  sp.   และ  Nigrospora  sp. -  เชื้อราที่พบจากการแยกเชื้อของอาการเกสรดำ ได้แก่ เชื้อรา  Fusarium  spp. ,   Curvularia eragostidis ,  Alternaria alternata ,  C. Lunata, Desherla  sp.   และ  Nigrospora  sp. A. alternata C. Lunata  C. eragostidis
1 cm 2 1 cm 2 A.alternata C. eragrostidis Nigrospora  sp. Drechslera  sp.
กราฟแสดงปริมาณเชื้อราที่พบบนดอกกล้วยไม้ต่อพื้นที่ดอก  1  ตารางเซนติเมตร จากสวนกล้วยไม้ทั้ง  6  สวน
 
 
-  เชื้อราที่พบบนกลีบดอก ได้แก่ เชื้อรา  Curvularia eragostidis ,  Alternaria alternata ,  C. Lunata, Desherla  sp.   และ  Nigrospora  sp. -  เชื้อราที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคดอกสนิม ได้แก่ เชื้อรา  C. eragostidis   และ  A. alternata
Sub title ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิ และระยะเวลา ต่อการเกิดโรคดอกสนิม การเกิดโรค  ( % )  หลังจากปลูกเชื้อรา  A. alternata   และ  C. eragrostidis   เป็นระยะเวลา  3   วัน  โดยบ่มไว้ที่อุณหภูมิ  25  และ  28  องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา  24  ชั่วโมง
Sub title ความสัมพันธ์ของระยะเวลาการงอกและการเข้าทำลายของเชื้อรา   Curvularia eragostidis  บนดอกกล้วยไม้ 1.  การงอกของเชื้อรา   Curvularia eragostidis  บนอาหาร  WA (water agar)  ลักษณะการงอกของเชื้อรา  Curvularia eragostidis   หลังจากบ่มไว้ที่อุณหภูมิ  25 °C  เป็นเวลา  6  ชั่วโมง
2.  ความสัมพันธ์ระหว่างระหว่างอุณหภูมิ การเข้าทำลายของเชื้อรา  Curvularia eragostidis   กับจำนวนชั่วโมงที่ได้รับความชื้นของดอกที่ไม่มีการฉีดพ่นสารเคมี  อุณหภูมิ  (º C ) จำนวนชั่วโมงที่ได้รับความชื้น การเข้าทำลาย  ( % ) อาการโรคดอกสนิม  ( % ) วันที่  2 วันที่  3  วันที่  4  วันที่  5  วันที่  6  วันที่  7 25 3 90 0 0 40 60 80 80 6 100 0 20 80 80 100 100 9 100 0 40 80 100 100 100 12 100 20 60 80 100 100 100 24 100 40 60 80 100 100 100 28 3 20 20 60 60 100 100 100 6 54 20 60 100 100 100 100 9 38 60 60 100 100 100 100 12 32 40 60 80 80 80 100 24 100 60 80 100 100 100 100
ความสัมพันธ์ระหว่างระหว่างอุณหภูมิ การเข้าทำลายของเชื้อรา  Curvularia eragostidis   กับจำนวนชั่วโมงที่ได้รับความชื้นของดอกที่ไม่มีการฉีดพ่นสารเคมี  อุณหภูมิ  (º C ) จำนวนชั่วโมงที่ได้รับความชื้น การเข้าทำลาย  ( % ) อาการโรคดอกสนิม  ( % ) วันที่  2 วันที่  3  วันที่  4  วันที่  5  วันที่  6  วันที่  7 31 3 10 0 20 60 60 60 60 6 14 0 60 60 60 60 80 9 20 20 60 80 80 80 80 12 30 40 60 60 60 80 80 24 44 40 60 80 80 80 80 34 3 8 0 0 20 20 20 20 6 8 0 0 20 20 20 20 9 16 0 0 20 40 40 40 12 10 0 0 20 40 40 40 24 16 0 40 40 40 40 40
ความสัมพันธ์ระหว่างระหว่างอุณหภูมิ ต่อการเข้าทำลายของเชื้อรา  Curvularia eragostidis   กับจำนวนชั่วโมงที่ดอกกล้วยไม้ได้รับความชื้น
 
 
 
หลังจากปลูกเชื้อรา  C. eragostidis  บนดอกกล้วยไม้ โดยได้รับความชื้นเป็นระยะเวลาและอุณหภูมิต่างๆ กัน พบว่า  ในสภาพอุณหภูมิ  25-28 °C  และได้รับความชื้นนาน  6  ชั่วโมง เป็นช่วงที่เหมาะสมต่อการเข้าทำลายดอกกล้วยไม้ โดยเชื้อรา  C. eragostidis  สามารถงอกได้ถึง  90%
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การเกิดโรคดอกสนิม  ( % )  บนดอกกล้วยไม้ในห้องปฏิบัติการ เป็นระยะเวลา  7  วัน หลังจากปลูกเชื้อรา  C.eragostidis   และได้รับความชื้นนาน  6  ชั่วโมง
3.  การเข้าทำลายของเชื้อรา  Curvularia eragostidis   และการเกิดโรคบนดอกกล้วยไม้  ในสภาพแปลงปลูก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ตาราง  แสดงการเกิดโรคดอกสนิม  ( % )  และการเข้าทำลายของเชื้อรา   C. eragostidis  หลังจากได้รับความชื้น  6  ชั่วโมงและไม่ได้รับความชื้น ของดอกที่ไม่มีการฉีดพ่นสารเคมี
อาการโรคดอกสนิม หลังจากปลูกเชื้อรา  C. eragostidis   เป็นระยะเวลา  4  วัน ในสภาพแปลงปลูก
สรุปผลและข้อเสนอแนะ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
 
 
 

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Pisuth paiboonrat (20)

E agriculture-thailand
E agriculture-thailandE agriculture-thailand
E agriculture-thailand
 
Icdt for community
Icdt for communityIcdt for community
Icdt for community
 
ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Ag smart2 pisuth
Ag smart2 pisuthAg smart2 pisuth
Ag smart2 pisuth
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Mahidol ag
Mahidol agMahidol ag
Mahidol ag
 
Ku01
Ku01Ku01
Ku01
 
Smart farm concept ait
Smart farm concept aitSmart farm concept ait
Smart farm concept ait
 
RSPG social business model
RSPG social business modelRSPG social business model
RSPG social business model
 
Smart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiSmart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburi
 
Smart farm lecture-ku
Smart farm lecture-kuSmart farm lecture-ku
Smart farm lecture-ku
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Smart farm initiative2
Smart farm initiative2Smart farm initiative2
Smart farm initiative2
 
Smart farm initiative
Smart farm initiativeSmart farm initiative
Smart farm initiative
 

การสร้างระบบพยากรณ์โรคกล้วยไม้