SlideShare a Scribd company logo
1 of 77
สารบัญ
                          ปที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552
                                 www.consumerthai.org




  9                                                      19 24                                                      34

เรื่องเดน                                                            อาหารและสุขภาพ
9 “ทางสำหรับคนพิการ สังคมไทยพรอมแคไหน”                              47 ของฝากจากอินเตอรเน็ต
ความเคลื่อนไหว                                                             “เอาไงดีกับขวดพลาสติกใส ตอน 2”
3 กระแสในประเทศ                                                       50   สวยอยางฉลาด
6 กระแสตางแดน                                                             “ผลิตภัณฑขจัดเซลลูไลท”
58 สารพันปัญหาโทรคมนาคม                                               52   คุยเรื่องฟันกับผูบริโภค
      “ระวังมือถือยุคใหม จายคาเน็ตไมรูตัว”                            “จัดฟนแฟชั่น อันตราย!”
                                                                      58   เรื่องเลาเฝ้าระวัง
ทดสอบ                                                                      “โอม... เพี้ยง! ไขมันจงลด”
19 “กาแฟ ... ทุกครั้งที่ดื่มอยาลืมคนปลูก”                            62   เรื่องเรียงเคียงจาน
24 “มือถืออินเตอรเน็ต”
                                                                           “จากตลาดสีเขียวเมืองกรุงสู Fair trade
32 “ขาว ใชวาจะดีเสมอไป”
                                                                           ชุมชนสนามชัยเขต”
สัมภาษณ                                                              หนาตางผูบริโภค
34 ทุกคนมีสิทธิ                                                       56 ชวง ฉลาด ชอป
      “อุบัติเหตุรถโดยสารสาธารณะ “เรา” ปองกันได”
                                                                         “Electro smog มีผลตอสุขภาพรางกายมนุษย?”
เสียงผูบริโภค                                                        59 Connecting
39 • จองรถไมไดรถ ตองไดเงินจองคืน                                     “ยิ่งกวามายา”
      • แม็กซเนต ของทีทีแอนดที                                      64 คุยกับคน
        จายเต็มเดือนแตไดใชแคครึ่งเดือน                              “ปศาจทุนนิยมหลบไป ไมเคิล มัวร มาแยวๆๆๆๆ” (1)
      • เจาหนี้อายัดเงินเดือน ทำไมไมมีบอกกลาว                      67 มีอะไรใน โคด-สะ-นา
      • พรบ.ผูประสบภัยจากรถไดเวลาแกใหมแลว                           “กินขาวหรือยัง” กับ “ความคิดสรางสรรคใหมๆ”
กฎหมาย
46 รูกฎหมายกับทนายอาสา
      “ดอกเบี้ยบัตรเครดิต”
บทบรรณาธิการ
                                                                        สารี อ๋องสมหวัง saree@consumerthai.org




                                เบือจานดาวเทียม
                                   ่
         เมืองไทยเป็นเมืองแหงมือใครยาวสาวได                    รถก็จะสบสายตากับจานดาวเทียม จานดาวเทียม ๆๆๆๆ
สาวเอาจริงๆ รูปธรรมหนึ่งที่เห็นไดชัดจากการแขงขันกัน            ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ เต็มบานเต็มเมืองใน
อยางดุเดือดของธุรกิจจานดาวเทียม จากผูริเริ่มเลน               ปัจจุบันเห็นแลวก็พาลใหหงุดหงิดวา ตึกตาง ๆ ไมตอง
ที่สำคัญคือ บริษัท ชินบรอดแบนด อินเตอรเน็ต                     รับผิดชอบจัดบริการไวใหกับลูกคาเลยหรือทำใหลูกคา
(ประเทศไทย) จำกัด ในเครือกลุมชินคอรป ที่เขามาเป็น             ตองซื้อบริการดวยตนเอง หรือ บริการแบบนี้ไมตองจาย
ผูจัดจำหนายจานดาวเทียมเหลืองภายใตชื่อ DTV                     สตางค ไดมาฟรีเหมือนกับที่ไดรับแจกซิมฟรี เลยไม
ผลปรากฏวาภายใน 6 เดือนสามารถจำหนายไดถึง                       ตองคิดกัน วา “ซิม” มาจากไหน
100,000 ชุด                                                              พูดเรื่องแบบนี้ คงมีคนหมั่นไสวา ทีป้ายโฆษณา
         ทำให บริษัท ทรูวิชั่นส จำกัด (มหาชน) ผูไดรับ        ขนาดใหญและมีปัญหาทับคนตาย ไมเสนอใหทำอะไร
สัมปทานจากบริษัท อสมท. จำกัด (มหาชน) ในการให                    ตองบอกวา หากเป็นผูวากรุงเทพมหานครจะยกเลิกป้าย
บริการธุรกิจบอกรับสมาชิก หรือ เคเบิลทีวี ตองปรับตัว             โฆษณาขนาดใหญทันที แมแตเสาไฟ สายไฟ รกรุงรัง
ดวยการขายพรีเพดจานดาวเทียม โดยไมตองเสียคา                    ก็ตองบอกวา ไมชอบเหมือนกัน และจะหาทางยกเลิก
บริการรายเดือนแขงกับเจาเดิมบริษัท โพลี เทเลคอม                 อยากเห็นการแกไขปัญหา แตจะใหทำเสาไฟเองตอนนี้
จำกัด ผูผลิตและจำหนายอุปกรณจานดาวเทียมภายใต                  ยังทำไมได จะบังคับใหเขาวางใตดินก็อางวาไมมี
ชื่อ PSI และบริษัท สามารถ เอนจิเนียริ่ง จำกัด ของ                งบประมาณ
กลุมสามารถคอรป                                                         แตสำหรับจานดาวเทียม (ที่นาเบื่อ) สิ่งสำคัญ
         การปลดล็อกคาบริการรายเดือน ผนึกกำลัง                   บริษัทไดโฆษณาสินคาของตนเองสบายโดยไมตองลงทุน
ทรูวิชั่นสและบริษัท ทรูมูฟ ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่       เห็นทีกรุงเทพมหานครหรือเทศบาลจังหวัดตางๆ นาจะ
โดยผูที่เป็นลูกคาโทรศัพทระบบเติมเงินของ ทรูมูฟ                เก็บภาษีโฆษณาที่เขาขายภาษีป้ายซะใหเข็ด เพราะไม
สามารถซื้อจานแดงทรูวิชั่นสราคาพิเศษและมีสิทธิดู                 อยางนั้น แนวการจัดการใหเมืองมีความงาม การใช
ทรูวิชั่นสอีกจำนวน 7 ชอง                                       ประโยชนรวมกัน ไมวาจะเป็นจานดาวเทียม เสา
         ไมวาใครจะเกงกาจกวาใครในทางการตลาดแค                โทรศัพทมือถือ คงไมมีใครคิดเรื่องนี้กันอยางจริงจัง
ไหนก็ตาม แตสิ่งที่เราทุกคนเสียรวมกัน คือ ทัศนอุจาด             แมแตปัญหาใหญเรื่องการเขาถึงขอมูลขาวสารโดยการ
ตึกที่ไมมีความงามอยูแลว ยิ่งหมดความงาม มองไป                  แบงกลุมประชาชนตามประเภทสีของจานดาวเทียม
สองขางทาง หากเจอตึกไมวาจะซายจะขวาจะเดินหรือนั่ง
เจ้าของ : มูลนิธิเพื่อผูบริโภค 4/2 ซอยวัฒนโยธิน แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท : 0-2248-3734-7
โทรสาร : 0-2248-3733 บรรณาธิการผู้พิมพผู้โฆษณา : สารี อ๋องสมหวัง คณะที่ปรึกษา : พระไพศาล วิสาโล ศ.เสนห จามริก มรว.สุพินดา
จักรพันธุ คุณพิทยา วองกุล ศ.ดร.ประดิษฐ เชี่ยวสกุล อาจารยจรัญ ภักดีธนากุล ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ ศ.นพ.วิฑูรย อึ้งประพันธ
ศ.นพ.สันต หัตถีรัตน ผศ.ภญ.สำลี ใจดี ศ.ดร.ทวีทอง หงษวิวัฒน รศ.ดร.โคทม อารียา รศ.ดร.จิรพล สินธุนาวา นพ.ประพจน เภตรากาศ
นพ.สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ รศ.ดร.จันทรเพ็ญ วิวัฒน รศ.ดร.ภญ.จิราพร ลิ้มปานานนท นพ.ชูชัย ศุภวงศ รศ.ดร.วิทยา กุลสมบูรณ
ที่ปรึกษากฎหมาย : ชัยรัตน แสงอรุณ บรรณาธิการบริหาร : สารี อ๋องสมหวัง หัวหน้ากองบรรณาธิการ : ทัศนีย แนนอุดร กองบรรณาธิการ :
รศ.ดร.แกว กังสดาลอำไพ นพ.ประวิทย ลี่สถาพรวงศา สุวรรณา จิตประภัสสร อิฐบูรณ อนวงษา สุมาลี พะสิม ชนิษฎา วิริยะประสาท
ศศิวรรณ ปริญญาตร สมนึก งามละมัย ฝ่ายการตลาดและสมาชิก : เสาวลักษณ ปอเจริญ เตือนใจ รอดสกุล ศิลปกรรม : สราวุธ ลอยศักดิ์
พิมพ : บริษัท พิมพดี จำกัด โทรศัพท : 0-2803-2694-7 แยกสี/เพลต : หจก.เลย โปรเซส โทรศัพท : 0-2433-5433, 0-2803-0360-1
.

     ลงขอมูลผิดหรือไม
              ผมอานบทความเรื่อง ทดสอบเตาแมเหล็กไฟฟา ในฉบับที่ 102 มีเรื่องสงสัย
     ดังนี้
            ขอความในหนา 20 คอลัมนทางขวามือ เขียนวา
            “จากการทดสอบสามารถอานคาความเขมสนาม
     แมเหล็กไดสูงสุด 2000 นาโนเทสลา ...อยางไรก็ตาม               ภาพถาย อ.สำลี ใจดี
     สถาบัน TUV หนวยงานอิสระที่ทำการทดสอบทางดาน
     เทคนิคของประเทศเยอรมันนีไดใหคำแนะนำวา                             ทางกองบรรณาธิการขอเรียนวา
     คาความเขมขนของสนามแมเหล็กไฟฟาไมควรเกิน 200              ภาพถายสวยๆ ของ อ.สำลี ใจดี หญิง
     นาโนเทสลา” ผมคิดวา ทางวารสารอาจลงขอมูลผิดเลข 0              แกรงแหงวงการยา ที่ลงในฉบับที่แลว
     นาจะตกไป เพราะถาคำแนะนำบอกวาไมควรเกิน 200                 (ฉบับ 102) อันที่จริงเปนฝมือถายภาพของ
     ถาเปนอยางนั้นทุกยี่หอก็ไมนาใชเลยสิครับ เพราะวามัน     คุณ อนุช ยนตมุติ มิใชคุณกรรณิการ
     มีคาสนามแมเหล็กไฟฟา มากกวา 200 ไปไมรูกี่เทา            กิจติเวชกุล อยางที่ลงไป จึงเรียนมาเพื่อ
     ขอคำอธิบายดวยครับ                                            ขออภัยไว ณ ที่นี้
                         กิตติ สมาชิกวารสารฉลาดซื้อ 7952

     เรียนคุณกิตติ ที่เคารพ
             ขอตอบคำถามในประเด็น ความเขมขนของสนามแมเหล็กที่เราวัดได จากการ
     ทดสอบเตาอินดัคชัน ดังนี้ครับ คาที่เราวัดไดจากเครื่องมือวัดความเขมขนของสนาม
     แมเหล็กนั้น ถูกตองแลวครับ สำหรับประเด็นในเรื่องความปลอดภัยนั้นตองขอเรียน
     วา ยังเปนที่ถกเถียงกันอยูในเชิงวิชาการ เพราะโดยปรกติแมเราจะอยูภายใตความ
     เขมขนของสนามแมเหล็กที่สูงมากขนาดเกิน 2,000 นาโนเทสลา ( 2 ไมโครเทสลา)
     แตเนื่องจากวาเราใชงานเปนระยะเวลาสั้นๆ รางกายเราจึงยังไมรูสึกอะไร สำหรับ
     รายละเอียดและขอแนะนำ ในเรื่องสนามแมเหล็กไฟฟานั้น ผมไดนำบทความที่
     เกี่ยวของมาอธิบายเพิ่มเติมแลวในฉบับนี้นะครับ หวังวาจะตอบขอสงสัยของคุณกิตติ
     ไดในประเด็นนี้ครับ

                                                     ดร. ไพบูลย ชวงทอง
                                                เครือขายนักวิชาการเพื่อผูบริโภค


    ©ÅÒ´«×éÍี่ 103 กันยายน 2552
2   ปที่ 16 ฉบับที
กองบรรณาธิการ


                            ประมวลเหตุการณเดือนสิงหาคม 2552
19 สิงหาคม 2552                                  มี ผู ร อ งเรี ย นเข า มามากว า ความเร็ ว ต่ ำ
อันตราย! อยาซื้อยาตานหวัด                      กว า ที่ มี ก ารโฆษณา โดยหวั ง ใช ผ ล                27 สิงหาคม 2552
2009 ผานเน็ต                                    ทดสอบครั้ ง นี้ เ ป น แนวทางแก ไ ขและ                อย. ยันยังไมพบสาหรายปลอม
            นายแพทย พิ พั ฒ น ยิ่ ง เสรี       เอาผิดผูใหบริการที่เอาเปรียบผูบริโภค                          กรณี พ บฟอร เ วิ ร ด เมลเรื่ อ ง
เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา                                 นพ.ประวิ ท ย ลี่ ส ถาพรวงศา              สาหร า ยปลอม ซึ่ ง สร า งความกั ง วลให
(อย.) เตือนประชาชน อยาหลงเชื่อคำ                ผูอำนวยการ สบท. กลาววา “โครงการ                     กับผูบริโภควา สาหรายที่นำเขามาจาก
โฆษณาขายยาต า นไวรั ส ไข ห วั ด ใหญ           นี้มีชื่อวา “โครงการสำรวจและทดสอบ                     ตางประเทศจะมีการปลอมปนพลาสติก
สายพันธุใหม 2009 ทางอิน เทอรเน็ต              คุณภาพความเร็วอินเตอรเน็ตป 2552”                     นั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหาร
โดยที่ แ พทย ไ ม ไ ด เ ป น                   โดยที่ ม าของโครงการนี้ เ นื่ อ งจากทาง                และยา(อย.) ได ต รวจสอบการนำเข า
ผู จ า ยยา เพราะอาจ                                         สบท. ได รั บ เรื่ อ งร อ งเรี ย น       และการจำหน า ย พร อ มเก็ บ ตั ว อย า ง
เกิ ด อั น ตรายร า ยแรง                                      ตั้ ง แต เ ดื อ นม.ค.- มิ . ย. 2552      ส า ห ร า ย อ บ แ ห ง ส ง ต ร ว จ ที่ ก ร ม
ทั้ ง จากการได รั บ ยา                                       จำนวน 622 เรื่ อ ง เป น เรื่ อ ง         วิ ท ยาศาสตร ก ารแพทย เพื่ อ วิ เ คราะห
ปลอม ซึ่ ง อาจเป น                                           เกี่ ย วกั บ อิ น เตอร เ น็ ต ถึ ง 90%   หา DNA ของสิ่ ง มี ชี วิ ต และพิ สู จ น ว า
อั น ตรายถึ ง ขั้ น เสี ย                                     ซึ่งเรื่องที่รองเรียนเปนเรื่องของ       เป น พลาสติ ก หรื อ ไม โดยตรวจสอบ
ชีวิต รวมถึงการไดรับ                                         ประสิ ท ธิ ภ าพของความเร็ ว               ส า ห ร า ย อ บ แ ห ง ที่ ว า ง จ ำ ห น า ย ใ น
ยาที่ ไ ม เ หมาะสมต อ ร า งกาย ซึ่ ง จะส ง               อินเตอรเน็ตที่ไมเปนไปตามที่ผู          ทองตลาดจำนวน 5 ยี่หอ ซึ่งจากการ
ผลใหเกิดการดื้อยา                               ใหบริการโฆษณา จุดมุงหมายของการ                       สองกลองจุลทรรศนเพื่อดูลักษณะทาง
            ยาตานไวรัสดังกลาวจัดเปนยา         สำรวจข อ มู ล นี้ เพื่ อ ให ผู ป ระกอบการ           กายภาพ ปรากฏว า สามารถเห็ น เซลล
ควบคุ ม พิ เ ศษ และมี เ งื่ อ นไขให ใ ช        นำข อ มู ล มาปรั บ ปรุ ง                                               สาหร า ยได อ ย า งชั ด เจน
เฉพาะโรงพยาบาลหรื อ สถานพยาบาล                   คุ ณ ภาพการให บ ริ ก าร                                                ซึ่ ง ยื น ยั น ไ ด ว า เ ป น
จะไม มี จ ำหน า ยในร า นขายยาทั่ ว ไป         แก ผู บ ริ โ ภค ซึ่ ง หากมี                                           สาหรายจริง
โดยกระทรวงสาธารณสุ ข ได มี ก าร                 ผู ป ระกอบการรายได มี                                                            อย. แนะผูบริโภค
กระจายยาตานไวรัส (โอเซลทามิเวียร)              ข อ ร อ งเรี ย นเกิ น กว า                                           ควรเลือกซื้อผลิตภัณฑที่
ไปยั ง โรงพยาบาลและคลิ นิ ก ที่ เ ข า ร ว ม    50% ก็จะแจงให กทช.                                                    มี ฉ ลากภาษาไทย ระบุ
โครงการเทานั้น                                  ดำเนิ น การต อ ไป แต                                                  รายละเอียดครบถวน ย้ำ
                                                 เพื่อใหพัฒนาบริการไมใชเพื่อปดการให                ผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารที่ ผ า นการตรวจสอบ
25 สิงหาคม 2552                                  บริการ”                                                จาก ดาน อย. ปลอดภัยแนนอน
เชิญรวมทดสอบความไวเน็ต เร็ว                                  ผู บ ริ โ ภคสามารถเข า ทดสอบ
จริงหรือแคคำโฆษณา                               ความเร็ ว อิ น เทอร เ น็ ต ที่ ตั ว เองใช ผ า น     สธ. รับกลับไปใชชื่อ “พ.ร.บ.
        สถาบั น คุ ม ครองผู บ ริ โ ภคใน        เว็บไซตไดที่ www.speedtest.or.th                     คุมครองผูเสียหายฯ” ตามเดิมหลัง
กิจการโทรคมนาคม (สบท.) จับมือกับ                 ซึ่ ง ระบบจะทดสอบความเร็ ว ของผู ใ ห                 เจรจาเครือขายภาคประชาชน
สมาคมผู ดู แ ลเว็ บ ไทย                         บริการรายนั้นทันที และเก็บขอมูลไวที่                          สธ. มอบคำมั่นกับภาคประชาชน
เ ป ด โ ค ร ง ก า ร                                                     เซิรฟเวอร จากนั้นจะนำ        ยืนยันใชชื่อ พ.ร.บ.คุมครองผูเสียหาย
“สป ด เทสต ” (Speed                                                    ผ ล ที่ ไ ด ม า ท ำ ก า ร     ทางการแพทย ต ามเดิ ม พร อ มรั บ
Test) เพื่ อ เก็ บ ข อ มู ล                                             ประมวลและแจ ง ผลให           พิ จ ารณาเรื่ อ งสั ด ส ว นคณะกรรมการ
เรื่องความเร็วในการใช                                                   ทราบในวั น ที่ 30 พ.ย.         ตองเทาเทียม สวนเรื่องตั้งเปนองคกร
บริการอินเตอรเน็ต ซึ่ง                                                  2552                           อิ ส ระให ค รม.ตั ด สิ น ใจ เร ง รมว.สธ.


                                                                                                                                          ©ÅÒ´«×éÍ
                                                                                                                     ปที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552      3
แพทยและคนไขไดอีกดวย เรื่องการตั้ง
                                                         สำนั ก งานกองทุ น คุ ม ครองผู เ สี ย หาย               “ปฏิญญาเชียงราย”
                                                         จากการรับบริการสาธารณสุขที่ควรเปน                       มาตรการคุมครอง
                                                                                                                           
                                                         อิ ส ร ะ แ ล ะ เ รื่ อ ง สั ด ส ว น ข อ ง ค ณ ะ
                                                         กรรมการตามร า ง พ.ร.บ.ดั ง กล า ว ที่                  สทธดานโทรคมนาคม
                                                                                                                   ิ ิ 
                                                         พบว า มี ไ ม เ ท า เที ย มกั น ระหว า ง สภา
                                                         วิชาชีพกับภาคประชาชน จึงตองการให                                   สถาบั น คุ ม ครองผู บ ริ โ ภคใน
                                                         มีการพิจารณาแกไข                                        กิ จ การโทรคมนาคม (สบท.) สภา
    ทำข อ สรุ ป ยื่ น เรื่ อ งให ส ำนั ก งานคณะ                   หลังจากการประชุมหารือ นาย                     องคกรผูบริโภคอาเซียน (Southeast
    กรรมการกฤษฎีกาพิจารณาตอไป                           พิ เ ชฐ ได ก ล า วสรุ ป เห็ น ด ว ยว า ให           Asian Consumer Council) สหพันธ
                 เครือขายภาคประชาชน ไดแก              เปลี่ยนชื่อราง พ.ร.บ.กลับไปใชชื่อตาม                   ผูบริโภคสากล และมูลนิธิเพื่อผูบริโภค
    เครือขายผูไดรับความเสียหายทางการ                  รางเดิม สวนประเด็นการตั้งสำนักงาน                      จั ด ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ ค รื อ ข า ย อ ง ค ก ร
    แพทย มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ผู บ ริ โ ภค มู ล นิ ธิ    กองทุ น คุ ม ครองผู เ สี ย หายจากการรั บ               คุ ม ค ร อ ง ผู บ ริ โ ภ ค ใ น กิ จ ก า ร
    เข า ถึ ง เอดส ชมรมเพื่ อ นโรคไต ฯลฯ               บริ ก ารสาธารณสุ ข ซึ่ ง ร า งเดิ ม ไม มี              โทรคมนาคมแห ง ภู มิ ภ าคอาเซี ย นขึ้ น
    กวา 100 คน ไดเดินทางเขากระทรวง                    ความชั ด เจนว า จะตั้ ง เป น องค ก รใน                เมื่ อ วั น ที่ 30 กรกฎาคม ณ โรงแรม
    สาธารณสุ ข เพื่ อ ไปเรี ย กร อ ง ติ ด ตาม           ลั ก ษณะใด ดั ง นั้ น ในการพิ จ ารณาชั้ น                ดุ สิ ต ไอส แ ลนด รี ส อร ท จั ง หวั ด
    และหาข อ สรุ ป เรื่ อ งร า ง “พ.ร.บ.               กฤษฎีกาจึงใหสำนักงานดังกลาวขึ้นกับ                     เชี ย งราย ถื อ เป น เวที ก ารประชุ ม ด า น
    คุ ม ครองผู เ สี ย หายจากการบริ ก าร               กรมสนั บ สนุ น บริ ก ารสุ ข ภาพ (สบส.)                   การคุมครองผูบริโภคดานโทรคมนาคม
    สาธารณสุข พ.ศ. ...” โดยมีนายพิเชฐ                    แตเมื่อภาคประชาชนเห็นวา สำนักงาน                       ของกลุ ม อาเซี ย นที่ จั ด ขึ้ น เป น ครั้ ง แรก
    พั ฒ นโชติ ที่ ป รึ ก ษารั ฐ มนตรี ว า การ          น า จะเป น องค ก รอิ ส ระหรื อ อยู ภ ายใต           โดยเปนเวทีคูขนานกับการประชุมสภา
    กระทรวงสาธารณสุ ข เป น ประธานใน                     สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ                         ห น ว ย ง า น ก ำ กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร
    การเจรจา                                             (สปสช.) ดังนั้นจะทำขอสรุปใหกับนาย                      โทรคมนาคมอาเซียน ครั้งที่ 15 ที่ไทย
                 โดยก อ นหน า นี้ เมื่ อ วั น ที่ 25   วิ ท ยา แก ว ภราดั ย รั ฐ มนตรี ว า การ                เปนเจาภาพ
    มิ.ย. น.ส.สารี อองสมหวัง เลขาธิการ                  กระทรวงสาธารณสุ ข นำเรื่ อ งนี้ ใ ห ที่                             การประชุ ม ดั ง กล า ว มี ผู แ ทน
    มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ผู บ ริ โ ภค พร อ มด ว ย นาง   ประชุ ม ครม. ทบทวนว า จะจั ด ตั้ ง เป น                จากองคกรเครือขายคุมครองผูบริโภค
    ปรี ย านั น ท ล อ เสริ ม วั ฒ นา ประธาน            องคกรอิสระไดหรือไม ถาไมไดจะมีมติ                   ในกิจการโทรคมนาคมจาก 8 ประเทศ
    เครื อ ข า ยผู เ สี ย หายทางการแพทย ได           ให อ ยู ภ ายใต สปสช.หรื อ สบส.ถื อ                    ร ว มรายงานสถานการณ แ ละแบ ง ป น
    เขาพบนายวิทยา แกวภราดัย รัฐมนตรี                   เปนการตัดสินใจของ ครม.                                  ประสบการณดานการคุมครองผูบริโภค
    ว า การกระทรวงสาธารณสุ ข เพื่ อ                                ส ว นเรื่ อ งองค ป ระกอบคณะ                 ในกิจโทรคมนาคม ไดแก ออสเตรเลีย
    ร อ ง เ รี ย น ถึ ง ป ญ ห า ข อ ง ก า ร            กรรมการ ที่ ป ระชุ ม ยั ง คงมี ค วามเห็ น                ฮ อ งกง อิ น โดนี เ ซี ย ฟ ลิ ป ป น ส
    เปลี่ยนแปลงแกไข พ.ร.บ. ฉบับนี้ ซึ่ง                 ที่ ขั ด แ ย ง กั น แ ต มี แ น ว โ น ม ที่ จ ะ ใ ช   มาเลเซีย สิงคโปร สเปน และไทย โดย
    ในการพิ จ ารณาของกฤษฎี ก ามี ก าร                    ข อ กำหนดตามร า งเดิ ม คื อ ให มี                     ส ถ า น ก า ร ณ ป ญ ห า ที่ ส ำ คั ญ ข อ ง
    แกไขในประเด็นที่เปนสาระสำคัญของ                    ตัวแทนภาคประชาชนและตัวแทนสภา                             โทรคมนาคมที่ ก ระทบต อ ผู บ ริ โ ภคคื อ
    กฎหมายโดยเป น ไปตามที่ ตั ว แทน                     วิชาชีพฝายละ 3 คน แตเนื่องจากการ                       ป ญ หาการไกล เ กลี่ ย ข อ ขั ด แย ง ระบบ
    กระทรวงสาธารณสุ ข นำเสนอ ทั้ ง ใน                    ประชุมหารือครั้งนี้ ไมมีตัวแทนภายใน                     การเรี ย กเก็ บ ค า บริ ก ารที่ ไ ม เ ที่ ย งตรง
    ส ว นของชื่ อ ร า ง พ.ร.บ. ที่ ถู ก เปลี่ ย น      สภาวิชาชีพอยูดวย จึงมีสิทธิที่จะแสดง                   การโทร.และส ง ข อ ความรบกวน การ
    เป น ร า ง พ.ร.บ.เสริ ม สร า งความ                ความเห็ น ต อ คณะกรรมการกฤษฎี ก า                       ละเมิดสิทธิความเปนสวนตัว การไมรู
    สั ม พั น ธ อั น ดี ใ น ร ะ บ บ บ ริ ก า ร          ได โดยทั้ ง นี้ จ ะทำสรุ ป ข อ เสนอต า งๆ             เทาทันกฎหมาย ความไมเสมอภาคใน
    สาธารณสุ ข พ.ศ. ... ซึ่ ง ไม ต รงกั บ               ของที่ประชุมให รมว.สาธารณสุข เสนอ                       การเข า ถึ ง บริ ก าร และผลกระทบต อ
    เจตนารมณ ข องกฎหมาย ที่ ต อ งการ                   ไปยังกฤษฎีกาอีกครั้ง                                     สุ ข ภาพที่ เ กิ ด จากการใช โ ทรคมนาคม
    ช ว ยเหลื อ ในเรื่ อ งการดู แ ลชดเชย                                                                         เปนตน ผลจากการประชุมทำใหไดราง
    ผูเสียหายจากระบบบริการสาธารณสุข                                                                              ปฏิญญาเชียงรายที่มีเนื้อสำคัญดังนี้
    ซึ่ ง จะช ว ยลดการฟ อ งร อ งระหว า ง

    ©ÅÒ´«×éÍี่ 103 กันยายน 2552
4   ปที่ 16 ฉบับที
(1) ทำงานอยางแข็งขันและตอเนื่อง
     รวมกับภาคีในกิจการ
                                         สูมาตรฐาน รถโดยสารสาธารณะ
                                           
     โทรคมนาคม
(2) กำหนดมาตรฐานพื้นฐานวาดวย
     การคุมครองผูบริโภคในกิจการ
     โทรคมนาคม
(3) ตระหนักวากิจการโทรคมนาคม
     เปนบริการจำเปนพื้นฐาน
(4) ตระหนักวาการคุมครองผูบริโภค
     เปนพิมพเขียวของประชาคม
     เศรษฐกิจอาเซียน โดยใชแนวทาง                  ในงานสัมมนาระดับชาติ เรื่อง                         นายอิฐบูรณ อนวงษา หัวหนา
     “คนเปนศูนยกลาง”                 อุ บั ติ เ หตุ จ ราจร ครั้ ง ที่ 9 ที่ ไ บเทค      ศู น ย พิ ทั ก ษ สิ ท ธิ ผู บ ริ โ ภค มู ล นิ ธิ เ พื่ อ
(5) จัดตั้งหนวยงานกิจการ              บางนา เมื่อวันที่ 21 ส.ค. 52 ไดมีการ              ผูบริโภค ไดพูดถึงปญหาของผูประสบ
     โทรคมนาคมในภูมิภาคโดยใช          จั ด เวที แ ลกเปลี่ ย นในหั ว ข อ “เวที           ภั ย ซึ่ ง นำไปสู ก ารฟ อ งคดี ที่ มี อ ยู เ ป น
     กลไกที่จัดตั้งขึ้นแลวเปนหลัก    ติ ด ตามนโยบาย : สู ม าตรฐาน รถ                   จำนวนมาก ซึ่งมีที่มาจากหลายสาเหตุ
(6) จัดประชุมทุกป โดยจัดทำ            โดยสารสาธารณะ” โดยมี ผู ที่ ท ำงาน                ทั้งการเตะถวงดึงเวลาจากบริษัทรถและ
     ประเด็นรณรงครวมกันทุกป โดย     เกี่ยวของกับเรื่องการพัฒนาและแกไข                บริษัทประกัน การไมไดรับคาชดเชยที่
     เฉพาะอยางยิ่งผลกระทบของการ       ปญหาเรื่องรถโดยสารสาธารณะหลาย                     เปน ธรรมและการที่ ผู เ สีย หายไม ทราบ
     ใชบริการโทรคมนาคมตอสุขภาพ       ทานรวมเปนวิทยากร                                สิ ท ธิ ข องตั ว เอง โดยปกติ ผู โ ดยสาร
     หรือการบริโภคอยางยั่งยืน                     ผศ.ดร.สมประสงค สัตยมัลลี              จะได รั บ ความคุ ม ครองจาก พ.ร.บ.
(7) ดำเนินการวิจัย/สำรวจ               จากสำนักวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย                 คุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535
     เปรียบเทียบระหวางประเทศใน        เทคโนโลยี สุ ร นารี นำเสนอป ญ หา                  แต ก็ จ ะมี ก ารจำกั ด วงเงิ น การรั ก ษา
     กิจการโทรคมนาคม โดยมีหัวขอ       มาตรฐานตัวถังรถที่มักมีโครงสรางที่ไม             พยาบาล ผูปวยหนักหรือทุพพลภาพที่
     หลักคือการเขาถึงเทาเทียม ระบบ   แข็ ง แรงพอ ซึ่ ง มั ก เป น สาเหตุ ท ำให         ต อ งรั ก ษาต อ เนื่ อ งมั ก ถู ก ผลั ก ภาระให
     การจายเงินลวงหนา (Pre-paid)    ผูเสียชีวิตเมื่อเกิดอุบัติเหตุ เชน เกาอี้       ไปอยูในระบบสุขภาพอื่นๆ หรือกรณีที่
     ระบบการเรียกเก็บคาบริการที่      หลุ ด หลั ง คายุ บ ยางรถไม มี ด อกยาง             มี คู ก รณี ชั ด เจนก็ ต อ งรอการพิ สู จ น
     เที่ยงตรง และความปลอดภัย          ไม มี เ ข็ ม ขั ด นิ ร ภั ย ขณะที่ ค นขั บ รถ     ความผิ ด เสี ย ก อ น ทำให ก ระบวนการ
(8) สรางเว็บไซตเพื่อการแบงปน       โดยสารสาธารณะมั ก ขาดคุ ณ สมบั ติ                  ชดเชยค า เสี ย หายล า ช า หากเสี ย ชี วิ ต
     ขอมูลเกี่ยวกับการคุมครองผู     และขาดการฝกอบรมที่ดี ขณะที่สภาพ                   ก็ ไ ด รั บ เงิ น เพี ย ง 1 แสนบาท ซึ่ ง เป น
     บริโภคในกิจการโทรคมนาคม           ถนนในหลายจุ ด ของประเทศก็ ส ร า ง                 อัตราต่ำมากในปจจุบัน
(9) เรียกรองใหรัฐบาลในกลุม          ความสุมเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุดวย                          ทางออกที่เห็นวาเหมาะสม คือ
     ประเทศอาเซียนเขารวมและ                      ดาน ดร.สุเมธ องกิตติกุล จาก           การผลั ก ดั น พ.ร.บ.กองทุ น สิ น ไหม
     สนับสนุนกิจกรรมขององคกร          สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย                  ทดแทนผู ป ระสบภั ย จากรถ พ.ศ. …
     ปกปองผูบริโภคในกิจการ           นำเสนอประเด็นเรื่องนโยบายการกำกับ                  ขึ้นมาทดแทน พ.ร.บ. ฉบับเดิม ซึ่งจะ
     โทรคมนาคม                         ดู แ ลมาตรฐานความปลอดภั ย รถ                       ชวยเรื่องการจายเงินคาสินไหมทดแทน
(10) ผลักดันใหบริษัทผูใหบริการ      โดยสารสาธารณะในเชิงเศรษฐศาสตร                     ตามจริง ดวยขั้นตอนที่รวดเร็วและเปน
     โทรคมนาคมใชหลักบริการที่มี       ในการควบคุ ม การให บ ริ ก าร ควบคุ ม              ระบบ ลดความซ้ ำ ซ อ นและลดค า ใช
     ความรับผิดชอบตอสังคม             ราคา ซึ่ ง เมื่ อ รั ฐ เข า มาดู จั ด การตรงนี้   จ า ยในการบริ ห ารจั ด การ ลดภาระ
                                       อยางจริงจังก็นาจะชวยพัฒนาศักยภาพ                ประชาชน และลดภาระความยุงยากใน
                                       การให บ ริ ก ารและความปลอดภั ย ของ                การเขาถึงสิทธิของผูประสบภัย
                                       รถโดยสารใหเพิ่มขึ้นได


                                                                                                                                   ©ÅÒ´«×éÍ
                                                                                                          ปที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552            5
ศศิวรรณ ปริญญาตร



    อยูคกกินอร่อยกว่าอยูโรงพยาบาล
       ่ ุ              ่
               นั ก วิ จั ย จากมหาวิ ท ยาลั ย       เกลื อ น้ อ ยกว่ า และไม่ นิ ย มใช้ วิ ธี ก าร
    บอร์ น มั ธ ในอั ง กฤษ ได้ ท ำการ               ทอดหรือผัดด้วย
    สำรวจเปรี ย บเที ย บคุ ณ ภาพของ                             ศาสตราจารย์ จอห์ น เอ็ ด
    อาหารที่โรงพยาบาลของรัฐเตรียมให้                เวิ ร์ ด ส์ หนึ่ ง ในผู้ ร่ ว มวิ จั ย บอกว่ า        โ ร ง พ ย า บ า ล ข อ ง รั ฐ ถู ก ตั ด
    ผู้ ป่ ว ยกั บ อาหารที่ เ รื อ นจำเตรี ย มให้   เรื่ อ งนี้ เ รื่ อ งใหญ่ ร้ อ ยละ 40 ของ             งบประมาณนั้ น งบอาหารจะเป็ น
    กั บ นั ก โทษ ผลปรากฏว่ า อาหาร                 คนไข้จะมีภาวะทุพโภชนาการเพราะ                         อย่างแรกที่ถูกตัด แต่ทั้งนี้โฆษกจาก
    สำหรั บ นั ก โทษนั้ น มี คุ ณ ภาพสู ง กว่ า     อาการเจ็ บ ป่ ว ยทำให้ ค นไข้ มี ค วาม                กรมสุขภาพของอังกฤษเขายืนยันว่า
    อาหารสำหรับผู้ป่วย                              อยากอาหารน้ อ ยลง คนเหล่ า นี้ จึ ง                   คนไข้ ส่ ว นใหญ่ ก็ พ อใจกั บ อาหารที่
               ทั้งนี้นักวิจัยเขาบอกว่าอาหาร        ควรจะได้ รั บ ความใส่ ใ จเป็ น พิ เ ศษ                โรงพยาบาลจัดให้(เป็นไปได้ว่าคนไข้
    ในเรื อ นจำ จั ด ว่ า เป็ น อาหารที่ มี         จากโรงพยาบาลในการกระตุ้ น ให้                         ยั ง ไม่ เ คยรั บ ประทานอาหารใน
    คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการดี เ ยี่ ย ม เป็ น         รับประทานอาหารดีๆ ให้มากขึ้น                          เรือนจำ ... แต่ก็น่าจะไม่จำเป็นต้อง
    อาหารที่ ไ ม่ เ น้ น ไขมั น แถมยั ง ใส่                     แต่ ที ม วิ จั ย กลั บ พบว่ า เวลาที่     เข้าไปลองนะ)


                                                    ใครมีรถเก่า
เอามาขาย

                                                    ว่ า นั้ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ เ อาไปจอดที่ เ ต็ น ท์ ไ หน   รั ฐ บาลในโครงการนี้ คื อ คนที่ ตั้ ง ใจ
                                                    แต่ จ ะถู ก เอาไปเข้ า เครื่ อ งบดให้ เ ป็ น          จะซื้อรถใหม่อยู่แล้วแม้จะไม่ได้เงิน
                                                    เศษเหล็กนั่นเอง                                       ช่วยเหลือจากรัฐก็ตาม ซึ่งหมายความ
                                                                ผู้ ค นให้ ค วามสนใจโครงการ               ว่า ในจำนวนรถที่ ค าดว่ า ขายได้ 2
            ห นึ่ ง ใ น แ ผ น ก า ร ก ร ะ ตุ้ น     นี้กันล้นหลาม งบที่เตรียมไว้(ประมาณ                   ล้านคันตามโครงการเอื้ออาทรที่ว่านี้
    เศรษฐกิ จ ของรั ฐ บาลเยอรมนี ไ ด้ แ ก่          2,600 ล้านยูโรหรือ 129,000 ล้าน                       มีถึง 1.5 ล้านคันที่ยังไงๆ ก็ขายได้
    การประกาศรับซื้อรถเก่า (กว่า 9 ปี)              บาท) ก็ถูกใช้หมดไปภายในวันเดียว                       อยู่แล้ว
    ในราคาคันละ 2,500 ยูโร (ประมาณ                  แ ถ ม ยั ง มี ค น ม า ล ง ชื่ อ ต่ อ คิ ว ไ ว้                   เรื่ อ งนี้ รั ฐ บาลออกมาแก้ ต่ า ง
    124,000 บาท)                                    ล่วงหน้าอีก 15,000 คนด้วย                             ว่ า เจตนาของโครงการคื อ การ
            ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ค ลั ง ข อ ง                    แต่ ไ ม่ รู้ ว่ า แผนนี้ จะกระตุ้ น       กระตุ้ น ให้ เ กิ ด การใช้ จ่ า ยเดี๋ ย วนี้
    เยอรมนีบอกว่านี่คือแผนการกระตุ้น                เศรษฐกิจของเยอรมนีได้จริงหรือไม่                      ไม่ ใ ช่ ปี ห น้ า ซึ่ ง เยอรมนี เ ตรี ย ม
    ให้ผู้คนตัดสินใจลงทุนซื้อรถใหม่ที่มี            งานวิจัยจากสถาบัน Halle Economic                      งบประมาณในการกระตุ้นเศรษฐกิจ
    ประสิทธิภาพในการใช้เชื้อเพลิงมาก                Research Institute ระบุว่า 3 ใน                       ไว้ ทั้ ง หมด 5,000 ล้ า นยู โ ร หรื อ
    ขึ้นมาใช้แทนคันเก่า ส่วนเจ้ารถเก่าที่           4 ของคนที่ เ อารถเก่ า มาขายให้                       ประมาณ 247,000 ล้านบาท

    ฉลาดซื้อี่ 103 กันยายน 2552
6   ปีที่ 16 ฉบับที
ความสุขทีคณตัดไม่ได้
         ่ ุ
          ประเทศภู ฏ านออกมาเตื อ น                ก็หมายถึงว่าจะไม่ได้บุญไปด้วย
ประชาชนเรื่องการตัดต้นไม้มาทำธง                            คนภูฏานเชื่อว่า ลมจะพัดพา
ใ น ก า ร อ ธิ ษ ฐ า น ใ ห้ กั บ ผู้ ล่ ว ง ลั บ   เอากระแสดีๆ จากสัญลักษณ์ตันตระ
เพราะเหตุ ว่ า มั น จะไม่ ดี ต่ อ พื้ น ที่ ป่ า   ที่เขียนอยู่บนธงสีเหลือง เขียว แดง
อั น เขี ย วชอุ่ ม และ “ความสุ ข มวล               ขาว และน้ำเงิน ซึ่งเป็นตัวแทนของ                        ส ำ คั ญ กั บ ค ว า ม สุ ข ม ว ล ร ว ม
รวม” ของประเทศ                                     ธาตุทั้ง 5 ออกไป และจะต้องมีการ                         ประชาชาติของประชากรซึ่งปัจจุบันมี
          ชาวพุ ท ธที่ นี่ นิ ย มปั ก ธงเพื่ อ     ปักธงทั้งหมด 108 ธง เมื่อมีคนเสีย                       อยู่ 700,000 คนนั้นระบุไว้ชัดเจนว่า
ความเป็ น สิ ริ ม งคลแก่ ชี วิ ต หรื อ เพื่ อ      ชีวิต                                                   จะต้องมีพื้นที่ป่าไม้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ
อุทิศให้กับผู้ที่ล่วงลับให้สามารถค้น                       รั ฐ บาลภู ฏ านต้ อ งคิ ด หนั ก                 60 ของพื้นที่ประเทศ
พบทางไปสู่โลกหน้าได้ เชื่อกันว่ายิ่ง               เ พ ร า ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ชั ก ช ว น ใ ห้                      ในระหว่ า งเดื อ นมิ ถุ น ายนปี
ปักมากยิ่งดี และที่สำคัญคือต้องใช้                 ประชาชนเปลี่ ย นจากธงไม้ ม าใช้ ธ ง                     2007 ถึ ง มิ ถุ น ายน 2008 ภู ฏ านมี
ธงใหม่ทุกครั้งด้วย ถ้าใครใช้ธงเก่าก็               เหล็ ก หรื อ ธงรี ไ ซเคิ ล ได้ ในขณะที่                 การตัดต้นไม้ 60,000 ต้น เพื่อนำมา
จะดูเหมือนไม่พยายามเท่าที่ควร ซึ่ง                 รั ฐ ธรรมนู ญ ของภู ฏ านซึ่ ง ให้ ค วาม                 ใช้ในการทำธงดังกล่าว

                                                   น้ำหนักไม่ลด
อดได้เงินคืน

                                                   ตามที่ แ จ้ ง ความจำนงไว้ กั บ ทางร้ า น                การปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมการใช้
                                                   ลู ก ค้ า ก็ จ ะไม่ ไ ด้ เ งิ น คื น หรื อ ได้ ส่ ว น   ชีวิตและการรับประทานอาหารของผู้
                                                   ลดตามที่เสนอไว้ในตอนแรก                                 เข้ารับบริการ ทำให้เป็นการยากที่จะ
                                                              เช่ น รายหนึ่ ง ที่ ร้ อ งเรี ย นเข้ า       ชี้ ล งไปว่ า ความล้ ม เหลวในการลด
           เดี๋ ย วนี้ ค ลิ นิ ก ลดน้ ำ หนั ก ใน   มาบอกว่ า เธอต้ อ งจ่ า ยเงิ น 24,800                   น้ำหนักนั้นเป็นความผิดของใคร
ฮ่องกงหันมาชักชวนผู้บริโภคให้เข้า                  เหรียญฮ่องกง (ประมาณ 108,000                                       ปั จ จุ บั น สภาผู้ บ ริ โ ภคของ
รับบริการด้วยข้อเสนอว่าพวกเขาจะ                    บาท) ต่อคอร์สลดน้ำหนักที่ใช้เวลา                        ฮ่ อ งกงมี เ รื่ อ งร้ อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ
ได้ บ ริ ก ารฟรี ถ้ า สามารถลดความ                 2 เดื อ น และเธอจะได้ เ งิ น คื น ถ้ า                  คลินิกลดความอ้วนมากขึ้น แค่ช่วง
อ้วนได้จริงและช่วยเป็นพรีเซ็นเตอร์                 สามารถลดน้ ำ หนั ก ได้ 15 ปอนด์                         8 เดื อ นแรกของปี นี้ ก็ มี ก รณี
ให้กับทางคลินิกด้วย                                (ประมาณ 7 กิโลกรัม) ภายในระยะ                           ร้องเรียนที่เกี่ยวกับเงื่อนไขคืนเงินที่
           แต่มันไม่ง่ายอย่างที่คิด ก่อน           เวลาดังกล่าว แต่เธอก็ไม่ได้เงินก้อน                     ว่านี้กว่า 31 กรณี (มากกว่าปีที่แล้ว
อื่ น ผู้ ที่ ป ระสงค์ จ ะใช้ บ ริ ก ารลด          นั้ น คื น มา เพราะไม่ ส ามารถลด                        7 เท่ า ) จากเรื่ อ งร้ อ งเรี ย นทั้ ง หมด
น้ำหนักกับทางคลินิกพวกนี้ต้องจ่าย                  น้ำหนักได้ตามเป้าที่ตั้งไว้                             86 เรื่องที่เกี่ยวกับบริการของคลินิก
เงินเต็มจำนวนล่วงหน้าไปก่อน เพื่อ                             เ รื่ อ ง นี้ จั ด ก า ร ย า ก จ ริ ง ๆ      ลดความอ้วน
แสดงถึ ง ความมุ่ ง มั่ น ว่ า ต้ อ งการจะ          เพราะแม้ จ ะมี ก ารดู สั ญ ญาโดย                                   คำแนะนำที่ทางการฮ่องกงให้
ลดน้ ำ หนั ก จริ ง ๆ และมี ก ารทำ                  ละเอี ย ดแล้ ว ก็ ต าม แต่ ใ นสั ญ ญาก็                 กั บ ผู้ บ ริ โ ภคขณะนี้ คื อ ให้ ร ะลึ ก ไว้
สัญญาตั้งเป้าหมายการลดไว้ด้วย                      ระบุ ไ ว้ แ ล้ ว ว่ า การรั ก ษาอาจไม่                  เสมอว่าใดๆ ในโลกล้วนไม่ฟรี
           ถ้าพลาดเป้าไม่สามารถลดได้               ประสบความสำเร็ จ เสมอไป ขึ้ น อยู่

                                                                                                                                          ฉลาดซื้อ
                                                                                                                       ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552   7
“สร้างภาพ”
ได้
ไม่ถอว่าหลอกกัน
                                                                     ื
                                                            กลุ่ ม ดั ง กล่ า วบอกว่ า การ                  โฆษกขององค์ ก รที่ ค วบคุ ม
                                                  ตกแต่ ง หรื อ เปลี่ ย นแปลงภาพเพื่ อ             ดูแลเรื่องมาตรฐานการโฆษณา (ซึ่ง
                                                  ทำให้คนดูดีขึ้นนั้น มันหมายถึงการ                ตั้งขึ้นโดยอุตสาหกรรมการโฆษณา)
                                                  ที่ สั ง คมคาดหวั ง ใน “ภาพลั ก ษณ์ ที่          บอกว่ า ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งไปห้ า มกั น ให้
                                                  เป็นไปไม่ได้” และเทคนิคการลบไฝ                   วุ่นวายเพราะปีที่แล้วมีเรื่องร้องเรียน
                                                  ฝ้า หรือรอยย่นบนใบหน้านั้นอาจจะ                  ดังกล่าวเพียง 5 กรณีเท่านั้น
                                                  ทำให้ บ รรดาเด็ ก ผู้ ห ญิ ง เสี ย ความ                   ที่สำคัญเขาบอกว่า ใครๆ ก็
                                                  มั่นใจในตนเอง ในขณะที่ภาพสาวๆ                    รู้อยู่แล้ว(จริงหรือ?) ว่าภาพโฆษณา
                                                  ที่ผอมเกินเหตุก็อาจทำให้เด็กๆ เป็น               เหล่านี้มีการใช้เทคนิคช่วยทั้งนั้น
            องค์ ก รเฝ้ า ระวั ง โฆษณาของ         โรคที่เกิดจากความผิดปกติทางการ
    อังกฤษออกมายืนยันว่าจะไม่สั่งห้าม             กินมากขึ้นด้วย
    การใช้เทคนิค “สร้างภาพ” ให้บุคคล                        ดาราหลายคนก็ เ คยออกมา
    ที่ปรากฏตัวบนหน้านิตยสารดูดีเกิน              พู ด ถึ ง การใช้ เ ทคนิ ค เหล่ า นี้ เคท
    จริง                                          วิ น สเล็ ท ไม่ พ อใจที่ นิ ต ยสาร GQ
            กลุ่ ม เสรี นิ ย มประชาธิ ป ไตย       ทำให้เธอขายาวขึ้นและผอมเกินจริง
    ได้ อ อกมาเรี ย กร้ อ งให้ มี ก ารห้ า มใช้   ในรูปที่ขึ้นปก ในขณะที่นักร้องสาว
    เทคนิคต่างๆ ในการตกแต่งรูปภาพ                 เคลลี่ คล้ากสัน ก็เคยถูก “ลดไซส์”
    ของบรรดาคนดัง หรือนางแบบนาย                   บนปกของนิ ต ยสารอเมริ กั น ฉบั บ
    แ บ บ ที่ ป ร า ก ฏ บ น ห น้ า นิ ต ย ส า ร   หนึ่ ง มาแล้ ว เช่ น กั น แม้ แ ต่ คี ร่ า
    เพราะมั น ทำให้ เ ด็ ก ๆ เกิ ด ความ           ไนท์ลี่ย์ นางเอกจากเรื่องคิงอาเธอร์
    กั ง วลในเรื่ อ งรู ป ร่ า งหน้ า ตาของ       ก็ เ คยพู ด ถึ ง หน้ า อกที่ ดู เ หมื อ นเป็ น
    ตนเอง และขณะเดียวกันก็เรียกร้อง               ของเธอในโปสเตอร์ ป ระชาสั ม พั น ธ์
    ให้ โ ฆษณาสำหรั บ ผู้ ใ หญ่ นั้ น มี ค ำ      ภาพยนตร์ เ รื่ อ งดั ง กล่ า วนั้ น “ไม่ ใ ช่
    เตือนทำนอง “ภาพนี้ผ่านการตกแต่ง               ของชั้นแน่ๆ”
    ด้วยเทคนิค” อยู่ด้วย




    ฉลาดซื้อี่ 103 กันยายน 2552
8   ปีที่ 16 ฉบับที
กองบรรณาธิการ




ทางสำหรับคนพิการ
สังคมไทยพร้อมแค่ไหน
        “


                                                        ”
        ความพิการ เกิดขึ้นกับคนเราได้หลายสาเหตุ ทั้งพิการมาตั้งแต่
กำเนิด พิการเพราะความแก่ชรา พิการด้วยโรคภัยไข้เจ็บ และพิการ
เนื่องจากได้รับอุบัติเหตุ ซึ่งแน่นอนว่าการยอมรับในความพิการของ
ตัวเองไม่ใช่เรื่องง่าย โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ที่ไม่ได้พิการมาตั้งแต่กำเนิด
เพราะการจะทำใจยอมรับพร้อมกับปรับตัวให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่าง
ปกติ ในขณะที่สภาวะร่างกายมีบางอย่างที่สูญเสียไปไม่ใช่เรื่องง่าย
กำลังใจจากทั้งของตัวเองและคนรอบข้างคือแรงกระตุ้นสำคัญ ที่จะ
ทำให้ผู้พิการกลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติอีกครั้ง
        เมื่อผู้พิการมีกำลังใจพร้อมที่จะกลับมาใช้ชีวิตในสังคม ทีนี้ก็
เป็นหน้าที่ของสังคมว่ามีความพร้อมเพื่อผู้พิการแล้วหรือยัง?




                                                                                            ฉลาดซื้อ
                                                                         ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552   9
คนพิการในประเทศไทยมีอยูประมาณ 1.9 ล้านคน
                                   ่
         คิดเป็นร้อยละ 2.9 ของประชากรทังหมด
                                        ้
         ประกอบด้วยผูทพการมาตังแต่กำเนิด ร้อยละ 12.8
                       ้ ี่ ิ   ้
         พิการจากการชราภาพ ร้อยละ 39.1 พิการจากโรคภัย
         ไข้เจ็บ ร้อยละ 36.2 และพิการจากอุบตเหตุ ร้อยละ
                                           ั ิ
         14.6
         * ทีมา: รายงานสุขภาพคนไทย 2551
             ่




    เมื่อสังคมไม่พร้อม คนพิการก็ไม่กล้าฝัน
             ประสิทธิภาพในการดำเนินชีวิตเช่นคนปกติอาจถูก          จะเป็น พรบ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
    ลดทอนลงไปเพราะความพิการ แต่ผู้พิการก็ยังต้องใช้ชีวิต          2550, พรบ.ฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 และ
    ประจำวันไม่ต่างจากคนปกติทั่วๆ ไป คนพิการยังคงต้อง             กฎกระทรวงเรื่องสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้
    ทำงาน ต้องตื่นแต่เช้าไปเจอรถติด ต้องไปซื้อของที่ตลาด          พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 ใจความ
    ไปกินข้าว ไปเที่ยวกับเพื่อนกับครอบครัว หรือแม้แต่ไปดู         สำคัญของข้อกำหนดเหล่านี้ต้องการบอกให้ทราบว่าคน
    หนัง ฟังเพลง ซึ่งกิจกรรมที่ว่ามาอาจเป็นเรื่องปกติธรรมดา       พิการมีสิทธิในการเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกจาก
    ของคนทั่วไป เพราะจะไปไหนมาไหนก็มีทางให้เลือก                  สาธารณประโยชน์ต่างๆ ที่ทางภาครัฐมีหน้าที่จัดหามาให้
    มากมาย สะดวกบ้างไม่สะดวกก็ว่ากันไป แต่สำหรับคน                เช่นเดียวกันกับที่คนปกติได้รับ แต่เมื่อมองกลับมาใน
    พิการ การจะเดินทางไปไหนที มองหาตัวเลือกยากจริงๆ               ความเป็นจริง จะเห็นว่าผู้พิการยังคงถูกจำกัดสิทธิในหลาย
    ยิ่งเป็นผู้พิการที่ใช้เก้าอี้รถเข็นหรือรถวีลแชร์ยิ่งมีปัญหา   ด้าน โดยเฉพาะเรื่องพื้นฐาน อย่างเรื่องสิ่งอำนวยความ
    เวลาเดินทาง เพราะระบบขนส่งมวลชนบ้านเราไม่เอื้อต่อ             สะดวกในการเดินทาง ทั้งในส่วนของทางเท้า และระบบ
    ผู้พิการ                                                      ขนส่งมวลชน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นส่วนสำคัญในการช่วยให้
             ความจริงในบ้านเรามีข้อกำหนดหลายข้อ ที่มี             ผู้พิการสามารถออกมาใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติและอิสระ
    เนื้อหาพูดถึงการดูแลและให้ความสำคัญกับผู้พิการ ไม่ว่า


     ฉลาดซื้อ
10 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552
Universal Design – การออกแบบที่เป็นประโยชน์กับ
ทุกคนในสังคม
        Universal Design ไม่ได้เป็นแค่คำภาษาอังกฤษ
เท่ๆ แต่ว่าเป็นคำที่มีความหมาย ใช้ในการอธิบายแนวคิด
การออกแบบทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อม สถานที่ และสิ่งของ
เครื่องใช้ต่างๆ เพื่อให้ทุกคนในสังคมใช้ประโยชน์ได้อย่าง
เท่าเทียมกัน โดยไม่ให้ความแตกต่างของแต่ละคน ไม่ว่า
จะเป็นเรื่องเพศ อายุ และรวมถึงความทุพพลภาพทาง
ร่างกายมาเป็นข้อจำกัดในการเข้าถึงและใช้งานได้ไม่เต็ม
ประสิทธิภาพ                                                   ห้องน้ำ – พื้นภายนอกกับพื้นในห้องน้ำต้องมีระดับเท่ากัน
        Universal Design จึงเป็นหลักการการออกแบบที่           หรือต่างระดับก็ต้องเป็นทางลาด ที่สำคัญประตูต้องเป็น
เอื้อต่อผู้พิการ ผู้สูงอายุ และยังรวมไปถึงกลุ่มผู้ป่วย เด็ก   บานเลื่อน ความกว้างต้องไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร และต้อง
และผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ เพราะ Universal Design เป็นการ         ติดปุ่มสัญญาณฉุกเฉินไว้ด้วย
ออกแบบอาคารสถานที่ที่เน้น ให้ทุกอย่างสามารถใช้สอย             ประตู – ควรเป็นแบบเลื่อนเพราะใช้แรงน้อยกว่าประตูที่
ได้โดยคนทุกกลุ่ม ใช้ง่าย มีความเสมอภาค ปรับเปลี่ยน            เป็นแบบผลัก ยิ่งที่เป็นระบบเซ็นเซอร์เปิด-ปิดอัตโนมัติก็
การใช้งานได้ ปลอดภัย พร้อมทั้งทุ่นแรงขณะใช้งาน ไม่ว่า         จะยิ่งดีมาก ความกว้างของประตูควรไม่น้อยกว่า 1.50
จะเป็นเรื่องของ ทางเดิน ประตูทางเข้า บันไดขึ้นลง รวม          เมตร
ไปถึงห้องน้ำ                                                  พื้นผิวต่างสัมผัส – มีประโยชน์สำหรับผู้พิการทางการมอง
                                                              เห็น ซึ่งควรให้มีพื้นผิวต่างสัมผัสไว้ตาม ทางขึ้น-ลงบันได
สิ่งที่ควรมีไว้ให้ผู้พิการ                                    และทางลาด ด้านหน้า-หลังประตู และที่หน้าประตูห้องน้ำ
ป้าย – เป็นเครื่องมือพื้นฐานที่ช่วยให้ให้ผู้พิการไปไหนมา
ไหนหรือทำอะไรได้ด้วยตัวเอง ซึ่งจะต้องตั้งให้อยู่ในจุดที่      ปัจจุบันสถานที่ต่างๆ พร้อมแค่ไหนสำหรับคนพิการ
สามารถมองเห็นได้ชัดเจน                                        สถานที่ราชการ
ทางลาด – มีประโยชน์และสำคัญอย่างมาก สำหรับทั้งผู้ที่                    ถ้าเป็นเมื่อก่อน สถานที่ราชการมักจะถูกสร้างเป็น
ใช้วีลแชร์ ซึ่งเพื่อความปลอดภัย ควรมีความลาดอยู่ที่ 30        อาคารสูงๆ เพราะอาจจะต้องการให้ดูโดดเด่นเป็นสง่า ซึ่ง
องศา (*กฎกระทรวงกำหนดไว้ไม่เกิน 45 องศา)                      แน่นอนไม่มีทางลาดให้ใช้ แต่สมัยนี้สถานที่ราชการหลายๆ
ที่จอดรถ – ควรมีสัญลักษณ์แสดงให้ชัดเจนว่าเป็นที่จอด           ที่ก็เริ่มมีการปรับปรุง และออกแบบให้เอื้อกับคนพิการมาก
รถสำหรับคนพิการ และมีความกว้างพอสมควร                         ขึ้น ซึ่งคนพิการก็ต้องการติดต่อเรื่องทางราชการไม่ต่างจาก
                                                              คนปกติ
                                                              สถานศึกษา
 ไม่ใช่แค่ผพการทีใช้วลแชร์เท่านันทีได้ประโยชน์จากทาง
             ู้ ิ    ่ ี         ้ ่
                                                                        ถ้าหากภาครัฐหรือคนที่มีอำนาจในการปรับปรุง
 ลาด เพราะยังมีคนอีกหลายกลุมทีใช้ทางโดยเฉพาะทีอยู่
                                ่ ่                ่
 บนทางเท้า ทังผูปวยทีตองนังอยูบนรถเข็น คนชรา หรือ
                  ้ ้ ่ ่ ้ ่ ่                               สถานที่เพื่อคนพิการ อยากจะลงมือปรับปรุงสถานที่สัก
 แม้แต่คณพ่อ-คุณแม่ทเข็นรถพาลูกเล็กๆ ออกไปเทียว
           ุ             ี่                      ่            แห่ง เราขอแนะนำให้เริ่มที่สถานศึกษา สถานศึกษาในที่นี้
 แต่ไม่นบรวมคนขับมอเตอร์ไซต์บางคนทีชอบมาใช้
         ั                              ่                     หมายถึงสถานศึกษาทั่วๆ ไป ไม่ใช่ที่มีไว้ให้เฉพาะคนพิการ
 เส้นทางลัดกันบนทางเท้า ซึงทังอันตรายและยังทำให้
                            ่ ้                               เพราะถ้ามีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการในสถาน
 ทางเท้าชำรุดเร็วขึนอีกต่างหาก
                      ้                                       ศึกษาทั่วไป นอกจากคนพิการจะได้มีโอกาสทางการศึกษา
                                                              แล้ว พวกยังได้มีสิทธิได้ใช้ชีวิตในสังคมร่วมกับคนปกติ

                                                                                                               ฉลาดซื้อ
                                                                                            ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552   11
วัด
              กิจกรรมทางศาสนาส่วนใหญ่มักจะจัดกันในโบสถ์
    หรือไม่ก็บนศาลาวัด ซึ่งล้วนแล้วแต่ออกแบบให้เป็นอาคาร
    สูง ซึ่งแน่นอนว่าเป็นอุปสรรคอย่างยิ่งสำหรับผู้พิการที่
    อยากเข้าไปร่วมฟังเทศน์ฟังธรรม หากไม่ขอแรงให้คนอื่น
    ช่วยพาขึ้นไป ก็ต้องยอมนั่งฟังเทศน์อยู่ข้างล่าง แถมบาง
    ครั้งผู้พิการยังถูกมองว่าความพิการเป็นเรื่องของบุญบาป
    ผู้พิการเลยมักถูกดูแคลนเวลาที่อยู่ในวัด ซึ่งความจริงการ
    สร้างสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เพื่อคนพิการในวัด
    นอกจากผู้พิการจะได้ใช้แล้ว บรรดาคนเฒ่าคนแก่ก็ได้ใช้
    ประโยชน์ตรงนี้ด้วย
    ตลาด
              บริเวณพื้นตามตลาดสดส่วนมากจะค่อนข้าง
    เฉอะแฉะ ซึ่งเป็นอุปสรรคมากๆ สำหรับผู้พิการที่ใช้วีลแชร์
    แถมในตลาดจะมีร่องน้ำอยู่ตามทางเดิน ถ้าหากรถวีลแชร์
    พลาดตกลงไปก็อาจเกิดอันตราย เรื่องความกว้างก็เป็นอีก
    ปัญหาสำคัญที่สร้างความลำบากให้ผู้ที่ใช้วีลแชร์ เพราะ
    ตามตลาดส่วนมากผู้คนจะพลุกพล่าน ยิ่งตลาดดังๆ
    ถึงขนาดต้องเดินเบียดเสียดกันเลยทีเดียว ซึ่งถ้าเป็นแบบนี้
    ผู้พิการที่ใช้วีลแชร์ก็แทบจะหมดสิทธิ
    ธนาคาร
              ธนาคารส่วนใหญ่มักสร้างให้ดูยิ่งใหญ่อลังการ และ
    ชอบสร้างให้เป็นอาคารแบบยกสูง โดยทำชั้นล่างเป็นที่จอด
                                                                 อนาคตข้างหน้า (อาจจะ) มีให้ใช้
    รถ ซึ่งก็ต้องเดินขึ้นบันไดหลายขั้นกว่าจะถึงตัวธนาคาร         -ลิฟท์ทรถไฟฟ้า BTS ทุกสถานี ภายในปี 2554
                                                                         ี่
    แล้วแบบนี้ผู้พิการที่ใช้วีลแชร์จะมีโอกาสใช้ได้ยังไง แม้      -สัญญาณไฟพูดได้ เพือช่วยผูพการทางสายตาเวลาข้ามถนน
                                                                                          ่    ้ ิ
    ธนาคารส่วนใหญ่จะได้คำชมเรื่องการบริการ พนักงานส่วน           -ปรับปรุงทางเท้าใน กทม. โดยคำนึงถึงความสะดวกของผู้
    มากยินดีมาช่วยพาผู้พิการขึ้นไป แต่ผู้พิการก็อยากที่จะทำ      พิการเป็นหลัก
    อะไรได้ด้วยตัวเอง ซึ่งเดี๋ยวนี้ก็มีธนาคารในห้างมาเป็นอีก     -หากรถเมล์ NGV 4000 คันได้มโอกาสมาวิงในบ้านเรา คน
                                                                                                     ี     ่
    หนึ่งทางเลือก ก็อาจพอช่วยผู้พิการที่ใช้วีลแชร์ได้บ้างแต่ก็   พิการก็มสทธิได้ใช้เจ้ารถเมล์พวกนี้ เพราะองค์กรคนพิการ
                                                                            ี ิ
                                                                 เรียกร้องให้รถเมล์ทจะนำเข้ามาต้องมีสงอำนวยความสะดวก
                                                                                     ี่                ิ่
    ไม่ใช่ทั้งหมด
                                                                 สำหรับคนพิการด้วย เช่น พืนชานต่ำ ราวจับ ทีลอคล้อรถ
                                                                                             ้                ่ ็
    โรงภาพยนตร์
                                                 วีลแชร์ โดยต้องมีอยูในรถเมล์ทกสาย ครอบคลุมทุก
                                                                                        ่          ุ
              ผู้พิการเสียค่าตั๋วชมภาพยนตร์เท่ากับคนปกติ แต่     เส้นทาง
    แทบไม่มีโอกาสได้เลือกที่นั่งในมุมที่อยากนั่ง เพราะเวลาผู้
    พิการวีลแชร์ไปดูหนังก็มักถูกจัดให้ไปนั่งอยู่ตรงที่ว่างริม
    สุดของแถว หรือไม่ก็ที่ว่างตรงกลางโรงภาพยนตร์ แถมใน           ขอขอบคุณ ผู้ให้ข้อมูล …รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ หน่วยวิจัย
    โรงหนังก็แทบไม่มีทางลาดไว้ให้ใช้                             สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและผู้พิการ คณะ
                                                                 สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

     ฉลาดซื้อ
12 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103
S mbuyer 103

More Related Content

What's hot (9)

S mbuyer 124
S mbuyer 124S mbuyer 124
S mbuyer 124
 
S mbuyer 117
S mbuyer 117S mbuyer 117
S mbuyer 117
 
S mbuyer 111
S mbuyer 111S mbuyer 111
S mbuyer 111
 
S mbuyer_128
S mbuyer_128S mbuyer_128
S mbuyer_128
 
S mbuyer 110
S mbuyer 110S mbuyer 110
S mbuyer 110
 
S mbuyer 126
S mbuyer 126S mbuyer 126
S mbuyer 126
 
S mbuyer 127
S mbuyer 127S mbuyer 127
S mbuyer 127
 
S mbuyer 100
S mbuyer 100S mbuyer 100
S mbuyer 100
 
S mbuyer 112_113
S mbuyer 112_113S mbuyer 112_113
S mbuyer 112_113
 

Viewers also liked

2011 10 plan van aanpak wellness
2011 10 plan van aanpak wellness2011 10 plan van aanpak wellness
2011 10 plan van aanpak wellnessDirk Laverge
 
ΔΙΑΛΟΓΟΣ, Τεύχος 64, ΑΠΡΙΛΙΟΣ - ΙΟΥΝΙΟΣ 2011
ΔΙΑΛΟΓΟΣ, Τεύχος 64, ΑΠΡΙΛΙΟΣ - ΙΟΥΝΙΟΣ 2011ΔΙΑΛΟΓΟΣ, Τεύχος 64, ΑΠΡΙΛΙΟΣ - ΙΟΥΝΙΟΣ 2011
ΔΙΑΛΟΓΟΣ, Τεύχος 64, ΑΠΡΙΛΙΟΣ - ΙΟΥΝΙΟΣ 2011Σσστ!!! Επιλογές
 
Whitepaper creer een_buitengewone_klantbeleving
Whitepaper creer een_buitengewone_klantbelevingWhitepaper creer een_buitengewone_klantbeleving
Whitepaper creer een_buitengewone_klantbelevingCRM excellence
 
Thpt ngô sĩ liên dự án
Thpt ngô sĩ liên dự ánThpt ngô sĩ liên dự án
Thpt ngô sĩ liên dự ánNh Lionheart
 
Gela birtualetik ikasketa ingurune pertsonalizatuetara
Gela birtualetik ikasketa ingurune pertsonalizatuetaraGela birtualetik ikasketa ingurune pertsonalizatuetara
Gela birtualetik ikasketa ingurune pertsonalizatuetaramunibertsitatea
 

Viewers also liked (6)

2011 10 plan van aanpak wellness
2011 10 plan van aanpak wellness2011 10 plan van aanpak wellness
2011 10 plan van aanpak wellness
 
ΔΙΑΛΟΓΟΣ, Τεύχος 64, ΑΠΡΙΛΙΟΣ - ΙΟΥΝΙΟΣ 2011
ΔΙΑΛΟΓΟΣ, Τεύχος 64, ΑΠΡΙΛΙΟΣ - ΙΟΥΝΙΟΣ 2011ΔΙΑΛΟΓΟΣ, Τεύχος 64, ΑΠΡΙΛΙΟΣ - ΙΟΥΝΙΟΣ 2011
ΔΙΑΛΟΓΟΣ, Τεύχος 64, ΑΠΡΙΛΙΟΣ - ΙΟΥΝΙΟΣ 2011
 
Whitepaper creer een_buitengewone_klantbeleving
Whitepaper creer een_buitengewone_klantbelevingWhitepaper creer een_buitengewone_klantbeleving
Whitepaper creer een_buitengewone_klantbeleving
 
Tugas tik
Tugas tikTugas tik
Tugas tik
 
Thpt ngô sĩ liên dự án
Thpt ngô sĩ liên dự ánThpt ngô sĩ liên dự án
Thpt ngô sĩ liên dự án
 
Gela birtualetik ikasketa ingurune pertsonalizatuetara
Gela birtualetik ikasketa ingurune pertsonalizatuetaraGela birtualetik ikasketa ingurune pertsonalizatuetara
Gela birtualetik ikasketa ingurune pertsonalizatuetara
 

Similar to S mbuyer 103

artscolumn
artscolumnartscolumn
artscolumnRMIT
 
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553guest39c8e4a2
 
ผลการศึกษาความท้าทายขององค์การ
ผลการศึกษาความท้าทายขององค์การผลการศึกษาความท้าทายขององค์การ
ผลการศึกษาความท้าทายขององค์การDrDanai Thienphut
 
เมนูคอร์รัปชัน และการแสวงหาผลประโยชน
เมนูคอร์รัปชัน และการแสวงหาผลประโยชนเมนูคอร์รัปชัน และการแสวงหาผลประโยชน
เมนูคอร์รัปชัน และการแสวงหาผลประโยชนNapong
 
Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์
Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์
Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์WiseKnow Thailand
 
เล่มที่ 7
เล่มที่ 7เล่มที่ 7
เล่มที่ 7disk1412
 
กิจกรรมที่4m1
กิจกรรมที่4m1กิจกรรมที่4m1
กิจกรรมที่4m1Paksorn Runlert
 

Similar to S mbuyer 103 (20)

S mbuyer 106
S mbuyer 106S mbuyer 106
S mbuyer 106
 
S mbuyer 109
S mbuyer 109S mbuyer 109
S mbuyer 109
 
S mbuyer 116
S mbuyer 116S mbuyer 116
S mbuyer 116
 
S mbuyer 101
S mbuyer 101S mbuyer 101
S mbuyer 101
 
S mbuyer 108
S mbuyer 108S mbuyer 108
S mbuyer 108
 
S mbuyer 107
S mbuyer 107S mbuyer 107
S mbuyer 107
 
S mbuyer 105
S mbuyer 105S mbuyer 105
S mbuyer 105
 
S mbuyer 118
S mbuyer 118S mbuyer 118
S mbuyer 118
 
S mbuyer 115
S mbuyer 115S mbuyer 115
S mbuyer 115
 
artscolumn
artscolumnartscolumn
artscolumn
 
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
จดหมายข่าวจัสพีส ประจำเดือนเมษายน 2553
 
ผลการศึกษาความท้าทายขององค์การ
ผลการศึกษาความท้าทายขององค์การผลการศึกษาความท้าทายขององค์การ
ผลการศึกษาความท้าทายขององค์การ
 
Good Governance Cooperatives
Good Governance CooperativesGood Governance Cooperatives
Good Governance Cooperatives
 
เมนูคอร์รัปชัน และการแสวงหาผลประโยชน
เมนูคอร์รัปชัน และการแสวงหาผลประโยชนเมนูคอร์รัปชัน และการแสวงหาผลประโยชน
เมนูคอร์รัปชัน และการแสวงหาผลประโยชน
 
Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์
Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์
Corruption Menu (e-book) | เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาผลประโยชน์
 
สับปะรด
สับปะรดสับปะรด
สับปะรด
 
เล่มที่ 7
เล่มที่ 7เล่มที่ 7
เล่มที่ 7
 
R2_05.Pensri
R2_05.PensriR2_05.Pensri
R2_05.Pensri
 
กิจกรรมที่4m1
กิจกรรมที่4m1กิจกรรมที่4m1
กิจกรรมที่4m1
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 

S mbuyer 103

  • 1.
  • 2. สารบัญ ปที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552 www.consumerthai.org 9 19 24 34 เรื่องเดน อาหารและสุขภาพ 9 “ทางสำหรับคนพิการ สังคมไทยพรอมแคไหน” 47 ของฝากจากอินเตอรเน็ต ความเคลื่อนไหว “เอาไงดีกับขวดพลาสติกใส ตอน 2” 3 กระแสในประเทศ 50 สวยอยางฉลาด 6 กระแสตางแดน “ผลิตภัณฑขจัดเซลลูไลท” 58 สารพันปัญหาโทรคมนาคม 52 คุยเรื่องฟันกับผูบริโภค “ระวังมือถือยุคใหม จายคาเน็ตไมรูตัว” “จัดฟนแฟชั่น อันตราย!” 58 เรื่องเลาเฝ้าระวัง ทดสอบ “โอม... เพี้ยง! ไขมันจงลด” 19 “กาแฟ ... ทุกครั้งที่ดื่มอยาลืมคนปลูก” 62 เรื่องเรียงเคียงจาน 24 “มือถืออินเตอรเน็ต” “จากตลาดสีเขียวเมืองกรุงสู Fair trade 32 “ขาว ใชวาจะดีเสมอไป” ชุมชนสนามชัยเขต” สัมภาษณ หนาตางผูบริโภค 34 ทุกคนมีสิทธิ 56 ชวง ฉลาด ชอป “อุบัติเหตุรถโดยสารสาธารณะ “เรา” ปองกันได” “Electro smog มีผลตอสุขภาพรางกายมนุษย?” เสียงผูบริโภค 59 Connecting 39 • จองรถไมไดรถ ตองไดเงินจองคืน “ยิ่งกวามายา” • แม็กซเนต ของทีทีแอนดที 64 คุยกับคน จายเต็มเดือนแตไดใชแคครึ่งเดือน “ปศาจทุนนิยมหลบไป ไมเคิล มัวร มาแยวๆๆๆๆ” (1) • เจาหนี้อายัดเงินเดือน ทำไมไมมีบอกกลาว 67 มีอะไรใน โคด-สะ-นา • พรบ.ผูประสบภัยจากรถไดเวลาแกใหมแลว “กินขาวหรือยัง” กับ “ความคิดสรางสรรคใหมๆ” กฎหมาย 46 รูกฎหมายกับทนายอาสา “ดอกเบี้ยบัตรเครดิต”
  • 3. บทบรรณาธิการ สารี อ๋องสมหวัง saree@consumerthai.org เบือจานดาวเทียม ่ เมืองไทยเป็นเมืองแหงมือใครยาวสาวได รถก็จะสบสายตากับจานดาวเทียม จานดาวเทียม ๆๆๆๆ สาวเอาจริงๆ รูปธรรมหนึ่งที่เห็นไดชัดจากการแขงขันกัน ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ เต็มบานเต็มเมืองใน อยางดุเดือดของธุรกิจจานดาวเทียม จากผูริเริ่มเลน ปัจจุบันเห็นแลวก็พาลใหหงุดหงิดวา ตึกตาง ๆ ไมตอง ที่สำคัญคือ บริษัท ชินบรอดแบนด อินเตอรเน็ต รับผิดชอบจัดบริการไวใหกับลูกคาเลยหรือทำใหลูกคา (ประเทศไทย) จำกัด ในเครือกลุมชินคอรป ที่เขามาเป็น ตองซื้อบริการดวยตนเอง หรือ บริการแบบนี้ไมตองจาย ผูจัดจำหนายจานดาวเทียมเหลืองภายใตชื่อ DTV สตางค ไดมาฟรีเหมือนกับที่ไดรับแจกซิมฟรี เลยไม ผลปรากฏวาภายใน 6 เดือนสามารถจำหนายไดถึง ตองคิดกัน วา “ซิม” มาจากไหน 100,000 ชุด พูดเรื่องแบบนี้ คงมีคนหมั่นไสวา ทีป้ายโฆษณา ทำให บริษัท ทรูวิชั่นส จำกัด (มหาชน) ผูไดรับ ขนาดใหญและมีปัญหาทับคนตาย ไมเสนอใหทำอะไร สัมปทานจากบริษัท อสมท. จำกัด (มหาชน) ในการให ตองบอกวา หากเป็นผูวากรุงเทพมหานครจะยกเลิกป้าย บริการธุรกิจบอกรับสมาชิก หรือ เคเบิลทีวี ตองปรับตัว โฆษณาขนาดใหญทันที แมแตเสาไฟ สายไฟ รกรุงรัง ดวยการขายพรีเพดจานดาวเทียม โดยไมตองเสียคา ก็ตองบอกวา ไมชอบเหมือนกัน และจะหาทางยกเลิก บริการรายเดือนแขงกับเจาเดิมบริษัท โพลี เทเลคอม อยากเห็นการแกไขปัญหา แตจะใหทำเสาไฟเองตอนนี้ จำกัด ผูผลิตและจำหนายอุปกรณจานดาวเทียมภายใต ยังทำไมได จะบังคับใหเขาวางใตดินก็อางวาไมมี ชื่อ PSI และบริษัท สามารถ เอนจิเนียริ่ง จำกัด ของ งบประมาณ กลุมสามารถคอรป แตสำหรับจานดาวเทียม (ที่นาเบื่อ) สิ่งสำคัญ การปลดล็อกคาบริการรายเดือน ผนึกกำลัง บริษัทไดโฆษณาสินคาของตนเองสบายโดยไมตองลงทุน ทรูวิชั่นสและบริษัท ทรูมูฟ ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ เห็นทีกรุงเทพมหานครหรือเทศบาลจังหวัดตางๆ นาจะ โดยผูที่เป็นลูกคาโทรศัพทระบบเติมเงินของ ทรูมูฟ เก็บภาษีโฆษณาที่เขาขายภาษีป้ายซะใหเข็ด เพราะไม สามารถซื้อจานแดงทรูวิชั่นสราคาพิเศษและมีสิทธิดู อยางนั้น แนวการจัดการใหเมืองมีความงาม การใช ทรูวิชั่นสอีกจำนวน 7 ชอง ประโยชนรวมกัน ไมวาจะเป็นจานดาวเทียม เสา ไมวาใครจะเกงกาจกวาใครในทางการตลาดแค โทรศัพทมือถือ คงไมมีใครคิดเรื่องนี้กันอยางจริงจัง ไหนก็ตาม แตสิ่งที่เราทุกคนเสียรวมกัน คือ ทัศนอุจาด แมแตปัญหาใหญเรื่องการเขาถึงขอมูลขาวสารโดยการ ตึกที่ไมมีความงามอยูแลว ยิ่งหมดความงาม มองไป แบงกลุมประชาชนตามประเภทสีของจานดาวเทียม สองขางทาง หากเจอตึกไมวาจะซายจะขวาจะเดินหรือนั่ง เจ้าของ : มูลนิธิเพื่อผูบริโภค 4/2 ซอยวัฒนโยธิน แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท : 0-2248-3734-7 โทรสาร : 0-2248-3733 บรรณาธิการผู้พิมพผู้โฆษณา : สารี อ๋องสมหวัง คณะที่ปรึกษา : พระไพศาล วิสาโล ศ.เสนห จามริก มรว.สุพินดา จักรพันธุ คุณพิทยา วองกุล ศ.ดร.ประดิษฐ เชี่ยวสกุล อาจารยจรัญ ภักดีธนากุล ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ ศ.นพ.วิฑูรย อึ้งประพันธ ศ.นพ.สันต หัตถีรัตน ผศ.ภญ.สำลี ใจดี ศ.ดร.ทวีทอง หงษวิวัฒน รศ.ดร.โคทม อารียา รศ.ดร.จิรพล สินธุนาวา นพ.ประพจน เภตรากาศ นพ.สุวิทย วิบุลผลประเสริฐ รศ.ดร.จันทรเพ็ญ วิวัฒน รศ.ดร.ภญ.จิราพร ลิ้มปานานนท นพ.ชูชัย ศุภวงศ รศ.ดร.วิทยา กุลสมบูรณ ที่ปรึกษากฎหมาย : ชัยรัตน แสงอรุณ บรรณาธิการบริหาร : สารี อ๋องสมหวัง หัวหน้ากองบรรณาธิการ : ทัศนีย แนนอุดร กองบรรณาธิการ : รศ.ดร.แกว กังสดาลอำไพ นพ.ประวิทย ลี่สถาพรวงศา สุวรรณา จิตประภัสสร อิฐบูรณ อนวงษา สุมาลี พะสิม ชนิษฎา วิริยะประสาท ศศิวรรณ ปริญญาตร สมนึก งามละมัย ฝ่ายการตลาดและสมาชิก : เสาวลักษณ ปอเจริญ เตือนใจ รอดสกุล ศิลปกรรม : สราวุธ ลอยศักดิ์ พิมพ : บริษัท พิมพดี จำกัด โทรศัพท : 0-2803-2694-7 แยกสี/เพลต : หจก.เลย โปรเซส โทรศัพท : 0-2433-5433, 0-2803-0360-1
  • 4. . ลงขอมูลผิดหรือไม ผมอานบทความเรื่อง ทดสอบเตาแมเหล็กไฟฟา ในฉบับที่ 102 มีเรื่องสงสัย ดังนี้ ขอความในหนา 20 คอลัมนทางขวามือ เขียนวา “จากการทดสอบสามารถอานคาความเขมสนาม แมเหล็กไดสูงสุด 2000 นาโนเทสลา ...อยางไรก็ตาม ภาพถาย อ.สำลี ใจดี สถาบัน TUV หนวยงานอิสระที่ทำการทดสอบทางดาน เทคนิคของประเทศเยอรมันนีไดใหคำแนะนำวา ทางกองบรรณาธิการขอเรียนวา คาความเขมขนของสนามแมเหล็กไฟฟาไมควรเกิน 200 ภาพถายสวยๆ ของ อ.สำลี ใจดี หญิง นาโนเทสลา” ผมคิดวา ทางวารสารอาจลงขอมูลผิดเลข 0 แกรงแหงวงการยา ที่ลงในฉบับที่แลว นาจะตกไป เพราะถาคำแนะนำบอกวาไมควรเกิน 200 (ฉบับ 102) อันที่จริงเปนฝมือถายภาพของ ถาเปนอยางนั้นทุกยี่หอก็ไมนาใชเลยสิครับ เพราะวามัน คุณ อนุช ยนตมุติ มิใชคุณกรรณิการ มีคาสนามแมเหล็กไฟฟา มากกวา 200 ไปไมรูกี่เทา กิจติเวชกุล อยางที่ลงไป จึงเรียนมาเพื่อ ขอคำอธิบายดวยครับ ขออภัยไว ณ ที่นี้ กิตติ สมาชิกวารสารฉลาดซื้อ 7952 เรียนคุณกิตติ ที่เคารพ ขอตอบคำถามในประเด็น ความเขมขนของสนามแมเหล็กที่เราวัดได จากการ ทดสอบเตาอินดัคชัน ดังนี้ครับ คาที่เราวัดไดจากเครื่องมือวัดความเขมขนของสนาม แมเหล็กนั้น ถูกตองแลวครับ สำหรับประเด็นในเรื่องความปลอดภัยนั้นตองขอเรียน วา ยังเปนที่ถกเถียงกันอยูในเชิงวิชาการ เพราะโดยปรกติแมเราจะอยูภายใตความ เขมขนของสนามแมเหล็กที่สูงมากขนาดเกิน 2,000 นาโนเทสลา ( 2 ไมโครเทสลา) แตเนื่องจากวาเราใชงานเปนระยะเวลาสั้นๆ รางกายเราจึงยังไมรูสึกอะไร สำหรับ รายละเอียดและขอแนะนำ ในเรื่องสนามแมเหล็กไฟฟานั้น ผมไดนำบทความที่ เกี่ยวของมาอธิบายเพิ่มเติมแลวในฉบับนี้นะครับ หวังวาจะตอบขอสงสัยของคุณกิตติ ไดในประเด็นนี้ครับ ดร. ไพบูลย ชวงทอง เครือขายนักวิชาการเพื่อผูบริโภค ©ÅÒ´«×éÍี่ 103 กันยายน 2552 2 ปที่ 16 ฉบับที
  • 5. กองบรรณาธิการ ประมวลเหตุการณเดือนสิงหาคม 2552 19 สิงหาคม 2552 มี ผู ร อ งเรี ย นเข า มามากว า ความเร็ ว ต่ ำ อันตราย! อยาซื้อยาตานหวัด กว า ที่ มี ก ารโฆษณา โดยหวั ง ใช ผ ล 27 สิงหาคม 2552 2009 ผานเน็ต ทดสอบครั้ ง นี้ เ ป น แนวทางแก ไ ขและ อย. ยันยังไมพบสาหรายปลอม นายแพทย พิ พั ฒ น ยิ่ ง เสรี เอาผิดผูใหบริการที่เอาเปรียบผูบริโภค กรณี พ บฟอร เ วิ ร ด เมลเรื่ อ ง เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา นพ.ประวิ ท ย ลี่ ส ถาพรวงศา สาหร า ยปลอม ซึ่ ง สร า งความกั ง วลให (อย.) เตือนประชาชน อยาหลงเชื่อคำ ผูอำนวยการ สบท. กลาววา “โครงการ กับผูบริโภควา สาหรายที่นำเขามาจาก โฆษณาขายยาต า นไวรั ส ไข ห วั ด ใหญ นี้มีชื่อวา “โครงการสำรวจและทดสอบ ตางประเทศจะมีการปลอมปนพลาสติก สายพันธุใหม 2009 ทางอิน เทอรเน็ต คุณภาพความเร็วอินเตอรเน็ตป 2552” นั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหาร โดยที่ แ พทย ไ ม ไ ด เ ป น โดยที่ ม าของโครงการนี้ เ นื่ อ งจากทาง และยา(อย.) ได ต รวจสอบการนำเข า ผู จ า ยยา เพราะอาจ สบท. ได รั บ เรื่ อ งร อ งเรี ย น และการจำหน า ย พร อ มเก็ บ ตั ว อย า ง เกิ ด อั น ตรายร า ยแรง ตั้ ง แต เ ดื อ นม.ค.- มิ . ย. 2552 ส า ห ร า ย อ บ แ ห ง ส ง ต ร ว จ ที่ ก ร ม ทั้ ง จากการได รั บ ยา จำนวน 622 เรื่ อ ง เป น เรื่ อ ง วิ ท ยาศาสตร ก ารแพทย เพื่ อ วิ เ คราะห ปลอม ซึ่ ง อาจเป น เกี่ ย วกั บ อิ น เตอร เ น็ ต ถึ ง 90% หา DNA ของสิ่ ง มี ชี วิ ต และพิ สู จ น ว า อั น ตรายถึ ง ขั้ น เสี ย ซึ่งเรื่องที่รองเรียนเปนเรื่องของ เป น พลาสติ ก หรื อ ไม โดยตรวจสอบ ชีวิต รวมถึงการไดรับ ประสิ ท ธิ ภ าพของความเร็ ว ส า ห ร า ย อ บ แ ห ง ที่ ว า ง จ ำ ห น า ย ใ น ยาที่ ไ ม เ หมาะสมต อ ร า งกาย ซึ่ ง จะส ง อินเตอรเน็ตที่ไมเปนไปตามที่ผู ทองตลาดจำนวน 5 ยี่หอ ซึ่งจากการ ผลใหเกิดการดื้อยา ใหบริการโฆษณา จุดมุงหมายของการ สองกลองจุลทรรศนเพื่อดูลักษณะทาง ยาตานไวรัสดังกลาวจัดเปนยา สำรวจข อ มู ล นี้ เพื่ อ ให ผู ป ระกอบการ กายภาพ ปรากฏว า สามารถเห็ น เซลล ควบคุ ม พิ เ ศษ และมี เ งื่ อ นไขให ใ ช นำข อ มู ล มาปรั บ ปรุ ง สาหร า ยได อ ย า งชั ด เจน เฉพาะโรงพยาบาลหรื อ สถานพยาบาล คุ ณ ภาพการให บ ริ ก าร ซึ่ ง ยื น ยั น ไ ด ว า เ ป น จะไม มี จ ำหน า ยในร า นขายยาทั่ ว ไป แก ผู บ ริ โ ภค ซึ่ ง หากมี สาหรายจริง โดยกระทรวงสาธารณสุ ข ได มี ก าร ผู ป ระกอบการรายได มี อย. แนะผูบริโภค กระจายยาตานไวรัส (โอเซลทามิเวียร) ข อ ร อ งเรี ย นเกิ น กว า ควรเลือกซื้อผลิตภัณฑที่ ไปยั ง โรงพยาบาลและคลิ นิ ก ที่ เ ข า ร ว ม 50% ก็จะแจงให กทช. มี ฉ ลากภาษาไทย ระบุ โครงการเทานั้น ดำเนิ น การต อ ไป แต รายละเอียดครบถวน ย้ำ เพื่อใหพัฒนาบริการไมใชเพื่อปดการให ผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารที่ ผ า นการตรวจสอบ 25 สิงหาคม 2552 บริการ” จาก ดาน อย. ปลอดภัยแนนอน เชิญรวมทดสอบความไวเน็ต เร็ว ผู บ ริ โ ภคสามารถเข า ทดสอบ จริงหรือแคคำโฆษณา ความเร็ ว อิ น เทอร เ น็ ต ที่ ตั ว เองใช ผ า น สธ. รับกลับไปใชชื่อ “พ.ร.บ. สถาบั น คุ ม ครองผู บ ริ โ ภคใน เว็บไซตไดที่ www.speedtest.or.th คุมครองผูเสียหายฯ” ตามเดิมหลัง กิจการโทรคมนาคม (สบท.) จับมือกับ ซึ่ ง ระบบจะทดสอบความเร็ ว ของผู ใ ห เจรจาเครือขายภาคประชาชน สมาคมผู ดู แ ลเว็ บ ไทย บริการรายนั้นทันที และเก็บขอมูลไวที่ สธ. มอบคำมั่นกับภาคประชาชน เ ป ด โ ค ร ง ก า ร เซิรฟเวอร จากนั้นจะนำ ยืนยันใชชื่อ พ.ร.บ.คุมครองผูเสียหาย “สป ด เทสต ” (Speed ผ ล ที่ ไ ด ม า ท ำ ก า ร ทางการแพทย ต ามเดิ ม พร อ มรั บ Test) เพื่ อ เก็ บ ข อ มู ล ประมวลและแจ ง ผลให พิ จ ารณาเรื่ อ งสั ด ส ว นคณะกรรมการ เรื่องความเร็วในการใช ทราบในวั น ที่ 30 พ.ย. ตองเทาเทียม สวนเรื่องตั้งเปนองคกร บริการอินเตอรเน็ต ซึ่ง 2552 อิ ส ระให ค รม.ตั ด สิ น ใจ เร ง รมว.สธ. ©ÅÒ´«×éÍ ปที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552 3
  • 6. แพทยและคนไขไดอีกดวย เรื่องการตั้ง สำนั ก งานกองทุ น คุ ม ครองผู เ สี ย หาย “ปฏิญญาเชียงราย” จากการรับบริการสาธารณสุขที่ควรเปน มาตรการคุมครอง  อิ ส ร ะ แ ล ะ เ รื่ อ ง สั ด ส ว น ข อ ง ค ณ ะ กรรมการตามร า ง พ.ร.บ.ดั ง กล า ว ที่ สทธดานโทรคมนาคม ิ ิ  พบว า มี ไ ม เ ท า เที ย มกั น ระหว า ง สภา วิชาชีพกับภาคประชาชน จึงตองการให สถาบั น คุ ม ครองผู บ ริ โ ภคใน มีการพิจารณาแกไข กิ จ การโทรคมนาคม (สบท.) สภา ทำข อ สรุ ป ยื่ น เรื่ อ งให ส ำนั ก งานคณะ หลังจากการประชุมหารือ นาย องคกรผูบริโภคอาเซียน (Southeast กรรมการกฤษฎีกาพิจารณาตอไป พิ เ ชฐ ได ก ล า วสรุ ป เห็ น ด ว ยว า ให Asian Consumer Council) สหพันธ เครือขายภาคประชาชน ไดแก เปลี่ยนชื่อราง พ.ร.บ.กลับไปใชชื่อตาม ผูบริโภคสากล และมูลนิธิเพื่อผูบริโภค เครือขายผูไดรับความเสียหายทางการ รางเดิม สวนประเด็นการตั้งสำนักงาน จั ด ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ ค รื อ ข า ย อ ง ค ก ร แพทย มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ผู บ ริ โ ภค มู ล นิ ธิ กองทุ น คุ ม ครองผู เ สี ย หายจากการรั บ คุ ม ค ร อ ง ผู บ ริ โ ภ ค ใ น กิ จ ก า ร เข า ถึ ง เอดส ชมรมเพื่ อ นโรคไต ฯลฯ บริ ก ารสาธารณสุ ข ซึ่ ง ร า งเดิ ม ไม มี โทรคมนาคมแห ง ภู มิ ภ าคอาเซี ย นขึ้ น กวา 100 คน ไดเดินทางเขากระทรวง ความชั ด เจนว า จะตั้ ง เป น องค ก รใน เมื่ อ วั น ที่ 30 กรกฎาคม ณ โรงแรม สาธารณสุ ข เพื่ อ ไปเรี ย กร อ ง ติ ด ตาม ลั ก ษณะใด ดั ง นั้ น ในการพิ จ ารณาชั้ น ดุ สิ ต ไอส แ ลนด รี ส อร ท จั ง หวั ด และหาข อ สรุ ป เรื่ อ งร า ง “พ.ร.บ. กฤษฎีกาจึงใหสำนักงานดังกลาวขึ้นกับ เชี ย งราย ถื อ เป น เวที ก ารประชุ ม ด า น คุ ม ครองผู เ สี ย หายจากการบริ ก าร กรมสนั บ สนุ น บริ ก ารสุ ข ภาพ (สบส.) การคุมครองผูบริโภคดานโทรคมนาคม สาธารณสุข พ.ศ. ...” โดยมีนายพิเชฐ แตเมื่อภาคประชาชนเห็นวา สำนักงาน ของกลุ ม อาเซี ย นที่ จั ด ขึ้ น เป น ครั้ ง แรก พั ฒ นโชติ ที่ ป รึ ก ษารั ฐ มนตรี ว า การ น า จะเป น องค ก รอิ ส ระหรื อ อยู ภ ายใต โดยเปนเวทีคูขนานกับการประชุมสภา กระทรวงสาธารณสุ ข เป น ประธานใน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ห น ว ย ง า น ก ำ กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร การเจรจา (สปสช.) ดังนั้นจะทำขอสรุปใหกับนาย โทรคมนาคมอาเซียน ครั้งที่ 15 ที่ไทย โดยก อ นหน า นี้ เมื่ อ วั น ที่ 25 วิ ท ยา แก ว ภราดั ย รั ฐ มนตรี ว า การ เปนเจาภาพ มิ.ย. น.ส.สารี อองสมหวัง เลขาธิการ กระทรวงสาธารณสุ ข นำเรื่ อ งนี้ ใ ห ที่ การประชุ ม ดั ง กล า ว มี ผู แ ทน มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ผู บ ริ โ ภค พร อ มด ว ย นาง ประชุ ม ครม. ทบทวนว า จะจั ด ตั้ ง เป น จากองคกรเครือขายคุมครองผูบริโภค ปรี ย านั น ท ล อ เสริ ม วั ฒ นา ประธาน องคกรอิสระไดหรือไม ถาไมไดจะมีมติ ในกิจการโทรคมนาคมจาก 8 ประเทศ เครื อ ข า ยผู เ สี ย หายทางการแพทย ได ให อ ยู ภ ายใต สปสช.หรื อ สบส.ถื อ ร ว มรายงานสถานการณ แ ละแบ ง ป น เขาพบนายวิทยา แกวภราดัย รัฐมนตรี เปนการตัดสินใจของ ครม. ประสบการณดานการคุมครองผูบริโภค ว า การกระทรวงสาธารณสุ ข เพื่ อ ส ว นเรื่ อ งองค ป ระกอบคณะ ในกิจโทรคมนาคม ไดแก ออสเตรเลีย ร อ ง เ รี ย น ถึ ง ป ญ ห า ข อ ง ก า ร กรรมการ ที่ ป ระชุ ม ยั ง คงมี ค วามเห็ น ฮ อ งกง อิ น โดนี เ ซี ย ฟ ลิ ป ป น ส เปลี่ยนแปลงแกไข พ.ร.บ. ฉบับนี้ ซึ่ง ที่ ขั ด แ ย ง กั น แ ต มี แ น ว โ น ม ที่ จ ะ ใ ช มาเลเซีย สิงคโปร สเปน และไทย โดย ในการพิ จ ารณาของกฤษฎี ก ามี ก าร ข อ กำหนดตามร า งเดิ ม คื อ ให มี ส ถ า น ก า ร ณ ป ญ ห า ที่ ส ำ คั ญ ข อ ง แกไขในประเด็นที่เปนสาระสำคัญของ ตัวแทนภาคประชาชนและตัวแทนสภา โทรคมนาคมที่ ก ระทบต อ ผู บ ริ โ ภคคื อ กฎหมายโดยเป น ไปตามที่ ตั ว แทน วิชาชีพฝายละ 3 คน แตเนื่องจากการ ป ญ หาการไกล เ กลี่ ย ข อ ขั ด แย ง ระบบ กระทรวงสาธารณสุ ข นำเสนอ ทั้ ง ใน ประชุมหารือครั้งนี้ ไมมีตัวแทนภายใน การเรี ย กเก็ บ ค า บริ ก ารที่ ไ ม เ ที่ ย งตรง ส ว นของชื่ อ ร า ง พ.ร.บ. ที่ ถู ก เปลี่ ย น สภาวิชาชีพอยูดวย จึงมีสิทธิที่จะแสดง การโทร.และส ง ข อ ความรบกวน การ เป น ร า ง พ.ร.บ.เสริ ม สร า งความ ความเห็ น ต อ คณะกรรมการกฤษฎี ก า ละเมิดสิทธิความเปนสวนตัว การไมรู สั ม พั น ธ อั น ดี ใ น ร ะ บ บ บ ริ ก า ร ได โดยทั้ ง นี้ จ ะทำสรุ ป ข อ เสนอต า งๆ เทาทันกฎหมาย ความไมเสมอภาคใน สาธารณสุ ข พ.ศ. ... ซึ่ ง ไม ต รงกั บ ของที่ประชุมให รมว.สาธารณสุข เสนอ การเข า ถึ ง บริ ก าร และผลกระทบต อ เจตนารมณ ข องกฎหมาย ที่ ต อ งการ ไปยังกฤษฎีกาอีกครั้ง สุ ข ภาพที่ เ กิ ด จากการใช โ ทรคมนาคม ช ว ยเหลื อ ในเรื่ อ งการดู แ ลชดเชย เปนตน ผลจากการประชุมทำใหไดราง ผูเสียหายจากระบบบริการสาธารณสุข ปฏิญญาเชียงรายที่มีเนื้อสำคัญดังนี้ ซึ่ ง จะช ว ยลดการฟ อ งร อ งระหว า ง ©ÅÒ´«×éÍี่ 103 กันยายน 2552 4 ปที่ 16 ฉบับที
  • 7. (1) ทำงานอยางแข็งขันและตอเนื่อง รวมกับภาคีในกิจการ สูมาตรฐาน รถโดยสารสาธารณะ  โทรคมนาคม (2) กำหนดมาตรฐานพื้นฐานวาดวย การคุมครองผูบริโภคในกิจการ โทรคมนาคม (3) ตระหนักวากิจการโทรคมนาคม เปนบริการจำเปนพื้นฐาน (4) ตระหนักวาการคุมครองผูบริโภค เปนพิมพเขียวของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน โดยใชแนวทาง ในงานสัมมนาระดับชาติ เรื่อง นายอิฐบูรณ อนวงษา หัวหนา “คนเปนศูนยกลาง” อุ บั ติ เ หตุ จ ราจร ครั้ ง ที่ 9 ที่ ไ บเทค ศู น ย พิ ทั ก ษ สิ ท ธิ ผู บ ริ โ ภค มู ล นิ ธิ เ พื่ อ (5) จัดตั้งหนวยงานกิจการ บางนา เมื่อวันที่ 21 ส.ค. 52 ไดมีการ ผูบริโภค ไดพูดถึงปญหาของผูประสบ โทรคมนาคมในภูมิภาคโดยใช จั ด เวที แ ลกเปลี่ ย นในหั ว ข อ “เวที ภั ย ซึ่ ง นำไปสู ก ารฟ อ งคดี ที่ มี อ ยู เ ป น กลไกที่จัดตั้งขึ้นแลวเปนหลัก ติ ด ตามนโยบาย : สู ม าตรฐาน รถ จำนวนมาก ซึ่งมีที่มาจากหลายสาเหตุ (6) จัดประชุมทุกป โดยจัดทำ โดยสารสาธารณะ” โดยมี ผู ที่ ท ำงาน ทั้งการเตะถวงดึงเวลาจากบริษัทรถและ ประเด็นรณรงครวมกันทุกป โดย เกี่ยวของกับเรื่องการพัฒนาและแกไข บริษัทประกัน การไมไดรับคาชดเชยที่ เฉพาะอยางยิ่งผลกระทบของการ ปญหาเรื่องรถโดยสารสาธารณะหลาย เปน ธรรมและการที่ ผู เ สีย หายไม ทราบ ใชบริการโทรคมนาคมตอสุขภาพ ทานรวมเปนวิทยากร สิ ท ธิ ข องตั ว เอง โดยปกติ ผู โ ดยสาร หรือการบริโภคอยางยั่งยืน ผศ.ดร.สมประสงค สัตยมัลลี จะได รั บ ความคุ ม ครองจาก พ.ร.บ. (7) ดำเนินการวิจัย/สำรวจ จากสำนักวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย คุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 เปรียบเทียบระหวางประเทศใน เทคโนโลยี สุ ร นารี นำเสนอป ญ หา แต ก็ จ ะมี ก ารจำกั ด วงเงิ น การรั ก ษา กิจการโทรคมนาคม โดยมีหัวขอ มาตรฐานตัวถังรถที่มักมีโครงสรางที่ไม พยาบาล ผูปวยหนักหรือทุพพลภาพที่ หลักคือการเขาถึงเทาเทียม ระบบ แข็ ง แรงพอ ซึ่ ง มั ก เป น สาเหตุ ท ำให ต อ งรั ก ษาต อ เนื่ อ งมั ก ถู ก ผลั ก ภาระให การจายเงินลวงหนา (Pre-paid) ผูเสียชีวิตเมื่อเกิดอุบัติเหตุ เชน เกาอี้ ไปอยูในระบบสุขภาพอื่นๆ หรือกรณีที่ ระบบการเรียกเก็บคาบริการที่ หลุ ด หลั ง คายุ บ ยางรถไม มี ด อกยาง มี คู ก รณี ชั ด เจนก็ ต อ งรอการพิ สู จ น เที่ยงตรง และความปลอดภัย ไม มี เ ข็ ม ขั ด นิ ร ภั ย ขณะที่ ค นขั บ รถ ความผิ ด เสี ย ก อ น ทำให ก ระบวนการ (8) สรางเว็บไซตเพื่อการแบงปน โดยสารสาธารณะมั ก ขาดคุ ณ สมบั ติ ชดเชยค า เสี ย หายล า ช า หากเสี ย ชี วิ ต ขอมูลเกี่ยวกับการคุมครองผู และขาดการฝกอบรมที่ดี ขณะที่สภาพ ก็ ไ ด รั บ เงิ น เพี ย ง 1 แสนบาท ซึ่ ง เป น บริโภคในกิจการโทรคมนาคม ถนนในหลายจุ ด ของประเทศก็ ส ร า ง อัตราต่ำมากในปจจุบัน (9) เรียกรองใหรัฐบาลในกลุม ความสุมเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุดวย ทางออกที่เห็นวาเหมาะสม คือ ประเทศอาเซียนเขารวมและ ดาน ดร.สุเมธ องกิตติกุล จาก การผลั ก ดั น พ.ร.บ.กองทุ น สิ น ไหม สนับสนุนกิจกรรมขององคกร สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ทดแทนผู ป ระสบภั ย จากรถ พ.ศ. … ปกปองผูบริโภคในกิจการ นำเสนอประเด็นเรื่องนโยบายการกำกับ ขึ้นมาทดแทน พ.ร.บ. ฉบับเดิม ซึ่งจะ โทรคมนาคม ดู แ ลมาตรฐานความปลอดภั ย รถ ชวยเรื่องการจายเงินคาสินไหมทดแทน (10) ผลักดันใหบริษัทผูใหบริการ โดยสารสาธารณะในเชิงเศรษฐศาสตร ตามจริง ดวยขั้นตอนที่รวดเร็วและเปน โทรคมนาคมใชหลักบริการที่มี ในการควบคุ ม การให บ ริ ก าร ควบคุ ม ระบบ ลดความซ้ ำ ซ อ นและลดค า ใช ความรับผิดชอบตอสังคม ราคา ซึ่ ง เมื่ อ รั ฐ เข า มาดู จั ด การตรงนี้ จ า ยในการบริ ห ารจั ด การ ลดภาระ อยางจริงจังก็นาจะชวยพัฒนาศักยภาพ ประชาชน และลดภาระความยุงยากใน การให บ ริ ก ารและความปลอดภั ย ของ การเขาถึงสิทธิของผูประสบภัย รถโดยสารใหเพิ่มขึ้นได ©ÅÒ´«×éÍ ปที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552 5
  • 8. ศศิวรรณ ปริญญาตร อยูคกกินอร่อยกว่าอยูโรงพยาบาล ่ ุ ่ นั ก วิ จั ย จากมหาวิ ท ยาลั ย เกลื อ น้ อ ยกว่ า และไม่ นิ ย มใช้ วิ ธี ก าร บอร์ น มั ธ ในอั ง กฤษ ได้ ท ำการ ทอดหรือผัดด้วย สำรวจเปรี ย บเที ย บคุ ณ ภาพของ ศาสตราจารย์ จอห์ น เอ็ ด อาหารที่โรงพยาบาลของรัฐเตรียมให้ เวิ ร์ ด ส์ หนึ่ ง ในผู้ ร่ ว มวิ จั ย บอกว่ า โ ร ง พ ย า บ า ล ข อ ง รั ฐ ถู ก ตั ด ผู้ ป่ ว ยกั บ อาหารที่ เ รื อ นจำเตรี ย มให้ เรื่ อ งนี้ เ รื่ อ งใหญ่ ร้ อ ยละ 40 ของ งบประมาณนั้ น งบอาหารจะเป็ น กั บ นั ก โทษ ผลปรากฏว่ า อาหาร คนไข้จะมีภาวะทุพโภชนาการเพราะ อย่างแรกที่ถูกตัด แต่ทั้งนี้โฆษกจาก สำหรั บ นั ก โทษนั้ น มี คุ ณ ภาพสู ง กว่ า อาการเจ็ บ ป่ ว ยทำให้ ค นไข้ มี ค วาม กรมสุขภาพของอังกฤษเขายืนยันว่า อาหารสำหรับผู้ป่วย อยากอาหารน้ อ ยลง คนเหล่ า นี้ จึ ง คนไข้ ส่ ว นใหญ่ ก็ พ อใจกั บ อาหารที่ ทั้งนี้นักวิจัยเขาบอกว่าอาหาร ควรจะได้ รั บ ความใส่ ใ จเป็ น พิ เ ศษ โรงพยาบาลจัดให้(เป็นไปได้ว่าคนไข้ ในเรื อ นจำ จั ด ว่ า เป็ น อาหารที่ มี จากโรงพยาบาลในการกระตุ้ น ให้ ยั ง ไม่ เ คยรั บ ประทานอาหารใน คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการดี เ ยี่ ย ม เป็ น รับประทานอาหารดีๆ ให้มากขึ้น เรือนจำ ... แต่ก็น่าจะไม่จำเป็นต้อง อาหารที่ ไ ม่ เ น้ น ไขมั น แถมยั ง ใส่ แต่ ที ม วิ จั ย กลั บ พบว่ า เวลาที่ เข้าไปลองนะ) ใครมีรถเก่า เอามาขาย ว่ า นั้ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ เ อาไปจอดที่ เ ต็ น ท์ ไ หน รั ฐ บาลในโครงการนี้ คื อ คนที่ ตั้ ง ใจ แต่ จ ะถู ก เอาไปเข้ า เครื่ อ งบดให้ เ ป็ น จะซื้อรถใหม่อยู่แล้วแม้จะไม่ได้เงิน เศษเหล็กนั่นเอง ช่วยเหลือจากรัฐก็ตาม ซึ่งหมายความ ผู้ ค นให้ ค วามสนใจโครงการ ว่า ในจำนวนรถที่ ค าดว่ า ขายได้ 2 ห นึ่ ง ใ น แ ผ น ก า ร ก ร ะ ตุ้ น นี้กันล้นหลาม งบที่เตรียมไว้(ประมาณ ล้านคันตามโครงการเอื้ออาทรที่ว่านี้ เศรษฐกิ จ ของรั ฐ บาลเยอรมนี ไ ด้ แ ก่ 2,600 ล้านยูโรหรือ 129,000 ล้าน มีถึง 1.5 ล้านคันที่ยังไงๆ ก็ขายได้ การประกาศรับซื้อรถเก่า (กว่า 9 ปี) บาท) ก็ถูกใช้หมดไปภายในวันเดียว อยู่แล้ว ในราคาคันละ 2,500 ยูโร (ประมาณ แ ถ ม ยั ง มี ค น ม า ล ง ชื่ อ ต่ อ คิ ว ไ ว้ เรื่ อ งนี้ รั ฐ บาลออกมาแก้ ต่ า ง 124,000 บาท) ล่วงหน้าอีก 15,000 คนด้วย ว่ า เจตนาของโครงการคื อ การ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ค ลั ง ข อ ง แต่ ไ ม่ รู้ ว่ า แผนนี้ จะกระตุ้ น กระตุ้ น ให้ เ กิ ด การใช้ จ่ า ยเดี๋ ย วนี้ เยอรมนีบอกว่านี่คือแผนการกระตุ้น เศรษฐกิจของเยอรมนีได้จริงหรือไม่ ไม่ ใ ช่ ปี ห น้ า ซึ่ ง เยอรมนี เ ตรี ย ม ให้ผู้คนตัดสินใจลงทุนซื้อรถใหม่ที่มี งานวิจัยจากสถาบัน Halle Economic งบประมาณในการกระตุ้นเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพในการใช้เชื้อเพลิงมาก Research Institute ระบุว่า 3 ใน ไว้ ทั้ ง หมด 5,000 ล้ า นยู โ ร หรื อ ขึ้นมาใช้แทนคันเก่า ส่วนเจ้ารถเก่าที่ 4 ของคนที่ เ อารถเก่ า มาขายให้ ประมาณ 247,000 ล้านบาท ฉลาดซื้อี่ 103 กันยายน 2552 6 ปีที่ 16 ฉบับที
  • 9. ความสุขทีคณตัดไม่ได้ ่ ุ ประเทศภู ฏ านออกมาเตื อ น ก็หมายถึงว่าจะไม่ได้บุญไปด้วย ประชาชนเรื่องการตัดต้นไม้มาทำธง คนภูฏานเชื่อว่า ลมจะพัดพา ใ น ก า ร อ ธิ ษ ฐ า น ใ ห้ กั บ ผู้ ล่ ว ง ลั บ เอากระแสดีๆ จากสัญลักษณ์ตันตระ เพราะเหตุ ว่ า มั น จะไม่ ดี ต่ อ พื้ น ที่ ป่ า ที่เขียนอยู่บนธงสีเหลือง เขียว แดง อั น เขี ย วชอุ่ ม และ “ความสุ ข มวล ขาว และน้ำเงิน ซึ่งเป็นตัวแทนของ ส ำ คั ญ กั บ ค ว า ม สุ ข ม ว ล ร ว ม รวม” ของประเทศ ธาตุทั้ง 5 ออกไป และจะต้องมีการ ประชาชาติของประชากรซึ่งปัจจุบันมี ชาวพุ ท ธที่ นี่ นิ ย มปั ก ธงเพื่ อ ปักธงทั้งหมด 108 ธง เมื่อมีคนเสีย อยู่ 700,000 คนนั้นระบุไว้ชัดเจนว่า ความเป็ น สิ ริ ม งคลแก่ ชี วิ ต หรื อ เพื่ อ ชีวิต จะต้องมีพื้นที่ป่าไม้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ อุทิศให้กับผู้ที่ล่วงลับให้สามารถค้น รั ฐ บาลภู ฏ านต้ อ งคิ ด หนั ก 60 ของพื้นที่ประเทศ พบทางไปสู่โลกหน้าได้ เชื่อกันว่ายิ่ง เ พ ร า ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ชั ก ช ว น ใ ห้ ในระหว่ า งเดื อ นมิ ถุ น ายนปี ปักมากยิ่งดี และที่สำคัญคือต้องใช้ ประชาชนเปลี่ ย นจากธงไม้ ม าใช้ ธ ง 2007 ถึ ง มิ ถุ น ายน 2008 ภู ฏ านมี ธงใหม่ทุกครั้งด้วย ถ้าใครใช้ธงเก่าก็ เหล็ ก หรื อ ธงรี ไ ซเคิ ล ได้ ในขณะที่ การตัดต้นไม้ 60,000 ต้น เพื่อนำมา จะดูเหมือนไม่พยายามเท่าที่ควร ซึ่ง รั ฐ ธรรมนู ญ ของภู ฏ านซึ่ ง ให้ ค วาม ใช้ในการทำธงดังกล่าว น้ำหนักไม่ลด อดได้เงินคืน ตามที่ แ จ้ ง ความจำนงไว้ กั บ ทางร้ า น การปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมการใช้ ลู ก ค้ า ก็ จ ะไม่ ไ ด้ เ งิ น คื น หรื อ ได้ ส่ ว น ชีวิตและการรับประทานอาหารของผู้ ลดตามที่เสนอไว้ในตอนแรก เข้ารับบริการ ทำให้เป็นการยากที่จะ เช่ น รายหนึ่ ง ที่ ร้ อ งเรี ย นเข้ า ชี้ ล งไปว่ า ความล้ ม เหลวในการลด เดี๋ ย วนี้ ค ลิ นิ ก ลดน้ ำ หนั ก ใน มาบอกว่ า เธอต้ อ งจ่ า ยเงิ น 24,800 น้ำหนักนั้นเป็นความผิดของใคร ฮ่องกงหันมาชักชวนผู้บริโภคให้เข้า เหรียญฮ่องกง (ประมาณ 108,000 ปั จ จุ บั น สภาผู้ บ ริ โ ภคของ รับบริการด้วยข้อเสนอว่าพวกเขาจะ บาท) ต่อคอร์สลดน้ำหนักที่ใช้เวลา ฮ่ อ งกงมี เ รื่ อ งร้ อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ ได้ บ ริ ก ารฟรี ถ้ า สามารถลดความ 2 เดื อ น และเธอจะได้ เ งิ น คื น ถ้ า คลินิกลดความอ้วนมากขึ้น แค่ช่วง อ้วนได้จริงและช่วยเป็นพรีเซ็นเตอร์ สามารถลดน้ ำ หนั ก ได้ 15 ปอนด์ 8 เดื อ นแรกของปี นี้ ก็ มี ก รณี ให้กับทางคลินิกด้วย (ประมาณ 7 กิโลกรัม) ภายในระยะ ร้องเรียนที่เกี่ยวกับเงื่อนไขคืนเงินที่ แต่มันไม่ง่ายอย่างที่คิด ก่อน เวลาดังกล่าว แต่เธอก็ไม่ได้เงินก้อน ว่านี้กว่า 31 กรณี (มากกว่าปีที่แล้ว อื่ น ผู้ ที่ ป ระสงค์ จ ะใช้ บ ริ ก ารลด นั้ น คื น มา เพราะไม่ ส ามารถลด 7 เท่ า ) จากเรื่ อ งร้ อ งเรี ย นทั้ ง หมด น้ำหนักกับทางคลินิกพวกนี้ต้องจ่าย น้ำหนักได้ตามเป้าที่ตั้งไว้ 86 เรื่องที่เกี่ยวกับบริการของคลินิก เงินเต็มจำนวนล่วงหน้าไปก่อน เพื่อ เ รื่ อ ง นี้ จั ด ก า ร ย า ก จ ริ ง ๆ ลดความอ้วน แสดงถึ ง ความมุ่ ง มั่ น ว่ า ต้ อ งการจะ เพราะแม้ จ ะมี ก ารดู สั ญ ญาโดย คำแนะนำที่ทางการฮ่องกงให้ ลดน้ ำ หนั ก จริ ง ๆ และมี ก ารทำ ละเอี ย ดแล้ ว ก็ ต าม แต่ ใ นสั ญ ญาก็ กั บ ผู้ บ ริ โ ภคขณะนี้ คื อ ให้ ร ะลึ ก ไว้ สัญญาตั้งเป้าหมายการลดไว้ด้วย ระบุ ไ ว้ แ ล้ ว ว่ า การรั ก ษาอาจไม่ เสมอว่าใดๆ ในโลกล้วนไม่ฟรี ถ้าพลาดเป้าไม่สามารถลดได้ ประสบความสำเร็ จ เสมอไป ขึ้ น อยู่ ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552 7
  • 10. “สร้างภาพ” ได้ ไม่ถอว่าหลอกกัน ื กลุ่ ม ดั ง กล่ า วบอกว่ า การ โฆษกขององค์ ก รที่ ค วบคุ ม ตกแต่ ง หรื อ เปลี่ ย นแปลงภาพเพื่ อ ดูแลเรื่องมาตรฐานการโฆษณา (ซึ่ง ทำให้คนดูดีขึ้นนั้น มันหมายถึงการ ตั้งขึ้นโดยอุตสาหกรรมการโฆษณา) ที่ สั ง คมคาดหวั ง ใน “ภาพลั ก ษณ์ ที่ บอกว่ า ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งไปห้ า มกั น ให้ เป็นไปไม่ได้” และเทคนิคการลบไฝ วุ่นวายเพราะปีที่แล้วมีเรื่องร้องเรียน ฝ้า หรือรอยย่นบนใบหน้านั้นอาจจะ ดังกล่าวเพียง 5 กรณีเท่านั้น ทำให้ บ รรดาเด็ ก ผู้ ห ญิ ง เสี ย ความ ที่สำคัญเขาบอกว่า ใครๆ ก็ มั่นใจในตนเอง ในขณะที่ภาพสาวๆ รู้อยู่แล้ว(จริงหรือ?) ว่าภาพโฆษณา ที่ผอมเกินเหตุก็อาจทำให้เด็กๆ เป็น เหล่านี้มีการใช้เทคนิคช่วยทั้งนั้น องค์ ก รเฝ้ า ระวั ง โฆษณาของ โรคที่เกิดจากความผิดปกติทางการ อังกฤษออกมายืนยันว่าจะไม่สั่งห้าม กินมากขึ้นด้วย การใช้เทคนิค “สร้างภาพ” ให้บุคคล ดาราหลายคนก็ เ คยออกมา ที่ปรากฏตัวบนหน้านิตยสารดูดีเกิน พู ด ถึ ง การใช้ เ ทคนิ ค เหล่ า นี้ เคท จริง วิ น สเล็ ท ไม่ พ อใจที่ นิ ต ยสาร GQ กลุ่ ม เสรี นิ ย มประชาธิ ป ไตย ทำให้เธอขายาวขึ้นและผอมเกินจริง ได้ อ อกมาเรี ย กร้ อ งให้ มี ก ารห้ า มใช้ ในรูปที่ขึ้นปก ในขณะที่นักร้องสาว เทคนิคต่างๆ ในการตกแต่งรูปภาพ เคลลี่ คล้ากสัน ก็เคยถูก “ลดไซส์” ของบรรดาคนดัง หรือนางแบบนาย บนปกของนิ ต ยสารอเมริ กั น ฉบั บ แ บ บ ที่ ป ร า ก ฏ บ น ห น้ า นิ ต ย ส า ร หนึ่ ง มาแล้ ว เช่ น กั น แม้ แ ต่ คี ร่ า เพราะมั น ทำให้ เ ด็ ก ๆ เกิ ด ความ ไนท์ลี่ย์ นางเอกจากเรื่องคิงอาเธอร์ กั ง วลในเรื่ อ งรู ป ร่ า งหน้ า ตาของ ก็ เ คยพู ด ถึ ง หน้ า อกที่ ดู เ หมื อ นเป็ น ตนเอง และขณะเดียวกันก็เรียกร้อง ของเธอในโปสเตอร์ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ให้ โ ฆษณาสำหรั บ ผู้ ใ หญ่ นั้ น มี ค ำ ภาพยนตร์ เ รื่ อ งดั ง กล่ า วนั้ น “ไม่ ใ ช่ เตือนทำนอง “ภาพนี้ผ่านการตกแต่ง ของชั้นแน่ๆ” ด้วยเทคนิค” อยู่ด้วย ฉลาดซื้อี่ 103 กันยายน 2552 8 ปีที่ 16 ฉบับที
  • 11. กองบรรณาธิการ ทางสำหรับคนพิการ สังคมไทยพร้อมแค่ไหน “ ” ความพิการ เกิดขึ้นกับคนเราได้หลายสาเหตุ ทั้งพิการมาตั้งแต่ กำเนิด พิการเพราะความแก่ชรา พิการด้วยโรคภัยไข้เจ็บ และพิการ เนื่องจากได้รับอุบัติเหตุ ซึ่งแน่นอนว่าการยอมรับในความพิการของ ตัวเองไม่ใช่เรื่องง่าย โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ที่ไม่ได้พิการมาตั้งแต่กำเนิด เพราะการจะทำใจยอมรับพร้อมกับปรับตัวให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่าง ปกติ ในขณะที่สภาวะร่างกายมีบางอย่างที่สูญเสียไปไม่ใช่เรื่องง่าย กำลังใจจากทั้งของตัวเองและคนรอบข้างคือแรงกระตุ้นสำคัญ ที่จะ ทำให้ผู้พิการกลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติอีกครั้ง เมื่อผู้พิการมีกำลังใจพร้อมที่จะกลับมาใช้ชีวิตในสังคม ทีนี้ก็ เป็นหน้าที่ของสังคมว่ามีความพร้อมเพื่อผู้พิการแล้วหรือยัง? ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552 9
  • 12. คนพิการในประเทศไทยมีอยูประมาณ 1.9 ล้านคน ่ คิดเป็นร้อยละ 2.9 ของประชากรทังหมด ้ ประกอบด้วยผูทพการมาตังแต่กำเนิด ร้อยละ 12.8 ้ ี่ ิ ้ พิการจากการชราภาพ ร้อยละ 39.1 พิการจากโรคภัย ไข้เจ็บ ร้อยละ 36.2 และพิการจากอุบตเหตุ ร้อยละ ั ิ 14.6 * ทีมา: รายงานสุขภาพคนไทย 2551 ่ เมื่อสังคมไม่พร้อม คนพิการก็ไม่กล้าฝัน ประสิทธิภาพในการดำเนินชีวิตเช่นคนปกติอาจถูก จะเป็น พรบ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ลดทอนลงไปเพราะความพิการ แต่ผู้พิการก็ยังต้องใช้ชีวิต 2550, พรบ.ฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 และ ประจำวันไม่ต่างจากคนปกติทั่วๆ ไป คนพิการยังคงต้อง กฎกระทรวงเรื่องสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้ ทำงาน ต้องตื่นแต่เช้าไปเจอรถติด ต้องไปซื้อของที่ตลาด พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 ใจความ ไปกินข้าว ไปเที่ยวกับเพื่อนกับครอบครัว หรือแม้แต่ไปดู สำคัญของข้อกำหนดเหล่านี้ต้องการบอกให้ทราบว่าคน หนัง ฟังเพลง ซึ่งกิจกรรมที่ว่ามาอาจเป็นเรื่องปกติธรรมดา พิการมีสิทธิในการเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกจาก ของคนทั่วไป เพราะจะไปไหนมาไหนก็มีทางให้เลือก สาธารณประโยชน์ต่างๆ ที่ทางภาครัฐมีหน้าที่จัดหามาให้ มากมาย สะดวกบ้างไม่สะดวกก็ว่ากันไป แต่สำหรับคน เช่นเดียวกันกับที่คนปกติได้รับ แต่เมื่อมองกลับมาใน พิการ การจะเดินทางไปไหนที มองหาตัวเลือกยากจริงๆ ความเป็นจริง จะเห็นว่าผู้พิการยังคงถูกจำกัดสิทธิในหลาย ยิ่งเป็นผู้พิการที่ใช้เก้าอี้รถเข็นหรือรถวีลแชร์ยิ่งมีปัญหา ด้าน โดยเฉพาะเรื่องพื้นฐาน อย่างเรื่องสิ่งอำนวยความ เวลาเดินทาง เพราะระบบขนส่งมวลชนบ้านเราไม่เอื้อต่อ สะดวกในการเดินทาง ทั้งในส่วนของทางเท้า และระบบ ผู้พิการ ขนส่งมวลชน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นส่วนสำคัญในการช่วยให้ ความจริงในบ้านเรามีข้อกำหนดหลายข้อ ที่มี ผู้พิการสามารถออกมาใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติและอิสระ เนื้อหาพูดถึงการดูแลและให้ความสำคัญกับผู้พิการ ไม่ว่า ฉลาดซื้อ 10 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552
  • 13. Universal Design – การออกแบบที่เป็นประโยชน์กับ ทุกคนในสังคม Universal Design ไม่ได้เป็นแค่คำภาษาอังกฤษ เท่ๆ แต่ว่าเป็นคำที่มีความหมาย ใช้ในการอธิบายแนวคิด การออกแบบทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อม สถานที่ และสิ่งของ เครื่องใช้ต่างๆ เพื่อให้ทุกคนในสังคมใช้ประโยชน์ได้อย่าง เท่าเทียมกัน โดยไม่ให้ความแตกต่างของแต่ละคน ไม่ว่า จะเป็นเรื่องเพศ อายุ และรวมถึงความทุพพลภาพทาง ร่างกายมาเป็นข้อจำกัดในการเข้าถึงและใช้งานได้ไม่เต็ม ประสิทธิภาพ ห้องน้ำ – พื้นภายนอกกับพื้นในห้องน้ำต้องมีระดับเท่ากัน Universal Design จึงเป็นหลักการการออกแบบที่ หรือต่างระดับก็ต้องเป็นทางลาด ที่สำคัญประตูต้องเป็น เอื้อต่อผู้พิการ ผู้สูงอายุ และยังรวมไปถึงกลุ่มผู้ป่วย เด็ก บานเลื่อน ความกว้างต้องไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร และต้อง และผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ เพราะ Universal Design เป็นการ ติดปุ่มสัญญาณฉุกเฉินไว้ด้วย ออกแบบอาคารสถานที่ที่เน้น ให้ทุกอย่างสามารถใช้สอย ประตู – ควรเป็นแบบเลื่อนเพราะใช้แรงน้อยกว่าประตูที่ ได้โดยคนทุกกลุ่ม ใช้ง่าย มีความเสมอภาค ปรับเปลี่ยน เป็นแบบผลัก ยิ่งที่เป็นระบบเซ็นเซอร์เปิด-ปิดอัตโนมัติก็ การใช้งานได้ ปลอดภัย พร้อมทั้งทุ่นแรงขณะใช้งาน ไม่ว่า จะยิ่งดีมาก ความกว้างของประตูควรไม่น้อยกว่า 1.50 จะเป็นเรื่องของ ทางเดิน ประตูทางเข้า บันไดขึ้นลง รวม เมตร ไปถึงห้องน้ำ พื้นผิวต่างสัมผัส – มีประโยชน์สำหรับผู้พิการทางการมอง เห็น ซึ่งควรให้มีพื้นผิวต่างสัมผัสไว้ตาม ทางขึ้น-ลงบันได สิ่งที่ควรมีไว้ให้ผู้พิการ และทางลาด ด้านหน้า-หลังประตู และที่หน้าประตูห้องน้ำ ป้าย – เป็นเครื่องมือพื้นฐานที่ช่วยให้ให้ผู้พิการไปไหนมา ไหนหรือทำอะไรได้ด้วยตัวเอง ซึ่งจะต้องตั้งให้อยู่ในจุดที่ ปัจจุบันสถานที่ต่างๆ พร้อมแค่ไหนสำหรับคนพิการ สามารถมองเห็นได้ชัดเจน สถานที่ราชการ ทางลาด – มีประโยชน์และสำคัญอย่างมาก สำหรับทั้งผู้ที่ ถ้าเป็นเมื่อก่อน สถานที่ราชการมักจะถูกสร้างเป็น ใช้วีลแชร์ ซึ่งเพื่อความปลอดภัย ควรมีความลาดอยู่ที่ 30 อาคารสูงๆ เพราะอาจจะต้องการให้ดูโดดเด่นเป็นสง่า ซึ่ง องศา (*กฎกระทรวงกำหนดไว้ไม่เกิน 45 องศา) แน่นอนไม่มีทางลาดให้ใช้ แต่สมัยนี้สถานที่ราชการหลายๆ ที่จอดรถ – ควรมีสัญลักษณ์แสดงให้ชัดเจนว่าเป็นที่จอด ที่ก็เริ่มมีการปรับปรุง และออกแบบให้เอื้อกับคนพิการมาก รถสำหรับคนพิการ และมีความกว้างพอสมควร ขึ้น ซึ่งคนพิการก็ต้องการติดต่อเรื่องทางราชการไม่ต่างจาก คนปกติ สถานศึกษา ไม่ใช่แค่ผพการทีใช้วลแชร์เท่านันทีได้ประโยชน์จากทาง ู้ ิ ่ ี ้ ่ ถ้าหากภาครัฐหรือคนที่มีอำนาจในการปรับปรุง ลาด เพราะยังมีคนอีกหลายกลุมทีใช้ทางโดยเฉพาะทีอยู่ ่ ่ ่ บนทางเท้า ทังผูปวยทีตองนังอยูบนรถเข็น คนชรา หรือ ้ ้ ่ ่ ้ ่ ่ สถานที่เพื่อคนพิการ อยากจะลงมือปรับปรุงสถานที่สัก แม้แต่คณพ่อ-คุณแม่ทเข็นรถพาลูกเล็กๆ ออกไปเทียว ุ ี่ ่ แห่ง เราขอแนะนำให้เริ่มที่สถานศึกษา สถานศึกษาในที่นี้ แต่ไม่นบรวมคนขับมอเตอร์ไซต์บางคนทีชอบมาใช้ ั ่ หมายถึงสถานศึกษาทั่วๆ ไป ไม่ใช่ที่มีไว้ให้เฉพาะคนพิการ เส้นทางลัดกันบนทางเท้า ซึงทังอันตรายและยังทำให้ ่ ้ เพราะถ้ามีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการในสถาน ทางเท้าชำรุดเร็วขึนอีกต่างหาก ้ ศึกษาทั่วไป นอกจากคนพิการจะได้มีโอกาสทางการศึกษา แล้ว พวกยังได้มีสิทธิได้ใช้ชีวิตในสังคมร่วมกับคนปกติ ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552 11
  • 14. วัด กิจกรรมทางศาสนาส่วนใหญ่มักจะจัดกันในโบสถ์ หรือไม่ก็บนศาลาวัด ซึ่งล้วนแล้วแต่ออกแบบให้เป็นอาคาร สูง ซึ่งแน่นอนว่าเป็นอุปสรรคอย่างยิ่งสำหรับผู้พิการที่ อยากเข้าไปร่วมฟังเทศน์ฟังธรรม หากไม่ขอแรงให้คนอื่น ช่วยพาขึ้นไป ก็ต้องยอมนั่งฟังเทศน์อยู่ข้างล่าง แถมบาง ครั้งผู้พิการยังถูกมองว่าความพิการเป็นเรื่องของบุญบาป ผู้พิการเลยมักถูกดูแคลนเวลาที่อยู่ในวัด ซึ่งความจริงการ สร้างสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เพื่อคนพิการในวัด นอกจากผู้พิการจะได้ใช้แล้ว บรรดาคนเฒ่าคนแก่ก็ได้ใช้ ประโยชน์ตรงนี้ด้วย ตลาด บริเวณพื้นตามตลาดสดส่วนมากจะค่อนข้าง เฉอะแฉะ ซึ่งเป็นอุปสรรคมากๆ สำหรับผู้พิการที่ใช้วีลแชร์ แถมในตลาดจะมีร่องน้ำอยู่ตามทางเดิน ถ้าหากรถวีลแชร์ พลาดตกลงไปก็อาจเกิดอันตราย เรื่องความกว้างก็เป็นอีก ปัญหาสำคัญที่สร้างความลำบากให้ผู้ที่ใช้วีลแชร์ เพราะ ตามตลาดส่วนมากผู้คนจะพลุกพล่าน ยิ่งตลาดดังๆ ถึงขนาดต้องเดินเบียดเสียดกันเลยทีเดียว ซึ่งถ้าเป็นแบบนี้ ผู้พิการที่ใช้วีลแชร์ก็แทบจะหมดสิทธิ ธนาคาร ธนาคารส่วนใหญ่มักสร้างให้ดูยิ่งใหญ่อลังการ และ ชอบสร้างให้เป็นอาคารแบบยกสูง โดยทำชั้นล่างเป็นที่จอด อนาคตข้างหน้า (อาจจะ) มีให้ใช้ รถ ซึ่งก็ต้องเดินขึ้นบันไดหลายขั้นกว่าจะถึงตัวธนาคาร -ลิฟท์ทรถไฟฟ้า BTS ทุกสถานี ภายในปี 2554 ี่ แล้วแบบนี้ผู้พิการที่ใช้วีลแชร์จะมีโอกาสใช้ได้ยังไง แม้ -สัญญาณไฟพูดได้ เพือช่วยผูพการทางสายตาเวลาข้ามถนน ่ ้ ิ ธนาคารส่วนใหญ่จะได้คำชมเรื่องการบริการ พนักงานส่วน -ปรับปรุงทางเท้าใน กทม. โดยคำนึงถึงความสะดวกของผู้ มากยินดีมาช่วยพาผู้พิการขึ้นไป แต่ผู้พิการก็อยากที่จะทำ พิการเป็นหลัก อะไรได้ด้วยตัวเอง ซึ่งเดี๋ยวนี้ก็มีธนาคารในห้างมาเป็นอีก -หากรถเมล์ NGV 4000 คันได้มโอกาสมาวิงในบ้านเรา คน ี ่ หนึ่งทางเลือก ก็อาจพอช่วยผู้พิการที่ใช้วีลแชร์ได้บ้างแต่ก็ พิการก็มสทธิได้ใช้เจ้ารถเมล์พวกนี้ เพราะองค์กรคนพิการ ี ิ เรียกร้องให้รถเมล์ทจะนำเข้ามาต้องมีสงอำนวยความสะดวก ี่ ิ่ ไม่ใช่ทั้งหมด สำหรับคนพิการด้วย เช่น พืนชานต่ำ ราวจับ ทีลอคล้อรถ ้ ่ ็ โรงภาพยนตร์ วีลแชร์ โดยต้องมีอยูในรถเมล์ทกสาย ครอบคลุมทุก ่ ุ ผู้พิการเสียค่าตั๋วชมภาพยนตร์เท่ากับคนปกติ แต่ เส้นทาง แทบไม่มีโอกาสได้เลือกที่นั่งในมุมที่อยากนั่ง เพราะเวลาผู้ พิการวีลแชร์ไปดูหนังก็มักถูกจัดให้ไปนั่งอยู่ตรงที่ว่างริม สุดของแถว หรือไม่ก็ที่ว่างตรงกลางโรงภาพยนตร์ แถมใน ขอขอบคุณ ผู้ให้ข้อมูล …รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ หน่วยวิจัย โรงหนังก็แทบไม่มีทางลาดไว้ให้ใช้ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและผู้พิการ คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ฉลาดซื้อ 12 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 103 กันยายน 2552