SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 106
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เรื่อง ความร้ อน


   สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   1
สิ่ งทีจะศึกษาในบทนีได้ แก่ หน่ วยของ
             ่            ้
พลังงานความร้ อน ระดับความร้ อน การ
เปลียนสถานะและความร้ อนแฝง และกฎ
    ่
ของก๊ าซ


                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   2
ความร้ อน
    ความร้ อนเป็ นพลังงานรู ปหนึ่ง ซึ่งแปลง
รู ปมาจากพลังงานรู ปอืน เช่ น ความร้ อนที่
                       ่
แปลงรู ปมาจากการเผาไหม้ พลังงานความ
ร้ อนของเตารีดไฟฟาซึ่งแปลงรู ปมาจาก
                   ้
พลังงานไฟฟา  ้
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   3
และพลังงานความร้ อนเองก็สามารถ
แปลงไปเป็ นพลังงานรู ปแบบอืน ๆ ได้
                                 ่
เช่ นกัน เช่ น เครื่องจักรกลไอนา
                               ้



              สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   4
หน่ วยของพลังงานความร้ อน
 พลังงานความร้ อนมีหน่ วยเป็ น จูล(Joule:J)
เช่ นเดียวกับพลังงานในรู ปแบบอืน ่
 และยังมีหน่ วยอืน ๆ อีกที่นิยมใช้ กน เช่ น
                  ่                 ั
แคลอรี (Calory : cal) และบีทยู (British
                               ี
Thermal Unit : BTU)
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   5
โดย พลังงาน 1 แคลอรี คือพลังงานความ
ร้ อนทีทาให้ นามวล 1 กรัม มีอณหภูมเิ พิม
          ่     ้               ุ       ่
ขึน 1 องศาเซลเซียส
   ้
        และ พลังงาน 1 บีทยู คือพลังงานความ
                         ี
 ร้ อนทีทาให้ นามวล 1 ปอนด์ มีอณหภูมเิ พิม
            ่     ้                ุ      ่
 ขึน 1 องศาฟาเรนไฮต์
     ้
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   6
โดย   1 cal = 4.186 J
      1 BTU = 252 cal = 1055 J




           สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   7
อุณหภูมิ
    ถ้ าเราทราบมวลและความเร็วของแต่ ละ
โมเลกุลเราก็สามารถหาพลังงานจลน์ เฉลีย  ่
ของก๊ าซได้ โดยกาหนดให้ อุณหภูมเิ ป็ น
ปริมาณทีแปรผันตรงกับความเร็วเฉลียของ
            ่                       ่
ก๊ าซ
                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   8
การทีเ่ ราจะบอกว่ าวัตถุร้อนมากหรือน้ อย
เท่ าใด เราสามารถบอกได้ ด้วยอุณหภูมของ ิ
วัตถุน้ัน ซึ่งวัตถุทมระดับความร้ อนมากจะมี
                    ี่ ี
อุณหภูมสูง ถ้ าเอาวัตถุทมอณหภูมสูงไปสั มผัส
            ิ                ี่ ี ุ ิ
กับวัตถุทมอุณหภูมตา พลังงานความร้ อนจะ
              ่ี ี       ิ ่
ถูกถ่ ายโอนไปจากทีอณหภูมสูงไปทีอณหภูมตา
                  ุ่    ิ         ุ่  ิ ่
จนกระทังวัตถุท้งสองมีอณหภูมเิ ท่ ากัน
          ่    ั      ุ
                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   9
เครื่องมือทีใช้ วดอุณหภูมิ
                      ่ ั
เทอร์ มอมิเตอร์
    เทอร์ มอมิเตอร์ ทางานโดยอาศัยสมบัติ
 ของสารทีเ่ ปลียนแปลงตามอุณหภูมิ เช่ น
                ่
 สารขยายตัวคือมีปริมาตรเพิมขึน เมื่อ
                                 ่ ้
 อุณหภูมสูงขึน หรือ การเปลียนสี ของสาร
          ิ ้                  ่
 ตามอุณหภูมิ
                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   10
สเกลของอุณหภูมิ
1. สเกลองศาเซลเซียส(celsius:     oc หรือบางที

เรียกองศาเซนติเกรต สเกลนีกาหนดว่ าที่
                              ้
ความดัน 1 บรรยากาศ จุดเยือกแข็งของนา      ้
เป็ น 0   oc และจุดเดือดของนาเป็ น 100 oc
                            ้
และระยะระหว่ างจุดเดือดกับจุดเยือกแข็ง
ของนาแบ่ งออกเป็ น 100 ส่ วนเท่ า ๆ กัน
        ้
                   สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   11
สเกลของอุณหภูมิ
2. สเกลฟาเรนไฮต์ สเกลนีกาหนดว่ าที่
                            ้
จุดเยือกแข็งของนาเป็ น 32
                  ้           oF และ

จุดเดือดของนาเป็ น 212
               ้         oF และระยะ

ระหว่ างจุดเดือดกับจุดเยือกแข็งของนา ้
แบ่ งออกเป็ น 180 ส่ วนเท่ า ๆ กัน
               สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   12
สเกลของอุณหภูมิ
3. สเกลโรเมอร์ สเกลนีกาหนดว่ าที่
                       ้
จุดเยือกแข็งของนาเป็ น 0
                    ้       oR และ

จุดเดือดของนาเป็ น 80
               ้         oR และระยะ

ระหว่ างจุดเดือดกับจุดเยือกแข็งของนา้
แบ่ งออกเป็ น 80 ส่ วนเท่ า ๆ กัน
               สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   13
สเกลของอุณหภูมิ
4. สเกลเคลวิน(Kelvin : K) เป็ นหน่ วยขององศา
สั มบูรณ์ จึงไม่ ต้องใช้ คาว่ าองศานาหน้ าโดย
อุณหภูมตาทีสุดคือ 0 K โดยได้ กาหนดว่ าจุดเยือก
          ิ ่ ่
แข็งของนาเป็ น 273.16 K และจุดเดือดของนา
             ้                                ้
เป็ น 373.16 K และระยะระหว่ างจุดเดือดกับจุด
เยือกแข็งของนาแบ่ งออกเป็ น 100 ส่ วนเท่ า ๆ กัน
                  ้
                   สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   14
การเปลียนหน่ วยการวัดอุณหภูมิ
         ่
 X - M.P.    = C-0
B.P. - M.P.        100
               = F-0
                   180
              = R-0
                    80
               = K - 273
                     100
             สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   15
C = F - 32 = R = K - 273
5     9      4      5




         สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   16
ความจุความร้ อนจาเพาะ
     การจะทาให้ สารมีอณหภูมเิ พิมขึน โดย
                       ุ        ่ ้
ปกติจะต้ องให้ ความร้ อนแก่ สาร อัตราส่ วน
ของพลังงานทีให้ ต่ ออุณหภูมทเี่ พิมขึน
               ่             ิ ่ ้
เรียกว่ าความจุความร้ อน
  ค่ านีจะขึนอยู่กบมวลของสารนั้น ๆ
        ้ ้       ั
                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   17
DQ                                J
          C=                   หน่ วย
             DT                                K
  และสาหรับสารหนึ่ง ๆ ค่ าความร้ อนต่ อ
มวลหนึ่งหน่ วย มีค่าเฉพาะ เรียกว่ า
ความจุความร้ อนจาเพาะ
              1 DQ                  J
        c             หน่ วย
             m DT               kg  K
                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา       18
หรือ c = C / m
        DQ = mcDT
เมื่อ C คือความจุความร้ อน
       c คือความจุความร้ อนจาเพาะ
      DQ คือความร้ อนทีเปลียนแปลง
                        ่ ่
      DT คืออุณหภูมทเปลียนแปลง
                    ิ ี่ ่
              สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   19
ตัวอย่ าง 1 จงหาพลังงานความร้ อนทีทาให้
                                    ่
เหล็กมวล 200 g ที่ 20 oC มีอุณหภูมเพิมขึน
                                  ิ ่ ้
เป็ น 60 oC กาหนดให้ ความจุความร้ อน

จาเพาะของเหล็กเท่ ากับ 450 J/kg K


                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   20
ตัวอย่ าง 2 เครื่องทานาร้ อนทีใช้ ก๊าซหุงต้ ม
                          ้     ่
เป็ นเชื้อเพลิง เมื่อต้ ม 1000 kg ให้ ร้อนขึน
                                            ้
จาก 20    oC เป็ น 70oC โดยไม่ มการสู ญเสี ย
                                  ี
ความร้ อนอืนใด กาหนดให้ ความจุความร้ อน
                ่
จาเพาะของนาเป็ น 4.2 kJ/kg K และก๊ าซหุง
                  ้
ต้ มที่ใช้ มีค่าความร้ อน 50,000 kJ / kg
จะต้ องใช้ ก๊าซหุงต้ มกีกโลกรัม
                            ่ิ
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   21
สมบัติเกียวกับการขยายตัวของของแข็ง
          ่
1. ของแข็งต่ างชนิดกัน ถ้ าเดิมมีความยาว
เท่ ากัน เมื่อได้ รับความร้ อนและร้ อนขึน
                                        ้
เท่ ากัน จะมีส่วนขยายเพิมขึนไม่ เท่ ากัน
                             ่ ้
2. ของแข็งชนิดเดียวกัน ถ้ าเดิมมีความยาว
เท่ ากัน เมื่อได้ รับความร้ อนและร้ อนขึน ้
เท่ ากัน จะมีส่วนขยายเพิมขึนเท่ ากัน
                              ่ ้
                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   22
สถานะของสาร
1. ของแข็ง แรงดึงดูดระหว่ างโมเลกุลมีค่า
มากทาให้ โมเลกลอยู่ใกล้ กน และรูปทรงของ
                 ุ       ั
ของแข็งไม่ เปลียนแปลงมากเมื่อมีแรงขนาด
               ่
พอสมควรมากระทา

                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   23
สถานะของสาร
2. ของเหลว แรงดึงดูดระหว่ างโมเลกุลมีค่า
น้ อย โมเลกลจึงเคลือนทีไปมาได้ บ้าง ทาให้
           ุ       ่ ่
รู ปทรงของของเหลวเปลียนแปลงไปตาม
                        ่
ภาชนะทีบรรจุ
         ่

                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   24
สถานะของสาร
3. ของก๊ าซ แรงดึงดูดระหว่ างโมเลกุลมีค่า
น้ อยมาก จนโมเลกลของก๊ าซอยู่ห่างกันมาก
                  ุ
และเคลือนทีได้ สะเปะสะปะ ฟุ้ งกระจายเต็ม
       ่ ่
ภาชนะทีบรรจุ
          ่

                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   25
การเปลียนสถานะของสาร
            ่
T( oC)

 100


   0
  10                                      t
            สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา       26
สาหรับนา พบว่ าทีความดัน 1 atm
                 ้         ่
นาแข็งมีจุดหลอมเหลวที่ 0
   ้                         0C และความ

ร้ อนที่ทาให้ นาแข็ง 1 kg หลอมเหลวหมด
               ้
เป็ น ความร้ อนแฝงของการหลอมเหลว
(Lm) โดย
        Lm = 333 kJ/kg = 333 J/g
                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   27
และ ทีความดัน 1 atm นาจะเดือดที่
             ่                 ้
100  0C โดยความร้ อนทีทาให้ นา 1 kg กลาย
                       ่     ้
เป็ นไอหมดเป็ น ความร้ อนแฝงของการ
กลายเป็ นไอ (Lv) โดย

     Lv = 2256 kJ/kg = 2256 J/g
                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   28
ถ้ า L เป็ นความร้ อนแฝงของการเปลียน
                                        ่
สถานะของสาร เราจะได้ ว่าความร้ อนทีทาให้
                                      ่
สารมวล m เปลียนสถานะหมดคือ
                   ่
                     Q = mL
       และความร้ อนแฝงต่ อหนึ่งหน่ วยมวล
 เรียกว่ า ความร้ อนแฝงจาเพาะ
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   29
คายความร้ อน
                                                     เดือด
                                                               ก๊าซ
          หลอมเหลว
                       ของเหลว
                                                    ควบแน่ น
ของแข็ง
            แข็งตัว

                รับความร้ อน

                      สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา                     30
ความร้ อนแฝงจาเพาะของการควบแน่ น
เท่ ากับ ความร้ อนแฝงจาเพาะของการกลาย
เป็ นไอ
     ความร้ อนแฝงจาเพาะของการแข็งตัว
เท่ ากับ ความร้ อนแฝงจาเพาะของการหลอม
เหลว
               สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   31
การเปลียนสถานะของสาร
            ่
T( oC)

 100


   0
  10                                      t
            สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา       32
ตัวอย่ าง 3จงหาปริมาณความร้ อนที่ทาให้ นา้
แข็งมวล 250 g อุณหภูมิ 0 oC กลายเป็ นนา้
หมด และสุ ดท้ ายนา 10 g เดือดกลายเป็ นไอ
                  ้




                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   33
การถ่ ายโอนความร้ อน
   ความร้ อนจะเกิดการถ่ ายโอนจากวัตถุทมี
                                      ี่
อุณหภูมสูงกว่ าไปสู่ วตถุทมอณหภูมตากว่ า
       ิ              ั ี่ ี ุ   ิ ่
โดยการถ่ ายโอนความร้ อนมี 3 รู ปแบบคือ



                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   34
1. การนาความร้ อน
    เป็ นการถ่ ายโอนความร้ อนผ่ านตัวนา
ความร้ อน โดยโมเลกุลไม่ ได้ เคลือนที่
                                ่
 2. การพาความร้ อน
    เป็ นการถ่ ายโอนความร้ อนโดยอาศัยการ
เคลือนทีของโมเลกุลของสารเป็ นพาหะนา
     ่ ่
ความร้ อนจากทีหนึ่งไปสู่ อกทีหนึ่ง
                  ่        ี ่
                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   35
3. การแผ่ รังสี ความร้ อน
    เป็ นการถ่ ายโอนความร้ อนโดยไม่ ต้อง
อาศัยตัวกลาง
    โดยทัวไปวัตถุทมการแผ่ รังสี ได้ ดจะมี
            ่        ี่ ี            ี
 การดูดกลืนรังสี ได้ ดด้วย วัตถุทสามารถ
                        ี        ี่
 แผ่ รังสี และดูดกลืนรังสี ทมากระทบได้ ท้ง
                            ี่           ั
 หมดเรียกว่ า วัตถุดา
                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   36
สาหรับสารในสถานะก๊ าซ โมเลกุลทั้ง
หลายสามารถเคลือนทีได้ อย่ างอิสระ และ
                 ่ ่
ฟุ้ งกระจายเต็มภาชนะทีบรรจุ และจาก
                       ่
การทดลองพบว่ าปริมาตรของก๊ าซขึนกับ ้
ความดัน อุณหภูมและมวลของก๊ าซ
                  ิ
     สมการทีแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ าง
            ่
ปริมาณทั้งหลายนี้ เรียกว่ ากฎของก๊ าซ
               สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   37
ก๊ าซแบ่ งได้ เป็ น 3 ชนิดคือ
1. ก๊ าซอะตอมเดี่ยว โมเลกุลของก๊ าซชนิดนี้
จะประกอบด้ วยอะตอมเพียงอะตอมเดียว
เช่ น ก๊ าซฮีเลียม (He) ,นีออน (Ne),อาร์ กอน
(Ar) เป็ นต้ น

                   สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   38
2. ก๊ าซอะตอมคู่ โมเลกุลของก๊ าซชนิดนี้
 จะประกอบด้ วยอะตอม 2 อะตอม
 เช่ น ก๊ าซ ไฮโดรเจน(H2) ,ไนโตรเจน(N2)
 ออกซิเจน(O2) เป็ นต้ น
3. ก๊ าซหลายอะตอม โมเลกุลของก๊ าซชนิด
นีจะประกอบด้ วยอะตอม 3 อะตอมขึนไป
   ้                                ้
เช่ น ก๊ าซ โอโซน(O3) ,มีเทน(CH4)
                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   39
เลขอโวกาโดร (NA)
    คือจานวนอะตอมของคาร์ บอน 12 (C-12)
ซึ่งรวมกันได้ 12 กรัม
 สาหรับสารชนิดเดียวกันทีมจานวนโมเลกุล
                            ่ ี
รวมกันได้ NA จะเรียกว่ าเป็ น 1 โมล(mol)
      NA   = 6.02 x 10 23 โมเลกลต่ อโมล
                               ุ
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   40
ดังนั้น ถ้ าก๊ าซ n โมล จะมีจานวน
โมเลกุล(N) เป็ น n เท่ าของ NA
                  N = nNA
     หรือ n = N        N
                         A


               สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   41
มวลของก๊ าซชนิดต่ าง ๆ จานวน 1 โมล
เรียกว่ า มวลโมลาร์ (M) ของก๊ าซ ถ้ า m
เป็ นมวลของ 1 โมเลกุล จะได้ ว่า
             M = m NA



               สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   42
กฎของบอยล์ (Boyle’s law)
   โรเบิร์ต บอยล์ พบว่ า สาหรับก๊ าซในภาชนะ
ปิ ด ถ้ าอุณหภูมิ (T) ของก๊ าซคงตัว ปริมาตร
(V) ของก๊ าซจะแปรผกผันกับความดัน(P)
ของก๊ าซ หรือ V  1 เมื่อ T คงตัว
                       P
        หรือ PV = ค่ าคงตัว
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   43
กฎของชาร์ ลส์ (Charles’s law)
   ชาร์ ลส์ พบว่ า สาหรับก๊ าซในภาชนะปิ ด
ถ้ า ความดัน(P) ของก๊ าซคงตัว ปริมาตร
(V) ของก๊ าซจะแปรผันตรงกับ อุณหภูมิ (T)
ของก๊ าซ หรือ V  T เมื่อ P คงตัว
                   V = ค่ าคงตัว
          หรือ T
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   44
สาหรับก๊ าซปริมาณเดียวกัน เมื่อนากฎของ
บอยล์ และกฎของชาร์ ลส์ มาพิจารณาร่ วมกัน
จะได้ ว่า
  เมืออุณหภูมคงตัว V 
      ่       ิ           1
                          P
  เมื่อความดันคงตัว V  T
             ดังนั้น V  T
                                              P
                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา       45
PV = ค่ าคงตัว
                   T
   จากสมการสรุปได้ ว่า สาหรับก๊ าซปริมาณ
หนึ่ง ถ้ าทาให้ มความดัน ปริมาตร และอุณห-
                 ี
ภูมเิ ปลียนไปจากเดิมแต่ ค่า T
         ่                   PV ยังคงเท่ าเดิม
                 P1V1 P2V2
                   T1 = T
                           2

                   สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   46
จากสมการ จะเห็นว่ า ถ้ าปริมาตรของก๊ าซ
คงตัว จะได้ ความสั มพันธ์ ระหว่ างความดัน
                    P1      P2
กับอุณหภูมเิ ป็ น T = T
                     1       2
    P = ค่ าคงตัว
    T
                  กฎของเกย์ ลูสแซก
                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   47
ตัวอย่ าง 4 ยางรถยนต์ บรรจุอากาศ 0.03 m3

มีความดัน 2 atm จะต้ องสู บอากาศทีมี่
ความดัน 1 atm เข้ าไปเท่ าไร เพือทาให้
                                ่
ความดันเพิมเป็ น 3 atm โดยอุณหภูมและ
          ่                           ิ
ปริมาตรของยางคงที่


                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   48
ตัวอย่ าง 5 กระบอกสู บอันหนึ่งมีพนที่
                                 ื้
หน้ าตัด100 cm 2 บรรจุอากาศไว้ ภายในที่

ความดันบรรยากาศ และมีปริมาตร v ถ้ านา
มวล 300kg มากดลูกสู บไว้ ปริมาตรภายใน
กระบอกสู บจะลดลงเหลือเท่ าใด


                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   49
ตัวอย่ าง 6 ถังก๊ าซใบหนึ่งทนแรงดันได้
6 atmขณะทีเ่ กิดเพลิงไหม้ อุณหภูมเิ พิม่
จาก 27  0C เป็ น 2270C เดิมนั้นก๊ าซในถัง

มีความดัน 3 atm อยากทราบว่ าความดัน
ในถังขณะเกิดเพลิงไหม้ เป็ นเท่ าไร
และจะเกิดการระเบิดหรือไม่
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   50
ตัวอย่ าง 7 ภาชนะใบหนึ่งมีปริมาตรคงที่
ภายในบรรจุก๊าซไว้ 2 mg ทีความดัน 200
                          ่
ปาสคาลและอุณหภูมิ 27   0C ถ้ าเราให้ พลัง

งานความร้ อนแก่ ภาชนะ 5,000 J จงหา
ความดันภายในภาชนะใบนี้ ให้ ค่าความจุ
ความร้ อนจาเพาะของก๊ าซเท่ ากับ 2 kJ/kg K
                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   51
จากการทดลอง โดยใช้ ก๊าซหลายชนิด
                       PV = ค่ าคงตัว
พบว่ าค่ าคงตัวในสมการ T
แปรผันโดยตรงกับจานวนโมล (n) ของก๊ าซ
       PV                              PV
          n                               nR
        T                               T
โดย R เป็ นค่ าคงตัว เรียก ค่ าคงตัวของก๊ าซ
            R = 8.31 J/mol K
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา    52
จะได้    PV  nRT

    สมการนีเ้ รียกว่ า กฎของก๊ าซอุดมคติ
ก๊ าซทีมีการเปลียนแปลงสอดคล้ องกับ
       ่         ่
สมการนีเ้ รียกว่ า ก๊ าซอุดมคติ


                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   53
ถ้ าแทน n = N/NA
    จะได้   PV 
                 N
                    RT
                 NA
เนื่องจาก R และ NA ต่ างเป็ นค่ าคงตัวของ
ก๊ าซทุกชนิด ดังนั้น จะเป็ นค่ าคงตัว
                            R
                           N
ค่ าคงตัวนีเ้ รียกว่ า ค่ าคงตัวโบลต์ ซมันน์
                                          A




ใช้ สัญลักษณ์ kB โดย kB = 1.38 x 10      -23

                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   54
ได้ ว่า PV = NkBT
สมการ PV = nRT และ PV = NkBT ใช้
อธิบายการทดลองต่ าง ๆ เกียวกับก๊ าซได้
                           ่
และยังทานายความดัน ปริมาตร จานวน
โมล จานวนโมเลกุลของก๊ าซได้ ด้วย จึง
ได้ รับการยอมรับให้ เป็ นกฎเรียกว่ า
กฎของก๊ าซ
               สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   55
ตัวอย่ าง 8ภาชนะทีมีปริมาตร 4.15 m
                  ่               3

บรรจุก๊าซทีมความดัน 6x10
           ่ ี           4 N/m2 ที่

อุณหภูมิ 27 0C ถ้ าปล่ อยให้ ก๊าซนีรั่วออก
                                   ้
จากภาชนะจนความดันเหลือ 1/4 ของ
ความดันเดิมและอุณหภูมเิ ท่ าเดิม
จงหาจานวนโมลของก๊ าซทีรั่วออกไป
                         ่
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   56
ตัวอย่ าง 9 กระบอกสู บลูกหนึ่งบรรจุก๊าซ
ฮีเลียม 1 g ทีอุณหภูมิ 10
              ่           0C ความดัน

1.6 atm ถ้ าพืนทีหน้ าตัดของกระบอกลูกสู บ
                ้ ่
เป็ น 100 cm 2ความยาวของกระบอกสู บจาก

ก้ นกระบอกถึงลูกสู บเป็ นเท่ าไร


                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   57
ตัวอย่ าง 10 ก๊ าซในถังขนาด 10 ลิตร มี
ความดัน 2 เท่ าของบรรยากาศ ทีอุณหภูมิ
                                    ่
 15 oC รั่วไหลออกไปจานวนหนึ่ง ความดัน

ลดลงเป็ น1.5 เท่ าของบรรยากาศ จานวน
โมเลกุลของก๊ าซทีเ่ หลือจะเป็ นกีเ่ ท่ าของเดิม
หากอุณหภูมคงที่
              ิ
                    สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   58
1. บอลลูนลูกหนึ่งอยู่ในสภาพแบนแฟบ
บรรจุบอลลูนด้ วยก๊ าซฮีเลียมจากถังก๊ าซ
ซึ่งมีความดัน 5,100 kN/m     2 จนกระทัง
                                      ่
บอลลูนมีปริมาตร 100 m     3 ปรากฏว่ าความ

ดันภายในถังเท่ ากับความดันในบอลลูน
เท่ ากับ 100 kN/m 2 สมมติอุณหภูมคงทีตลอด
                                  ิ ่
จงหาว่ าก๊ าซมีปริมาตรเท่ าใด
                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   59
2. ตู้อบมีความจุ 9 m3 อากาศภายในตู้อบมี

อุณหภูมิ 27 oC ต่ อมาอุณหภูมของอากาศ
                            ิ
ภายในตู้อบเพิมขึนเป็ น 27
             ่ ้          oC อากาศภาย

ในตู้อบจะไหลออกไปข้ างนอกกี่ m3 ถ้ า

ความดันภายในตู้อบมีค่าคงที่


                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   60
3. รถโดยสารคันหนึ่งจุผู้โดยสารได้ 60ที่นั่งเริ่มออก
เดินทางตอนเช้ าขณะทีอุณหภูมิของอากาศและผิว
                        ่
ถนนเป็ น 27   oC ก่ อนออกเดินทางตรวจสอบยางทุก

เส้ น มีความดันเกจ2.5x105N/m2 เมื่อถึงปลายทาง
เป็ นเวลาบ่ าย อุณหภูมิของผิวถนนเป็ น 57oC คนขับ
รถทราบว่ ายางซึมเล็กน้ อย แต่ ยงคงถือว่ าปริมาตร
                               ั
ไม่ เปลียนแปลง เมื่อถึงปลายทางจะคานวณความดัน
        ่
เกจของยางรถยนต์ ได้ เท่ าไร
                     สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   61
แบบจาลองของก๊ าซ
  แนวความคิดเบืองต้ น คือก๊ าซประกอบด้ วย
                   ้
โมเลกุลทีเ่ คลือนทีด้วยความเร็วสู งตลอดเวลา
                ่ ่
ความดันทีผนังเกิดจากการทีโมเลกุลของก๊ าซ
            ่               ่
ชนผนังและกระดอนกลับอย่ างต่ อเนื่อง
  ความคิดนีได้ รับการสนับสนุนจากปรากฏ
              ้
การณ์ การเคลือนทีแบบบราวน์
                 ่ ่
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   62
การเคลือนทีของอนุภาค
       ่ ่
      สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   63
จากการสั งเกตการเคลือนทีของอนุภาค
                          ่ ่
ทาให้ ได้ แนวความคิดว่ า โมเลกุลของก๊ าซ
เป็ นการเคลือนทีอย่ างไร้ ระเบียบ การเปลียน
             ่ ่                         ่
ทิศการเคลือนทีของโมเลกุลของก๊ าซ เกิดจาก
            ่ ่
การชนกันเองของอนุภาค หรือชนกับผนัง


                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   64
การเคลือนทีของโมเลกุลของก๊ าซทีบรรจุ
           ่ ่                     ่
ในภาชนะนอกจากจะชนกันเองแล้ วยังชนกับ
ผนังภาชนะทีบรรจุก๊าซด้ วย ถ้ าการชนดัง
              ่
กล่ าวเป็ นการชนแบบไม่ ยดหยุ่น พลังงาน
                         ื
จลน์ รวมของระบบจะสู ญเสี ยระหว่ างการชน
 จะทาให้ การชนแต่ ละครั้ง พลังงานจลน์ ของ
ระบบลดลง โดยจะลดลงไปเรื่อย ๆ จนเป็ น
                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   65
จนเป็ นศูนย์ ในทีสุด ซึ่งหมายความว่ าทุก
                 ่
โมเลกุลจะหยุดนิ่ง ทาให้ โมเลกุลของก๊ าซ
ไม่ สามารถฟุ้ งกระจายได้ เต็มภาชนะอีกต่ อ
ไปแต่ เหตุการณ์ ดงกล่ าวนีไม่ เกิดขึน ดังนั้น
                   ั      ้         ้
เราสามารถสรุปได้ ว่า การชนของโมเลกุล
เป็ น การชนแบบยืดหยุ่น
                   สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   66
แบบจาลองของก๊ าซ
1. ก๊ าซประกอบด้ วยอนุภาคเล็ก ๆ ทีเ่ รียกว่ า
โมเลกลเป็ นจานวนมาก โดยปริมาตรของ
        ุ
โมเลกุลมีค่าน้ อยมากเมือเทียบกับปริมาตร
                       ่
ก๊ าซทั้งหมด


                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   67
แบบจาลองของก๊ าซ
2. แต่ ละโมเลกุลของก๊ าซมีการเคลือนที่
                                 ่
อย่ างไร้ ระเบียบ การเปลียนทิศการเคลือนที่
                         ่           ่
ของโมเลกุลเกิดจากการชนกันเองระหว่ าง
โมเลกุลของก๊ าซหรือชนกับผนังภาชนะ
เท่ านั้น

                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   68
แบบจาลองของก๊ าซ
3. การชนของโมเลกุลของก๊ าซเป็ นการชน
แบบยืดหย่ ุน




               สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   69
ทฤษฎีจลน์ ของก๊ าซ
1. ความดันตามทฤษฎีจลน์ ของก๊ าซ
   ความดันของก๊ าซเกิดจากการทีโมเลกุลของ
                              ่
ก๊ าซชนผนังภาชนะ ค่ าของความดันจะขึนกับ
                                     ้
อัตราเร็วทีโมเลกุลชนผนังภาชนะ และจานวน
           ่
ครั้งทีโมเลกุลชนผนังภาชนะ
       ่

                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   70
เมือโมเลกุลของก๊ าซซึ่งมีมวล m อัตราเร็ว
      ่
v ชนผนังภาชนะ เนื่องจากการชนเป็ นแบบ
ยืดหยุ่นซึ่งพลังงานจลน์ รวมมีค่าคงตัว ดังนั้น
หลังการชนโมเลกุลจะกระดอนออกมาจาก
ผนังด้ วยความเร็วเท่ าเดิม


                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   71
โมเมนตัมก่ อนชน = mv
โมเมนตัมหลังชน = -mv
ดังนั้น
โมเมนตัมทีเ่ ปลียนไป = (-mv) - mv
                ่
                     = -2mv

               สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   72
ในการชนผนัง โมเลกุลมีโมเมนตัมเปลียนไป ่
แสดงว่ ามีแรงจากผนังมากระทากับโมเลกุล
ซึ่งมีขนาดเท่ ากับแรงทีโมเลกุลกระทากับผนัง
                         ่
แต่ มีทิศตรงข้ าม แรงนีจะเท่ ากับโมเมนตัมของ
                       ้
โมเลกุลทีเ่ ปลียนไปในหนึ่งหน่ วยเวลา
               ่
                     DP
                  F
                     Dt
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   73
พิจารณาการชนกลับไปกลับ
                 มาเวลาทีใช้ ในการชนทีผนัง
                           ่             ่
        l        เดิมแต่ ละครั้ง คือเวลาที่ใช้
ในการเคลือนทีจากผนังด้ านหนึ่งไปผนังอีก
           ่ ่
ด้ านหนึ่งแล้ วกระดอนกลับมาทีผนังเดิม
                                  ่
จะได้ ว่า              2l
                 Dt 
                                  v
                   สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   74
DP         v
    F     2mv 
       Dt         2l
             2
       mv
    F
        l

             l                           mvx
                                               2
                                      F
                                          l
         l
l
             สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา           75
แรงทีได้ นีเ้ ป็ นแรงเนื่องจากโมเลกุลของ
           ่
ก๊ าซ 1 โมเลกุลกระทากับผนังภาชนะ
   พิจารณาก๊ าซ N โมเลกุลบรรจุในกล่ องรู ป
ลูกบาศก์ มด้านยาวด้ านละ l
              ี
    ถ้ าให้ v1x, v2x, v3x, … , vNx เป็ นความเร็ว
ของโมเลกุลที่ 1, 2, 3, … , N ในแนวตั้งฉาก
กับผนังตามลาดับ
                   สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   76
รวมแรงทั้งหมดของแต่ ละโมเลกุลเข้ าด้ วยกัน
จะได้ แรงลัพธ์ Fx ซึ่งก๊ าซ N โมเลกุลกระทา
กับผนังด้ านหนึ่ง คือ
     Fx  F1x  F2 x  F3 x  ...  FNx
              2            2                       2    2
          mv    mv       mv               mv
     Fx      
              1x
                          2x
                                   ...           3x   Nx
            l     l          l             l
          m 2
     Fx  (v1x  v2 x  v3 x  ...  vNx )
                  2      2             2

          l
                     สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา             77
m N 2
           Fx   vix
               l i 1
ดังนั้นความดันทีผนังด้ านหนึ่งเป็ น
                ่
            m N 2
       Fx      vix
            l i 1
  Px           2
       A      l                             N
                                  m v           2
                                                 ix
                                                       m N 2
                 Px                      i 1
                                             3
                                                        vix
                                            l          V i 1
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา                   78
N                                   N                        N
    m                 m                                          m
Px   vix 2
                  Py   viy 2
                                                             Pz   viz 2

    V i 1            V i 1                                     V i 1
    ค่ าความดันที่แต่ ละผนังจะต้ องเป็ น
               ค่ าเดียวกัน
                  Px = Py = Pz
           N                N                         N

           v
           i 1
                  2
                  ix    v  v
                          i 1
                                        2
                                        iy
                                                      i 1
                                                             2
                                                             iz




                        สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา                         79
y
                  v                                              v  vx  v y  vz
                                        vy
                                                                v  v v v
                                                                 2          2    2         2
                        vx                                  x               x    y         z

    vz
             vx  v y
z    N             N                     N                      N               N

    v  v  v  v
    i 1
             2
             i
                  i 1
                             2
                             ix
                                        i 1
                                                     2
                                                     iy
                                                                i 1
                                                                       2
                                                                       iz    3 v
                                                                                i 1
                                                                                       2
                                                                                       i ...




                                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา                                  80
N       N                  N
                        1 N 2
 vix   viy   viz  3  vi
i 1
     2

        i 1
             2

                i 1
                     2

                          i 1


                1m N 2
 Px  Py  Pz       vi
                3 V i 1
      1 N 2
 v   vi
  2

      N i 1
    1m                                        1
 P    ( Nv 2 )                           PV  m( Nv 2 )
    3V                                        3

            สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา                    81
1
       PV  m( Nv )
                 2

           3
          2 1
      PV  N ( mv )
                 2

          3 2           1
                    Ek  mv 2
          2             2
      PV  NEk
          3
จาก   PV  Nk BT
               3
          E k  k BT
               2
           สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   82
3
              E k  k BT
                   2
  จากสมการจะเห็นว่ า พลังงานจลน์ เฉลีย่
จะขึนอยู่กบอุณหภูมสัมบูรณ์ ของก๊ าซเพียง
     ้     ั         ิ
อย่ างเดียวไม่ ขนกับชนิดของก๊ าซ
                ึ้


                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   83
ตัวอย่ าง 11 จงหาพลังงานจลน์ เฉลียของ
                                  ่
โมเลกุลของก๊ าซที่ 30 o C กาหนดค่ าคงตัว

ของโบลต์ ซมันน์ kB = 1.38 x 10 -23 J/K
         3
    E k  k BT
         2
         3         23
    Ek  1.38 10  303
         2
    Ek  6.2 1021 J
                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   84
2. อัตราเร็วของโมเลกุลของก๊ าซ
   จาก E  k T  mv
           k
               3      1
                       B
                                                         2

               2                          2
  ให้   vrms  v   2
                                       v 2 rms  v 2
        3         1 2
          k BT  mv rms
        2         2
                       3k BT
               v rms 
                2

                        m
                           สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา       85
3k BT
        v   2
                rms   
                         m
                  3(k B N A )T
v   2
        rms     
                    mN A
                  3RT
v   2
        rms     
                   M
                        3RT
         vrms         
                         M

                      สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   86
ตัวอย่ าง 12 จงหา vrms ของโมเลกุลของ
ก๊ าซออกซิเจนทีมอุณหภูมิ 27
                 ่ ี         oC

    M = 32 x 10 -3 kg/mol

    R = 8.31 J/mol K , T = 300 K
                3(8.31)(300)
       vrms             3
                  32 10
             483.4 m / s
                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   87
หลักสาคัญ
   อัตราเร็ว vrms จะไม่ เท่ ากับ v แต่ จะมีค่า
ใกล้ เคียงกัน และ v  v เสมอ rms
                                                2


เราอาจทราบค่ าประมาณของ v ได้ จาก
vrms ซึ่งจะคานวณได้ ง่ายกว่ า


                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา       88
1. จงหาค่ า vrms ของโมเลกุลของ H2              ที่ 27 oc

กาหนดให้ ค่านิจของก๊ าซ (R) = 8 J/mol K
2. จงหาอุณหภูมททาให้ vrms ของ H2 เท่ ากับ
                 ิ ี่
vrms ของ O2 ทีอุณหภูมิ 27
               ่          oc

3. He 2 mol มีปริมาตร 30 ลิตร ทีความดัน
                                ่
16.62 atm และ vrms = 4323.5 m/s จงหาว่ า
แต่ ละโมเลกุลจะมีพลังงานจลน์ เฉลียกีจูล
                                  ่ ่
                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา               89
พลังงานภายในของระบบ
   ระบบ คือองค์ ประกอบของสิ่ งต่ าง ๆ
ทีเ่ ราต้ องการศึกษา เช่ นถ้ าต้ องการศึกษา
การชนกันของวัตถุ 3 ก้ อน ระบบก็คอวัตถุ ื
ทั้ง 3 ก้ อน

                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   90
ในการศึกษาพลังงานของโมเลกุลของ
ก๊ าซในภาชนะ ระบบจะประกอบไปด้ วย
อะไรบ้ าง ?




              สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   91
ในการศึกษาพลังงานของโมเลกุลของ
ก๊ าซในภาชนะ ระบบจะประกอบไปด้ วย
โมเลกุลของก๊ าซทั้งหมดในภาชนะนั้น
   พลังงานของโมเลกลของก๊ าซในระบบ
                     ุ
เรียกว่ า พลังงานภายในระบบ

              สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   92
การหาค่ าพลังงานภายในระบบ
  จากสมการของพลังงานจลน์ เฉลียของ
                               ่
โมเลกุล E  k T
            k
                  3
                               B
                  2
  ให้ U เป็ นพลังงานภายในของระบบที่
ประกอบไปด้ วยก๊ าซ N โมเลกุล จะได้
              3
           U  Nk BT
              2
                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   93
3
          U  Nk BT
             2

 จากสมการ สรุปได้ ว่าพลังงานภายใน
ของระบบแปรผันตรงกับจานวนโมเลกุล
และอุณหภูมสัมบูรณ์ ของก๊ าซ
          ิ


            สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   94
พิจารณาการเคลือนทีของกระบอกสู บ
              ่ ่




            สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   95
เมื่อให้ ความร้ อนแก่ ระบบ
        จากกฎการอนุรักษ์ พลังงาน
      พลังงานความร้ อนทั้งหมดที่
      ให้ กบระบบจะต้ องมีค่าเท่ ากับ
           ั
      ผลรวมของพลังงานภายใน
      ระบบที่เพิมขึนกับงานที่ทา
                 ่ ้
      โดยระบบ
         สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   96
ถ้ าให้ DQ เป็ นพลังงานความร้ อนที่ให้ แก่ระบบ
        DU เป็ นพลังงานภายในระบบที่เพิมขึน
                                         ่ ้
        DW เป็ นงานที่ระบบทา

     จากกฎการอนุรักษ์ พลังงาน สรุ ปได้ ว่า
                DQ = DU + DW




                   สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   97
ตัวอย่ าง 13 ระบบปิ ดรับพลังงานความร้ อน
ไว้ 100 kJ โดยใช้ พลังงานในการทางานของ
ระบบไป 30 kJ ในช่ วงเวลา 50 วินาที
ระบบจะมีพลังงานภายในลดหรือเพิม   ่
เท่ าใด


                 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   98
ตัวอย่ าง 14 ถังปิ ดบรรจุของเหลวชนิดหนึ่ง
ถูกกวนด้ วยใบพัดโดยใส่ งานให้ ใบพัด 5090
kJ ความร้ อนทีไหลออกจากถังสู่ สิ่งแวดล้ อม
                ่
1500 kJ พิจารณาให้ ถงและของเหลวคือ
                       ั
ระบบ จงหาการเปลียนแปลงพลังงานภายใน
                     ่


                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   99
ตัวอย่ าง 15 ก๊ าซภายในกระบอกสู บลูกหนึ่ง
ถูกอัดจนกระทังอุณหภูมเิ ปลียนจาก 27
                 ่            ่       oC

เป็ น 37 oC โดยจะต้ องให้ งานกับก๊ าซ

2.4942 x 10  4 J อยากทราบว่ าก๊ าซจานวนนี้

มีกโมล ถ้ ากระบอกสู บไม่ มการถ่ ายเทความ
    ี่                      ี
ร้ อน
                  สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   100
4. อุณหภูมิ 30 0C เท่ ากับกีองศาฟาเรนไฮต์
                            ่
  และเท่ ากับกีเ่ คลวิน




                    สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   101
5. ถ้ าต้ องการให้ นาแข็งมวล 3kg 0
                    ้              oC

กลายเป็ นไอนาที่ 120
            ้        oC                          ต้ องใช้ พลังงาน
ความร้ อนเท่ าไร




                   สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา                      102
6. ก๊าซปริมาตร 1 ลิตร ความดัน 1 atm ที่ 27 oC

ถูกทาให้ มความดันเพิมขึนเป็ น 1.1 atm และมี
          ี          ่ ้
ปริมาตรเป็ น 1.5 ลิตร ก๊ าซนีจะมีอณหภูมเิ ป็ น
                             ้    ุ
เท่ าใด



                   สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   103
7. ห้ องหนึ่งกว้ าง 10 m ยาว 10 สู ง 4 m
ทีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27
  ่                                    oC

จะมีอากาศกีโมล่
(กาหนดให้ R = 8 J/mol K)



                   สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   104
8. ก๊ าซหนึ่งบรรจุในภาชนะมีปริมาตร
0.05 m ่3 ทีความดัน 105 N/m2 อุณหภูมิ

50 ่oC เมือได้ รับความร้ อนจนมีอณหภูมิ
                                ุ
100  oC จะมีพลังงานจลน์ เฉลียเพิมขึน
                             ่ ่ ้
เท่ าใด


                สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   105
9. ในการเลือนลูกสู บโดยให้ งาน 500 J
           ่
และทาให้ ระบบมีพลังงานภายในเพิมขึน่ ้
300 J จงหาพลังงานความร้ อนที่ระบบ
คายออกมา



               สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   106

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 

Was ist angesagt? (20)

ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
สมดุลกล2
สมดุลกล2สมดุลกล2
สมดุลกล2
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 

Ähnlich wie ความร้อน

Ähnlich wie ความร้อน (18)

P10
P10P10
P10
 
heat
heatheat
heat
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
Lesson10
Lesson10Lesson10
Lesson10
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
1ppt
1ppt1ppt
1ppt
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ความร้อน.pptx
ความร้อน.pptxความร้อน.pptx
ความร้อน.pptx
 
Thermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptxThermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptx
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
เสียง และการได้ยิน
เสียง และการได้ยินเสียง และการได้ยิน
เสียง และการได้ยิน
 
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 

Mehr von ชิตชัย โพธิ์ประภา

รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยาชิตชัย โพธิ์ประภา
 
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนชิตชัย โพธิ์ประภา
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...ชิตชัย โพธิ์ประภา
 

Mehr von ชิตชัย โพธิ์ประภา (20)

ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59
 
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
 
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
 
ทหารหาญ
ทหารหาญทหารหาญ
ทหารหาญ
 
ยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจ
 
วานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญาวานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญา
 
สมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษสมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษ
 
วิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้งวิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้ง
 
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
 
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
 
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
 
1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
 
ตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงานตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงาน
 
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงานรายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
 
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
 
ปอซอ
ปอซอปอซอ
ปอซอ
 

ความร้อน

  • 1. เรื่อง ความร้ อน สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 1
  • 2. สิ่ งทีจะศึกษาในบทนีได้ แก่ หน่ วยของ ่ ้ พลังงานความร้ อน ระดับความร้ อน การ เปลียนสถานะและความร้ อนแฝง และกฎ ่ ของก๊ าซ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 2
  • 3. ความร้ อน ความร้ อนเป็ นพลังงานรู ปหนึ่ง ซึ่งแปลง รู ปมาจากพลังงานรู ปอืน เช่ น ความร้ อนที่ ่ แปลงรู ปมาจากการเผาไหม้ พลังงานความ ร้ อนของเตารีดไฟฟาซึ่งแปลงรู ปมาจาก ้ พลังงานไฟฟา ้ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 3
  • 4. และพลังงานความร้ อนเองก็สามารถ แปลงไปเป็ นพลังงานรู ปแบบอืน ๆ ได้ ่ เช่ นกัน เช่ น เครื่องจักรกลไอนา ้ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 4
  • 5. หน่ วยของพลังงานความร้ อน พลังงานความร้ อนมีหน่ วยเป็ น จูล(Joule:J) เช่ นเดียวกับพลังงานในรู ปแบบอืน ่ และยังมีหน่ วยอืน ๆ อีกที่นิยมใช้ กน เช่ น ่ ั แคลอรี (Calory : cal) และบีทยู (British ี Thermal Unit : BTU) สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 5
  • 6. โดย พลังงาน 1 แคลอรี คือพลังงานความ ร้ อนทีทาให้ นามวล 1 กรัม มีอณหภูมเิ พิม ่ ้ ุ ่ ขึน 1 องศาเซลเซียส ้ และ พลังงาน 1 บีทยู คือพลังงานความ ี ร้ อนทีทาให้ นามวล 1 ปอนด์ มีอณหภูมเิ พิม ่ ้ ุ ่ ขึน 1 องศาฟาเรนไฮต์ ้ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 6
  • 7. โดย 1 cal = 4.186 J 1 BTU = 252 cal = 1055 J สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 7
  • 8. อุณหภูมิ ถ้ าเราทราบมวลและความเร็วของแต่ ละ โมเลกุลเราก็สามารถหาพลังงานจลน์ เฉลีย ่ ของก๊ าซได้ โดยกาหนดให้ อุณหภูมเิ ป็ น ปริมาณทีแปรผันตรงกับความเร็วเฉลียของ ่ ่ ก๊ าซ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 8
  • 9. การทีเ่ ราจะบอกว่ าวัตถุร้อนมากหรือน้ อย เท่ าใด เราสามารถบอกได้ ด้วยอุณหภูมของ ิ วัตถุน้ัน ซึ่งวัตถุทมระดับความร้ อนมากจะมี ี่ ี อุณหภูมสูง ถ้ าเอาวัตถุทมอณหภูมสูงไปสั มผัส ิ ี่ ี ุ ิ กับวัตถุทมอุณหภูมตา พลังงานความร้ อนจะ ่ี ี ิ ่ ถูกถ่ ายโอนไปจากทีอณหภูมสูงไปทีอณหภูมตา ุ่ ิ ุ่ ิ ่ จนกระทังวัตถุท้งสองมีอณหภูมเิ ท่ ากัน ่ ั ุ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 9
  • 10. เครื่องมือทีใช้ วดอุณหภูมิ ่ ั เทอร์ มอมิเตอร์ เทอร์ มอมิเตอร์ ทางานโดยอาศัยสมบัติ ของสารทีเ่ ปลียนแปลงตามอุณหภูมิ เช่ น ่ สารขยายตัวคือมีปริมาตรเพิมขึน เมื่อ ่ ้ อุณหภูมสูงขึน หรือ การเปลียนสี ของสาร ิ ้ ่ ตามอุณหภูมิ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 10
  • 11. สเกลของอุณหภูมิ 1. สเกลองศาเซลเซียส(celsius: oc หรือบางที เรียกองศาเซนติเกรต สเกลนีกาหนดว่ าที่ ้ ความดัน 1 บรรยากาศ จุดเยือกแข็งของนา ้ เป็ น 0 oc และจุดเดือดของนาเป็ น 100 oc ้ และระยะระหว่ างจุดเดือดกับจุดเยือกแข็ง ของนาแบ่ งออกเป็ น 100 ส่ วนเท่ า ๆ กัน ้ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 11
  • 12. สเกลของอุณหภูมิ 2. สเกลฟาเรนไฮต์ สเกลนีกาหนดว่ าที่ ้ จุดเยือกแข็งของนาเป็ น 32 ้ oF และ จุดเดือดของนาเป็ น 212 ้ oF และระยะ ระหว่ างจุดเดือดกับจุดเยือกแข็งของนา ้ แบ่ งออกเป็ น 180 ส่ วนเท่ า ๆ กัน สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 12
  • 13. สเกลของอุณหภูมิ 3. สเกลโรเมอร์ สเกลนีกาหนดว่ าที่ ้ จุดเยือกแข็งของนาเป็ น 0 ้ oR และ จุดเดือดของนาเป็ น 80 ้ oR และระยะ ระหว่ างจุดเดือดกับจุดเยือกแข็งของนา้ แบ่ งออกเป็ น 80 ส่ วนเท่ า ๆ กัน สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 13
  • 14. สเกลของอุณหภูมิ 4. สเกลเคลวิน(Kelvin : K) เป็ นหน่ วยขององศา สั มบูรณ์ จึงไม่ ต้องใช้ คาว่ าองศานาหน้ าโดย อุณหภูมตาทีสุดคือ 0 K โดยได้ กาหนดว่ าจุดเยือก ิ ่ ่ แข็งของนาเป็ น 273.16 K และจุดเดือดของนา ้ ้ เป็ น 373.16 K และระยะระหว่ างจุดเดือดกับจุด เยือกแข็งของนาแบ่ งออกเป็ น 100 ส่ วนเท่ า ๆ กัน ้ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 14
  • 15. การเปลียนหน่ วยการวัดอุณหภูมิ ่ X - M.P. = C-0 B.P. - M.P. 100 = F-0 180 = R-0 80 = K - 273 100 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 15
  • 16. C = F - 32 = R = K - 273 5 9 4 5 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 16
  • 17. ความจุความร้ อนจาเพาะ การจะทาให้ สารมีอณหภูมเิ พิมขึน โดย ุ ่ ้ ปกติจะต้ องให้ ความร้ อนแก่ สาร อัตราส่ วน ของพลังงานทีให้ ต่ ออุณหภูมทเี่ พิมขึน ่ ิ ่ ้ เรียกว่ าความจุความร้ อน ค่ านีจะขึนอยู่กบมวลของสารนั้น ๆ ้ ้ ั สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 17
  • 18. DQ J C= หน่ วย DT K และสาหรับสารหนึ่ง ๆ ค่ าความร้ อนต่ อ มวลหนึ่งหน่ วย มีค่าเฉพาะ เรียกว่ า ความจุความร้ อนจาเพาะ 1 DQ J c หน่ วย m DT kg  K สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 18
  • 19. หรือ c = C / m DQ = mcDT เมื่อ C คือความจุความร้ อน c คือความจุความร้ อนจาเพาะ DQ คือความร้ อนทีเปลียนแปลง ่ ่ DT คืออุณหภูมทเปลียนแปลง ิ ี่ ่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 19
  • 20. ตัวอย่ าง 1 จงหาพลังงานความร้ อนทีทาให้ ่ เหล็กมวล 200 g ที่ 20 oC มีอุณหภูมเพิมขึน ิ ่ ้ เป็ น 60 oC กาหนดให้ ความจุความร้ อน จาเพาะของเหล็กเท่ ากับ 450 J/kg K สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 20
  • 21. ตัวอย่ าง 2 เครื่องทานาร้ อนทีใช้ ก๊าซหุงต้ ม ้ ่ เป็ นเชื้อเพลิง เมื่อต้ ม 1000 kg ให้ ร้อนขึน ้ จาก 20 oC เป็ น 70oC โดยไม่ มการสู ญเสี ย ี ความร้ อนอืนใด กาหนดให้ ความจุความร้ อน ่ จาเพาะของนาเป็ น 4.2 kJ/kg K และก๊ าซหุง ้ ต้ มที่ใช้ มีค่าความร้ อน 50,000 kJ / kg จะต้ องใช้ ก๊าซหุงต้ มกีกโลกรัม ่ิ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 21
  • 22. สมบัติเกียวกับการขยายตัวของของแข็ง ่ 1. ของแข็งต่ างชนิดกัน ถ้ าเดิมมีความยาว เท่ ากัน เมื่อได้ รับความร้ อนและร้ อนขึน ้ เท่ ากัน จะมีส่วนขยายเพิมขึนไม่ เท่ ากัน ่ ้ 2. ของแข็งชนิดเดียวกัน ถ้ าเดิมมีความยาว เท่ ากัน เมื่อได้ รับความร้ อนและร้ อนขึน ้ เท่ ากัน จะมีส่วนขยายเพิมขึนเท่ ากัน ่ ้ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 22
  • 23. สถานะของสาร 1. ของแข็ง แรงดึงดูดระหว่ างโมเลกุลมีค่า มากทาให้ โมเลกลอยู่ใกล้ กน และรูปทรงของ ุ ั ของแข็งไม่ เปลียนแปลงมากเมื่อมีแรงขนาด ่ พอสมควรมากระทา สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 23
  • 24. สถานะของสาร 2. ของเหลว แรงดึงดูดระหว่ างโมเลกุลมีค่า น้ อย โมเลกลจึงเคลือนทีไปมาได้ บ้าง ทาให้ ุ ่ ่ รู ปทรงของของเหลวเปลียนแปลงไปตาม ่ ภาชนะทีบรรจุ ่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 24
  • 25. สถานะของสาร 3. ของก๊ าซ แรงดึงดูดระหว่ างโมเลกุลมีค่า น้ อยมาก จนโมเลกลของก๊ าซอยู่ห่างกันมาก ุ และเคลือนทีได้ สะเปะสะปะ ฟุ้ งกระจายเต็ม ่ ่ ภาชนะทีบรรจุ ่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 25
  • 26. การเปลียนสถานะของสาร ่ T( oC) 100 0 10 t สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 26
  • 27. สาหรับนา พบว่ าทีความดัน 1 atm ้ ่ นาแข็งมีจุดหลอมเหลวที่ 0 ้ 0C และความ ร้ อนที่ทาให้ นาแข็ง 1 kg หลอมเหลวหมด ้ เป็ น ความร้ อนแฝงของการหลอมเหลว (Lm) โดย Lm = 333 kJ/kg = 333 J/g สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 27
  • 28. และ ทีความดัน 1 atm นาจะเดือดที่ ่ ้ 100 0C โดยความร้ อนทีทาให้ นา 1 kg กลาย ่ ้ เป็ นไอหมดเป็ น ความร้ อนแฝงของการ กลายเป็ นไอ (Lv) โดย Lv = 2256 kJ/kg = 2256 J/g สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 28
  • 29. ถ้ า L เป็ นความร้ อนแฝงของการเปลียน ่ สถานะของสาร เราจะได้ ว่าความร้ อนทีทาให้ ่ สารมวล m เปลียนสถานะหมดคือ ่ Q = mL และความร้ อนแฝงต่ อหนึ่งหน่ วยมวล เรียกว่ า ความร้ อนแฝงจาเพาะ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 29
  • 30. คายความร้ อน เดือด ก๊าซ หลอมเหลว ของเหลว ควบแน่ น ของแข็ง แข็งตัว รับความร้ อน สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 30
  • 31. ความร้ อนแฝงจาเพาะของการควบแน่ น เท่ ากับ ความร้ อนแฝงจาเพาะของการกลาย เป็ นไอ ความร้ อนแฝงจาเพาะของการแข็งตัว เท่ ากับ ความร้ อนแฝงจาเพาะของการหลอม เหลว สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 31
  • 32. การเปลียนสถานะของสาร ่ T( oC) 100 0 10 t สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 32
  • 33. ตัวอย่ าง 3จงหาปริมาณความร้ อนที่ทาให้ นา้ แข็งมวล 250 g อุณหภูมิ 0 oC กลายเป็ นนา้ หมด และสุ ดท้ ายนา 10 g เดือดกลายเป็ นไอ ้ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 33
  • 34. การถ่ ายโอนความร้ อน ความร้ อนจะเกิดการถ่ ายโอนจากวัตถุทมี ี่ อุณหภูมสูงกว่ าไปสู่ วตถุทมอณหภูมตากว่ า ิ ั ี่ ี ุ ิ ่ โดยการถ่ ายโอนความร้ อนมี 3 รู ปแบบคือ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 34
  • 35. 1. การนาความร้ อน เป็ นการถ่ ายโอนความร้ อนผ่ านตัวนา ความร้ อน โดยโมเลกุลไม่ ได้ เคลือนที่ ่ 2. การพาความร้ อน เป็ นการถ่ ายโอนความร้ อนโดยอาศัยการ เคลือนทีของโมเลกุลของสารเป็ นพาหะนา ่ ่ ความร้ อนจากทีหนึ่งไปสู่ อกทีหนึ่ง ่ ี ่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 35
  • 36. 3. การแผ่ รังสี ความร้ อน เป็ นการถ่ ายโอนความร้ อนโดยไม่ ต้อง อาศัยตัวกลาง โดยทัวไปวัตถุทมการแผ่ รังสี ได้ ดจะมี ่ ี่ ี ี การดูดกลืนรังสี ได้ ดด้วย วัตถุทสามารถ ี ี่ แผ่ รังสี และดูดกลืนรังสี ทมากระทบได้ ท้ง ี่ ั หมดเรียกว่ า วัตถุดา สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 36
  • 37. สาหรับสารในสถานะก๊ าซ โมเลกุลทั้ง หลายสามารถเคลือนทีได้ อย่ างอิสระ และ ่ ่ ฟุ้ งกระจายเต็มภาชนะทีบรรจุ และจาก ่ การทดลองพบว่ าปริมาตรของก๊ าซขึนกับ ้ ความดัน อุณหภูมและมวลของก๊ าซ ิ สมการทีแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ าง ่ ปริมาณทั้งหลายนี้ เรียกว่ ากฎของก๊ าซ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 37
  • 38. ก๊ าซแบ่ งได้ เป็ น 3 ชนิดคือ 1. ก๊ าซอะตอมเดี่ยว โมเลกุลของก๊ าซชนิดนี้ จะประกอบด้ วยอะตอมเพียงอะตอมเดียว เช่ น ก๊ าซฮีเลียม (He) ,นีออน (Ne),อาร์ กอน (Ar) เป็ นต้ น สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 38
  • 39. 2. ก๊ าซอะตอมคู่ โมเลกุลของก๊ าซชนิดนี้ จะประกอบด้ วยอะตอม 2 อะตอม เช่ น ก๊ าซ ไฮโดรเจน(H2) ,ไนโตรเจน(N2) ออกซิเจน(O2) เป็ นต้ น 3. ก๊ าซหลายอะตอม โมเลกุลของก๊ าซชนิด นีจะประกอบด้ วยอะตอม 3 อะตอมขึนไป ้ ้ เช่ น ก๊ าซ โอโซน(O3) ,มีเทน(CH4) สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 39
  • 40. เลขอโวกาโดร (NA) คือจานวนอะตอมของคาร์ บอน 12 (C-12) ซึ่งรวมกันได้ 12 กรัม สาหรับสารชนิดเดียวกันทีมจานวนโมเลกุล ่ ี รวมกันได้ NA จะเรียกว่ าเป็ น 1 โมล(mol) NA = 6.02 x 10 23 โมเลกลต่ อโมล ุ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 40
  • 41. ดังนั้น ถ้ าก๊ าซ n โมล จะมีจานวน โมเลกุล(N) เป็ น n เท่ าของ NA N = nNA หรือ n = N N A สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 41
  • 42. มวลของก๊ าซชนิดต่ าง ๆ จานวน 1 โมล เรียกว่ า มวลโมลาร์ (M) ของก๊ าซ ถ้ า m เป็ นมวลของ 1 โมเลกุล จะได้ ว่า M = m NA สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 42
  • 43. กฎของบอยล์ (Boyle’s law) โรเบิร์ต บอยล์ พบว่ า สาหรับก๊ าซในภาชนะ ปิ ด ถ้ าอุณหภูมิ (T) ของก๊ าซคงตัว ปริมาตร (V) ของก๊ าซจะแปรผกผันกับความดัน(P) ของก๊ าซ หรือ V  1 เมื่อ T คงตัว P หรือ PV = ค่ าคงตัว สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 43
  • 44. กฎของชาร์ ลส์ (Charles’s law) ชาร์ ลส์ พบว่ า สาหรับก๊ าซในภาชนะปิ ด ถ้ า ความดัน(P) ของก๊ าซคงตัว ปริมาตร (V) ของก๊ าซจะแปรผันตรงกับ อุณหภูมิ (T) ของก๊ าซ หรือ V  T เมื่อ P คงตัว V = ค่ าคงตัว หรือ T สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 44
  • 45. สาหรับก๊ าซปริมาณเดียวกัน เมื่อนากฎของ บอยล์ และกฎของชาร์ ลส์ มาพิจารณาร่ วมกัน จะได้ ว่า เมืออุณหภูมคงตัว V  ่ ิ 1 P เมื่อความดันคงตัว V  T ดังนั้น V  T P สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 45
  • 46. PV = ค่ าคงตัว T จากสมการสรุปได้ ว่า สาหรับก๊ าซปริมาณ หนึ่ง ถ้ าทาให้ มความดัน ปริมาตร และอุณห- ี ภูมเิ ปลียนไปจากเดิมแต่ ค่า T ่ PV ยังคงเท่ าเดิม P1V1 P2V2 T1 = T 2 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 46
  • 47. จากสมการ จะเห็นว่ า ถ้ าปริมาตรของก๊ าซ คงตัว จะได้ ความสั มพันธ์ ระหว่ างความดัน P1 P2 กับอุณหภูมเิ ป็ น T = T 1 2 P = ค่ าคงตัว T กฎของเกย์ ลูสแซก สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 47
  • 48. ตัวอย่ าง 4 ยางรถยนต์ บรรจุอากาศ 0.03 m3 มีความดัน 2 atm จะต้ องสู บอากาศทีมี่ ความดัน 1 atm เข้ าไปเท่ าไร เพือทาให้ ่ ความดันเพิมเป็ น 3 atm โดยอุณหภูมและ ่ ิ ปริมาตรของยางคงที่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 48
  • 49. ตัวอย่ าง 5 กระบอกสู บอันหนึ่งมีพนที่ ื้ หน้ าตัด100 cm 2 บรรจุอากาศไว้ ภายในที่ ความดันบรรยากาศ และมีปริมาตร v ถ้ านา มวล 300kg มากดลูกสู บไว้ ปริมาตรภายใน กระบอกสู บจะลดลงเหลือเท่ าใด สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 49
  • 50. ตัวอย่ าง 6 ถังก๊ าซใบหนึ่งทนแรงดันได้ 6 atmขณะทีเ่ กิดเพลิงไหม้ อุณหภูมเิ พิม่ จาก 27 0C เป็ น 2270C เดิมนั้นก๊ าซในถัง มีความดัน 3 atm อยากทราบว่ าความดัน ในถังขณะเกิดเพลิงไหม้ เป็ นเท่ าไร และจะเกิดการระเบิดหรือไม่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 50
  • 51. ตัวอย่ าง 7 ภาชนะใบหนึ่งมีปริมาตรคงที่ ภายในบรรจุก๊าซไว้ 2 mg ทีความดัน 200 ่ ปาสคาลและอุณหภูมิ 27 0C ถ้ าเราให้ พลัง งานความร้ อนแก่ ภาชนะ 5,000 J จงหา ความดันภายในภาชนะใบนี้ ให้ ค่าความจุ ความร้ อนจาเพาะของก๊ าซเท่ ากับ 2 kJ/kg K สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 51
  • 52. จากการทดลอง โดยใช้ ก๊าซหลายชนิด PV = ค่ าคงตัว พบว่ าค่ าคงตัวในสมการ T แปรผันโดยตรงกับจานวนโมล (n) ของก๊ าซ PV PV n  nR T T โดย R เป็ นค่ าคงตัว เรียก ค่ าคงตัวของก๊ าซ R = 8.31 J/mol K สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 52
  • 53. จะได้ PV  nRT สมการนีเ้ รียกว่ า กฎของก๊ าซอุดมคติ ก๊ าซทีมีการเปลียนแปลงสอดคล้ องกับ ่ ่ สมการนีเ้ รียกว่ า ก๊ าซอุดมคติ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 53
  • 54. ถ้ าแทน n = N/NA จะได้ PV  N RT NA เนื่องจาก R และ NA ต่ างเป็ นค่ าคงตัวของ ก๊ าซทุกชนิด ดังนั้น จะเป็ นค่ าคงตัว R N ค่ าคงตัวนีเ้ รียกว่ า ค่ าคงตัวโบลต์ ซมันน์ A ใช้ สัญลักษณ์ kB โดย kB = 1.38 x 10 -23 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 54
  • 55. ได้ ว่า PV = NkBT สมการ PV = nRT และ PV = NkBT ใช้ อธิบายการทดลองต่ าง ๆ เกียวกับก๊ าซได้ ่ และยังทานายความดัน ปริมาตร จานวน โมล จานวนโมเลกุลของก๊ าซได้ ด้วย จึง ได้ รับการยอมรับให้ เป็ นกฎเรียกว่ า กฎของก๊ าซ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 55
  • 56. ตัวอย่ าง 8ภาชนะทีมีปริมาตร 4.15 m ่ 3 บรรจุก๊าซทีมความดัน 6x10 ่ ี 4 N/m2 ที่ อุณหภูมิ 27 0C ถ้ าปล่ อยให้ ก๊าซนีรั่วออก ้ จากภาชนะจนความดันเหลือ 1/4 ของ ความดันเดิมและอุณหภูมเิ ท่ าเดิม จงหาจานวนโมลของก๊ าซทีรั่วออกไป ่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 56
  • 57. ตัวอย่ าง 9 กระบอกสู บลูกหนึ่งบรรจุก๊าซ ฮีเลียม 1 g ทีอุณหภูมิ 10 ่ 0C ความดัน 1.6 atm ถ้ าพืนทีหน้ าตัดของกระบอกลูกสู บ ้ ่ เป็ น 100 cm 2ความยาวของกระบอกสู บจาก ก้ นกระบอกถึงลูกสู บเป็ นเท่ าไร สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 57
  • 58. ตัวอย่ าง 10 ก๊ าซในถังขนาด 10 ลิตร มี ความดัน 2 เท่ าของบรรยากาศ ทีอุณหภูมิ ่ 15 oC รั่วไหลออกไปจานวนหนึ่ง ความดัน ลดลงเป็ น1.5 เท่ าของบรรยากาศ จานวน โมเลกุลของก๊ าซทีเ่ หลือจะเป็ นกีเ่ ท่ าของเดิม หากอุณหภูมคงที่ ิ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 58
  • 59. 1. บอลลูนลูกหนึ่งอยู่ในสภาพแบนแฟบ บรรจุบอลลูนด้ วยก๊ าซฮีเลียมจากถังก๊ าซ ซึ่งมีความดัน 5,100 kN/m 2 จนกระทัง ่ บอลลูนมีปริมาตร 100 m 3 ปรากฏว่ าความ ดันภายในถังเท่ ากับความดันในบอลลูน เท่ ากับ 100 kN/m 2 สมมติอุณหภูมคงทีตลอด ิ ่ จงหาว่ าก๊ าซมีปริมาตรเท่ าใด สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 59
  • 60. 2. ตู้อบมีความจุ 9 m3 อากาศภายในตู้อบมี อุณหภูมิ 27 oC ต่ อมาอุณหภูมของอากาศ ิ ภายในตู้อบเพิมขึนเป็ น 27 ่ ้ oC อากาศภาย ในตู้อบจะไหลออกไปข้ างนอกกี่ m3 ถ้ า ความดันภายในตู้อบมีค่าคงที่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 60
  • 61. 3. รถโดยสารคันหนึ่งจุผู้โดยสารได้ 60ที่นั่งเริ่มออก เดินทางตอนเช้ าขณะทีอุณหภูมิของอากาศและผิว ่ ถนนเป็ น 27 oC ก่ อนออกเดินทางตรวจสอบยางทุก เส้ น มีความดันเกจ2.5x105N/m2 เมื่อถึงปลายทาง เป็ นเวลาบ่ าย อุณหภูมิของผิวถนนเป็ น 57oC คนขับ รถทราบว่ ายางซึมเล็กน้ อย แต่ ยงคงถือว่ าปริมาตร ั ไม่ เปลียนแปลง เมื่อถึงปลายทางจะคานวณความดัน ่ เกจของยางรถยนต์ ได้ เท่ าไร สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 61
  • 62. แบบจาลองของก๊ าซ แนวความคิดเบืองต้ น คือก๊ าซประกอบด้ วย ้ โมเลกุลทีเ่ คลือนทีด้วยความเร็วสู งตลอดเวลา ่ ่ ความดันทีผนังเกิดจากการทีโมเลกุลของก๊ าซ ่ ่ ชนผนังและกระดอนกลับอย่ างต่ อเนื่อง ความคิดนีได้ รับการสนับสนุนจากปรากฏ ้ การณ์ การเคลือนทีแบบบราวน์ ่ ่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 62
  • 63. การเคลือนทีของอนุภาค ่ ่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 63
  • 64. จากการสั งเกตการเคลือนทีของอนุภาค ่ ่ ทาให้ ได้ แนวความคิดว่ า โมเลกุลของก๊ าซ เป็ นการเคลือนทีอย่ างไร้ ระเบียบ การเปลียน ่ ่ ่ ทิศการเคลือนทีของโมเลกุลของก๊ าซ เกิดจาก ่ ่ การชนกันเองของอนุภาค หรือชนกับผนัง สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 64
  • 65. การเคลือนทีของโมเลกุลของก๊ าซทีบรรจุ ่ ่ ่ ในภาชนะนอกจากจะชนกันเองแล้ วยังชนกับ ผนังภาชนะทีบรรจุก๊าซด้ วย ถ้ าการชนดัง ่ กล่ าวเป็ นการชนแบบไม่ ยดหยุ่น พลังงาน ื จลน์ รวมของระบบจะสู ญเสี ยระหว่ างการชน จะทาให้ การชนแต่ ละครั้ง พลังงานจลน์ ของ ระบบลดลง โดยจะลดลงไปเรื่อย ๆ จนเป็ น สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 65
  • 66. จนเป็ นศูนย์ ในทีสุด ซึ่งหมายความว่ าทุก ่ โมเลกุลจะหยุดนิ่ง ทาให้ โมเลกุลของก๊ าซ ไม่ สามารถฟุ้ งกระจายได้ เต็มภาชนะอีกต่ อ ไปแต่ เหตุการณ์ ดงกล่ าวนีไม่ เกิดขึน ดังนั้น ั ้ ้ เราสามารถสรุปได้ ว่า การชนของโมเลกุล เป็ น การชนแบบยืดหยุ่น สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 66
  • 67. แบบจาลองของก๊ าซ 1. ก๊ าซประกอบด้ วยอนุภาคเล็ก ๆ ทีเ่ รียกว่ า โมเลกลเป็ นจานวนมาก โดยปริมาตรของ ุ โมเลกุลมีค่าน้ อยมากเมือเทียบกับปริมาตร ่ ก๊ าซทั้งหมด สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 67
  • 68. แบบจาลองของก๊ าซ 2. แต่ ละโมเลกุลของก๊ าซมีการเคลือนที่ ่ อย่ างไร้ ระเบียบ การเปลียนทิศการเคลือนที่ ่ ่ ของโมเลกุลเกิดจากการชนกันเองระหว่ าง โมเลกุลของก๊ าซหรือชนกับผนังภาชนะ เท่ านั้น สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 68
  • 69. แบบจาลองของก๊ าซ 3. การชนของโมเลกุลของก๊ าซเป็ นการชน แบบยืดหย่ ุน สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 69
  • 70. ทฤษฎีจลน์ ของก๊ าซ 1. ความดันตามทฤษฎีจลน์ ของก๊ าซ ความดันของก๊ าซเกิดจากการทีโมเลกุลของ ่ ก๊ าซชนผนังภาชนะ ค่ าของความดันจะขึนกับ ้ อัตราเร็วทีโมเลกุลชนผนังภาชนะ และจานวน ่ ครั้งทีโมเลกุลชนผนังภาชนะ ่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 70
  • 71. เมือโมเลกุลของก๊ าซซึ่งมีมวล m อัตราเร็ว ่ v ชนผนังภาชนะ เนื่องจากการชนเป็ นแบบ ยืดหยุ่นซึ่งพลังงานจลน์ รวมมีค่าคงตัว ดังนั้น หลังการชนโมเลกุลจะกระดอนออกมาจาก ผนังด้ วยความเร็วเท่ าเดิม สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 71
  • 72. โมเมนตัมก่ อนชน = mv โมเมนตัมหลังชน = -mv ดังนั้น โมเมนตัมทีเ่ ปลียนไป = (-mv) - mv ่ = -2mv สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 72
  • 73. ในการชนผนัง โมเลกุลมีโมเมนตัมเปลียนไป ่ แสดงว่ ามีแรงจากผนังมากระทากับโมเลกุล ซึ่งมีขนาดเท่ ากับแรงทีโมเลกุลกระทากับผนัง ่ แต่ มีทิศตรงข้ าม แรงนีจะเท่ ากับโมเมนตัมของ ้ โมเลกุลทีเ่ ปลียนไปในหนึ่งหน่ วยเวลา ่ DP F Dt สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 73
  • 74. พิจารณาการชนกลับไปกลับ มาเวลาทีใช้ ในการชนทีผนัง ่ ่ l เดิมแต่ ละครั้ง คือเวลาที่ใช้ ในการเคลือนทีจากผนังด้ านหนึ่งไปผนังอีก ่ ่ ด้ านหนึ่งแล้ วกระดอนกลับมาทีผนังเดิม ่ จะได้ ว่า 2l Dt  v สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 74
  • 75. DP v F  2mv  Dt 2l 2 mv F l l mvx 2 F l l l สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 75
  • 76. แรงทีได้ นีเ้ ป็ นแรงเนื่องจากโมเลกุลของ ่ ก๊ าซ 1 โมเลกุลกระทากับผนังภาชนะ พิจารณาก๊ าซ N โมเลกุลบรรจุในกล่ องรู ป ลูกบาศก์ มด้านยาวด้ านละ l ี ถ้ าให้ v1x, v2x, v3x, … , vNx เป็ นความเร็ว ของโมเลกุลที่ 1, 2, 3, … , N ในแนวตั้งฉาก กับผนังตามลาดับ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 76
  • 77. รวมแรงทั้งหมดของแต่ ละโมเลกุลเข้ าด้ วยกัน จะได้ แรงลัพธ์ Fx ซึ่งก๊ าซ N โมเลกุลกระทา กับผนังด้ านหนึ่ง คือ Fx  F1x  F2 x  F3 x  ...  FNx 2 2 2 2 mv mv mv mv Fx   1x  2x  ...  3x Nx l l l l m 2 Fx  (v1x  v2 x  v3 x  ...  vNx ) 2 2 2 l สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 77
  • 78. m N 2 Fx   vix l i 1 ดังนั้นความดันทีผนังด้ านหนึ่งเป็ น ่ m N 2 Fx  vix l i 1 Px   2 A l N m v 2 ix m N 2 Px  i 1 3   vix l V i 1 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 78
  • 79. N N N m m m Px   vix 2 Py   viy 2 Pz   viz 2 V i 1 V i 1 V i 1 ค่ าความดันที่แต่ ละผนังจะต้ องเป็ น ค่ าเดียวกัน Px = Py = Pz N N N v i 1 2 ix  v  v i 1 2 iy i 1 2 iz สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 79
  • 80. y v v  vx  v y  vz vy v  v v v 2 2 2 2 vx x x y z vz vx  v y z N N N N N v  v  v  v i 1 2 i i 1 2 ix i 1 2 iy i 1 2 iz  3 v i 1 2 i ... สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 80
  • 81. N N N 1 N 2  vix   viy   viz  3  vi i 1 2 i 1 2 i 1 2 i 1 1m N 2 Px  Py  Pz   vi 3 V i 1 1 N 2 v   vi 2 N i 1 1m 1 P ( Nv 2 ) PV  m( Nv 2 ) 3V 3 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 81
  • 82. 1 PV  m( Nv ) 2 3 2 1 PV  N ( mv ) 2 3 2 1 Ek  mv 2 2 2 PV  NEk 3 จาก PV  Nk BT 3 E k  k BT 2 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 82
  • 83. 3 E k  k BT 2 จากสมการจะเห็นว่ า พลังงานจลน์ เฉลีย่ จะขึนอยู่กบอุณหภูมสัมบูรณ์ ของก๊ าซเพียง ้ ั ิ อย่ างเดียวไม่ ขนกับชนิดของก๊ าซ ึ้ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 83
  • 84. ตัวอย่ าง 11 จงหาพลังงานจลน์ เฉลียของ ่ โมเลกุลของก๊ าซที่ 30 o C กาหนดค่ าคงตัว ของโบลต์ ซมันน์ kB = 1.38 x 10 -23 J/K 3 E k  k BT 2 3  23 Ek  1.38 10  303 2 Ek  6.2 1021 J สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 84
  • 85. 2. อัตราเร็วของโมเลกุลของก๊ าซ จาก E  k T  mv k 3 1 B 2 2 2 ให้ vrms  v 2 v 2 rms  v 2 3 1 2 k BT  mv rms 2 2 3k BT v rms  2 m สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 85
  • 86. 3k BT v 2 rms  m 3(k B N A )T v 2 rms  mN A 3RT v 2 rms  M 3RT vrms  M สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 86
  • 87. ตัวอย่ าง 12 จงหา vrms ของโมเลกุลของ ก๊ าซออกซิเจนทีมอุณหภูมิ 27 ่ ี oC M = 32 x 10 -3 kg/mol R = 8.31 J/mol K , T = 300 K 3(8.31)(300) vrms  3 32 10  483.4 m / s สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 87
  • 88. หลักสาคัญ อัตราเร็ว vrms จะไม่ เท่ ากับ v แต่ จะมีค่า ใกล้ เคียงกัน และ v  v เสมอ rms 2 เราอาจทราบค่ าประมาณของ v ได้ จาก vrms ซึ่งจะคานวณได้ ง่ายกว่ า สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 88
  • 89. 1. จงหาค่ า vrms ของโมเลกุลของ H2 ที่ 27 oc กาหนดให้ ค่านิจของก๊ าซ (R) = 8 J/mol K 2. จงหาอุณหภูมททาให้ vrms ของ H2 เท่ ากับ ิ ี่ vrms ของ O2 ทีอุณหภูมิ 27 ่ oc 3. He 2 mol มีปริมาตร 30 ลิตร ทีความดัน ่ 16.62 atm และ vrms = 4323.5 m/s จงหาว่ า แต่ ละโมเลกุลจะมีพลังงานจลน์ เฉลียกีจูล ่ ่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 89
  • 90. พลังงานภายในของระบบ ระบบ คือองค์ ประกอบของสิ่ งต่ าง ๆ ทีเ่ ราต้ องการศึกษา เช่ นถ้ าต้ องการศึกษา การชนกันของวัตถุ 3 ก้ อน ระบบก็คอวัตถุ ื ทั้ง 3 ก้ อน สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 90
  • 91. ในการศึกษาพลังงานของโมเลกุลของ ก๊ าซในภาชนะ ระบบจะประกอบไปด้ วย อะไรบ้ าง ? สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 91
  • 92. ในการศึกษาพลังงานของโมเลกุลของ ก๊ าซในภาชนะ ระบบจะประกอบไปด้ วย โมเลกุลของก๊ าซทั้งหมดในภาชนะนั้น พลังงานของโมเลกลของก๊ าซในระบบ ุ เรียกว่ า พลังงานภายในระบบ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 92
  • 93. การหาค่ าพลังงานภายในระบบ จากสมการของพลังงานจลน์ เฉลียของ ่ โมเลกุล E  k T k 3 B 2 ให้ U เป็ นพลังงานภายในของระบบที่ ประกอบไปด้ วยก๊ าซ N โมเลกุล จะได้ 3 U  Nk BT 2 สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 93
  • 94. 3 U  Nk BT 2 จากสมการ สรุปได้ ว่าพลังงานภายใน ของระบบแปรผันตรงกับจานวนโมเลกุล และอุณหภูมสัมบูรณ์ ของก๊ าซ ิ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 94
  • 95. พิจารณาการเคลือนทีของกระบอกสู บ ่ ่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 95
  • 96. เมื่อให้ ความร้ อนแก่ ระบบ จากกฎการอนุรักษ์ พลังงาน พลังงานความร้ อนทั้งหมดที่ ให้ กบระบบจะต้ องมีค่าเท่ ากับ ั ผลรวมของพลังงานภายใน ระบบที่เพิมขึนกับงานที่ทา ่ ้ โดยระบบ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 96
  • 97. ถ้ าให้ DQ เป็ นพลังงานความร้ อนที่ให้ แก่ระบบ DU เป็ นพลังงานภายในระบบที่เพิมขึน ่ ้ DW เป็ นงานที่ระบบทา จากกฎการอนุรักษ์ พลังงาน สรุ ปได้ ว่า DQ = DU + DW สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 97
  • 98. ตัวอย่ าง 13 ระบบปิ ดรับพลังงานความร้ อน ไว้ 100 kJ โดยใช้ พลังงานในการทางานของ ระบบไป 30 kJ ในช่ วงเวลา 50 วินาที ระบบจะมีพลังงานภายในลดหรือเพิม ่ เท่ าใด สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 98
  • 99. ตัวอย่ าง 14 ถังปิ ดบรรจุของเหลวชนิดหนึ่ง ถูกกวนด้ วยใบพัดโดยใส่ งานให้ ใบพัด 5090 kJ ความร้ อนทีไหลออกจากถังสู่ สิ่งแวดล้ อม ่ 1500 kJ พิจารณาให้ ถงและของเหลวคือ ั ระบบ จงหาการเปลียนแปลงพลังงานภายใน ่ สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 99
  • 100. ตัวอย่ าง 15 ก๊ าซภายในกระบอกสู บลูกหนึ่ง ถูกอัดจนกระทังอุณหภูมเิ ปลียนจาก 27 ่ ่ oC เป็ น 37 oC โดยจะต้ องให้ งานกับก๊ าซ 2.4942 x 10 4 J อยากทราบว่ าก๊ าซจานวนนี้ มีกโมล ถ้ ากระบอกสู บไม่ มการถ่ ายเทความ ี่ ี ร้ อน สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 100
  • 101. 4. อุณหภูมิ 30 0C เท่ ากับกีองศาฟาเรนไฮต์ ่ และเท่ ากับกีเ่ คลวิน สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 101
  • 102. 5. ถ้ าต้ องการให้ นาแข็งมวล 3kg 0 ้ oC กลายเป็ นไอนาที่ 120 ้ oC ต้ องใช้ พลังงาน ความร้ อนเท่ าไร สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 102
  • 103. 6. ก๊าซปริมาตร 1 ลิตร ความดัน 1 atm ที่ 27 oC ถูกทาให้ มความดันเพิมขึนเป็ น 1.1 atm และมี ี ่ ้ ปริมาตรเป็ น 1.5 ลิตร ก๊ าซนีจะมีอณหภูมเิ ป็ น ้ ุ เท่ าใด สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 103
  • 104. 7. ห้ องหนึ่งกว้ าง 10 m ยาว 10 สู ง 4 m ทีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 ่ oC จะมีอากาศกีโมล่ (กาหนดให้ R = 8 J/mol K) สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 104
  • 105. 8. ก๊ าซหนึ่งบรรจุในภาชนะมีปริมาตร 0.05 m ่3 ทีความดัน 105 N/m2 อุณหภูมิ 50 ่oC เมือได้ รับความร้ อนจนมีอณหภูมิ ุ 100 oC จะมีพลังงานจลน์ เฉลียเพิมขึน ่ ่ ้ เท่ าใด สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 105
  • 106. 9. ในการเลือนลูกสู บโดยให้ งาน 500 J ่ และทาให้ ระบบมีพลังงานภายในเพิมขึน่ ้ 300 J จงหาพลังงานความร้ อนที่ระบบ คายออกมา สอนโดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 106