SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 22
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่ม
ประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google
                                      ฉบับที่ 1.1 เผยแพรเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2551



ยินดีตอนรับสูคมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google เดิมทีแลว คูมือฉบับนี้
                ู
จัดทําขึ้นเพื่อใหความชวยเหลือเจาหนาที่ฝายตางๆ ของ Google แตเราเห็นวาเนื้อหาในคูมือนี้นาจะเปนประโยชน
                                              
ตอเว็บมาสเตอรผูที่ยังไมคุนเคยกับการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหา และตองการพัฒนาการโตตอบระหวางผูใช
และเครื่องมือคนหา แมวาคูมือนี้จะไมเผยความลับใดๆ เพื่อใหไซตของคุณรั้งตําแหนงอันดับหนึ่งเมื่อมีการคนหาดวย Google
(เสียใจดวย!) แตหากปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดที่กําหนดไวดานลางนี้ เครื่องมือคนหาจะสามารถทําการรวบรวมขอมูลและ
จัดทําดัชนีเนื้อหาไซตของคุณไดงายยิ่งขึ้น


การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหานั้นมักจะหมายถึงการปรับเปลี่ยนเล็กๆ นอยๆ กับสวนตางๆ ในเว็บไซตของคุณ
หากพิจารณาการเปลี่ยนแปลงแตละอยาง การเปลี่ยนแปลงเหลานี้อาจดูเหมือนเปนการปรับปรุงทีดีขึ้นเล็กนอย
                                                                                            ่
แตเมื่อรวมเขากับการเพิ่มประสิทธิภาพอื่นๆ แลว จะมีผลกระทบที่เห็นไดชดเจนตอประสบการณของผูใช
                                                                      ั
ที่มีตอไซตของคุณ รวมทั้งการแสดงผลการคนหาปกติ คุณอาจคุนเคยกับหลายๆ หัวขอในคูมือนี้อยูแลว
เพราะสิ่งเหลานี้เปนสวนประกอบที่สําคัญของทุกเว็บเพจ แตคุณอาจยังไมไดใชประโยชนอยางคุมคา




       การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหานั้นมีผลเฉพาะกับผลการคนหาแบบปกติเทานั้น
       ไมไดรวมถึงผลการคนหาที่มีการชําระเงินหรือ quot;ที่มีผสนับสนุนquot; เชน Google AdWords
                                                          ู




              คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                            ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
แมวาชื่อคูมือนีจะมีคําวา quot;เครืองมือคนหาquot; แตเราอยากใหคณตัดสินใจเพิ่มประสิทธิภาพโดยพิจารณาจาก
                  ้               ่                         ุ
ประโยชนสูงสุดของผูเยี่ยมชมเว็บไซตของคุณเปนสําคัญ เพราะพวกเขาคือผูบริโภคเนื้อหาคนสําคัญ และคนหา
                                                                     
ผลงานของคุณดวยเครื่องมือคนหานี้ การมุงเนนไปที่การปรับแตงเพียงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อผลักอันดับในการแสดงผล
การคนหาแบบปกติจากเครื่องมือคนหานั้นอาจไมใชผลการคนหาที่ผูใชตองการ การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหา
คือการสรางความโดดเดนใหกบเว็บไซตของคุณเมื่อเว็บไซตของคุณปรากฏในเครื่องมือการคนหา
                          ั


ตัวอยางอาจชวยอธิบายไดดีกวา ดังนั้นเราจึงไดสมมติเว็บไซตขึ้นมาเพื่อใชเปนตัวอยางสําหรับคูมือนี้
สําหรับแตละหัวขอ เราไดใหขอมูลเกี่ยวกับเว็บไซตทละเอียดเพียงพอเพื่อใหผูอานเขาใจถึงประเด็นตางๆ
                                                  ี่
ภายในหัวขอนัน นี่คือขอมูลเบื้องตนสําหรับเว็บไซตที่เราจะใชประกอบคําอธิบาย:
             ้

       •   ชื่อเว็บไซต/ชื่อทางธุรกิจ: quot;Brandon's Baseball Cardsquot;
       •   ชื่อโดเมน: brandonsbaseballcards.com
       •   เนื้อหาที่เกี่ยวของ: การขาย แนวทางการตั้งราคา บทความ และขาวเกี่ยวกับการดเบสบอล
           ทางออนไลนเทานั้น
       •   ขนาด: เล็ก ประมาณ 250 หนา


ไซตของคุณอาจมีขนาดเล็กหรือใหญวาไซตตวอยางนี้ และนําเสนอขอมูลอื่นที่มีเนื้อหาครอบคลุมมากกวา
                                       ั
แตรายละเอียดเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพที่เราไดอธิบายไวดานลางนีสามารถนําไปประยุกตใชกับเว็บไซตทุกขน
                                                                     ้
าดและทุกประเภท


เราหวังวาคูมือนี้จะจุดประกายความคิดใหมในการพัฒนาเว็บไซตของคุณ และเรายินดีที่จะรับฟงคําถาม คําติชม
และเรื่องราวความสําเร็จใน ฟอรัมชวยเหลือเว็บมาสเตอรของ Google




ตั้งชื่อหนาเว็บใหถูกตองและไมซ้ําใคร

แท็กของชื่อหนาเว็บเปนสิ่งที่บงบอกผูใชและเครื่องมือคนหาวาหนาเว็บนั้นๆ เกี่ยวกับเรื่องอะไร แท็ก <title>
                               
ควรอยูภายในแท็ก <head> ของเอกสาร HTML โดยหลักการ คุณควรตั้งชือหนาเว็บแตละหนา
                                                              ่
ในเว็บไซตใหแตกตางกัน




       ชื่อของหนาแรกของไซตการดเบสบอลของเรานั้นประกอบดวยรายชื่อธุรกิจที่เกี่ยวของและหัวขอสําคัญ 3 หัวขอ




             คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                           ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
หากเว็บไซตของคุณปรากฏในหนาผลการคนหา โดยปกติแลว เนื้อหาของแท็กชื่อจะปรากฏในบรรทัดแรกสุด
ของผลการคนหา (หากคุณไมคุนเคยกับสวนประกอบตางๆ ในผลการคนหาของ Google
คุณอาจตองการศึกษาจากวิดีโอ สวนประกอบของผลการคนหา โดย Matt Cutts ซึ่งเปนวิศวกรของ Google
และแผนผังของหนาเว็บแสดงผลการคนหาของ Google ที่มีประโยชน) คําตางๆ ในชื่อเรื่องจะแสดงเปนตัวหนา
หากมีคําเหลานี้ปรากฏอยูในคนหาของผูใช ซึ่งชวยใหผูใชจําแนกไดวาหนาเว็บนั้นเกี่ยวของการคนหาหรือไม
                                   


คุณสามารถใสชื่อเว็บไซต/ธุรกิจไวในชื่อของหนาแรกของคุณได รวมทั้งขอมูลทีสําคัญๆ เชนสถานทีตั้งของธุรกิจ
                                                                           ่                 ่
หรือสิ่งที่มุงเนนเปนหลักหรือบริการของธุรกิจนั้นๆ




       ผูใชพิมพขอความคนหา [baseball cards]




       หนาแรกของเราจะแสดงผลการคนหา พรอมชือซึ่งปรากฏในบรรทัดแรกสุด (โปรดสังเกตวา
                                            ่
       ที่ผใชระบุแสดงผลเปนตัวหนา)
           ู




       เมื่อผูใชคลิกทีผลการคนหาทีตองการและเขาชมหนาเว็บนัน ชื่อของหนาเว็บนั้นจะปรากฏ
                        ่           ่                         ้
       ที่ดานบนสุดของเบราวเซอร

ชื่อของหนาเว็บอื่นๆ ที่อยูลึกลงไปในเว็บไซตของคุณควรบอกถึงใจความสําคัญของหนาเว็บนั้นอยางถูกตอง
                           
ซึ่งอาจมีขอมูลชื่อไซตหรือชื่อธุรกิจรวมไวอยูดวย
                                              




       ผูใชพิมพขอความคนหา [rarest baseball cards]




             คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                           ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
หนาเว็บที่เกี่ยวของที่อยูลึกลงไป (ในเว็บไซตของเรา ที่มีชื่อเฉพาะซึ่งบงบอกถึงเนื้อหาในหนาเว็บ)
      จะปรากฏเปนผลการคนหา



วิธีปฏิบัติสําหรับการใสรายละเอียดในแท็กชื่อหนาเว็บ
      •   บงบอกถึงเนือหาของหนาเว็บอยางถูกตอง – ใหตั้งชื่อทีสื่อถึงเนื้อหาของหนาเว็บ
                      ้                                         ่
          อยางมีประสิทธิภาพ
              หลีกเลี่ยง:
                       •    การตั้งชื่อที่ไมเกี่ยวของกับเนื้อหาในหนาเว็บ
                       •    ใชชื่อที่เปนคาเริ่มตนหรือชื่อทีคลุมเครือ เชน quot;Untitledquot; หรือ quot;New Page 1quot;
                                                               ่


      •   สรางแท็กชือของแตละหนาเว็บที่แตกตางกัน - โดยหลักการ แตละหนาเว็บของคุณควรมี
                     ่
          แท็กชื่อที่ไมซ้ํากัน ซึ่งเอื้อให Google รูไดวาหนาเว็บนั้นแตกตางจากหนาเว็บอื่นๆ
          ในไซตของคุณอยางไร
              หลีกเลี่ยง:
                       •    การใชแท็กชื่อเดิมกับทุกหนาเว็บ หรือใชซ้ํากับหนาเว็บจํานวนมาก


      •   ตั้งชื่อที่สั้น แตไดใจความ - ชื่อควรจะสั้นและไดใจความ หากชื่อยาวเกินไป Google
          จะแสดงชื่อไดเพียงบางสวนในผลการคนหา
              หลีกเลี่ยง:
                       •    การตั้งชื่อที่เยิ่นเยอซึ่งไมมีประโยชนใดๆ ตอผูใช
                                                                             
                       •    การยัดเยียดคําหลักที่ไมจาเปนลงไปในแท็กชื่อ
                                                     ํ



การใชประโยชนจากเมตาแท็ก quot;คําอธิบายquot;

เมตาแท็กคําอธิบายของหนาเว็บชวยให Google และเครื่องมือคนหาอื่นๆ เขาใจเนื้อหาโดยยอของหนาเว็บนั้นๆ
ในขณะทีชื่อหนาเว็บอาจประกอบดวยคํา หรือวลีที่ไมมากนัก แตเมตาแท็กคําอธิบายอาจประกอบดวย
       ่
หนึ่งหรือสองประโยค หรือยอหนาสั้นๆ Webmaster Tools ของ Google ไดบรรจุ สวนการวิเคราะหเนื้อหา
ที่ชวยอํานวยความสะดวกในการแยกแยะวาเมตาแท็กคําอธิบายนั้นๆ สั้น ยาว หรือใชซ้ําบอยครั้งเกินไป
(จะปรากฏขอมูลเดียวกันนีสําหรับแท็ก <title> ดวยเชนกัน) เชนเดียวกับ แท็ก <title> เมตาแท็กคําอธิบาย
                        ้
จะถูกวางไวภายในแท็ก <head> ของเอกสาร HTML




             คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                           ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
สวนเริ่มตนของเมตาแท็กคําอธิบายของหนาแรก ซึ่งระบุเนื้อหาเว็บไซตโดยสังเขป


เมตาแท็กคําอธิบายเปนสวนประกอบทีสําคัญ เนื่องจาก Google อาจจะใชเปนตัวอยางหนาเว็บของคุณได
                                 ่
โปรดสังเกตวา เราพูดวา quot;อาจจะquot; เนื่องจาก Google อาจเลือกใชสวนของขอความที่เกี่ยวของ
ที่ปรากฏในหนาเว็บของคุณ หากขอความนันตรงกับ ขอความคนหาของผูใชพอดี หรือ Google อาจใชคาอธิบายไซต
                                     ้                                                  ํ
ของคุณใน Open Directory Project หากมีชื่อไซตของคุณปรากฏอยูในนั้น (เรียนรูวธีการปองกันไมใหเครื่องมือคนหา
                                                                           ิ
แสดงขอมูล ODP) การเพิ่มเมตาแท็กคําอธิบายสําหรับแตละหนาเว็บเปนสิงที่ควรปฏิบติอยูเสมอ เนื่องจากเปน
                                                                   ่          ั
ประโยชนในกรณีที่ Google ไมสามารถเลือกขอความที่เหมาะสมมาใชในตัวอยางได Webmaster Central Blog
ไดเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับ การปรับปรุงตัวอยางดวยเมตาแท็กคําอธิบายที่ละเอียดกวาเดิม


ตัวอยางจะแสดงอยูใตชื่อหนาเว็บ และอยูเหนือ URL ของหนาเว็บในผลการคนหา




       ผูใชพิมพขอความคนหา [baseball cards]




       หนาแรกของเราจะปรากฏเปนผลการคนหา โดยมีสวนของเมตาแท็กคําอธิบายอยูในรูปของตัวอยาง


คําที่ประกอบในตัวอยางจะแสดงผลเปนตัวหนาเมื่อคําเหลานั้นปรากฏในขอความคนหาของผูใช ตัวอยางนี้จะเปน
การบอกใบใหผูใชเขาใจวาเนือหาบนหนาเว็บนั้นตรงกับสิ่งที่ผใชกําลังคนหาหรือไม ตอไปนี้คืออีกหนึ่งตัวอยาง
                              ้                              ู
ที่แสดงตัวอยางจากเมตาแท็กคําอธิบายในหนาเว็บยอยที่อยูลึกลงไป (ซึ่งมีเมตาแท็กคําอธิบาย
เฉพาะหนาเว็บนั้นตามหลักการ) ที่มีบทความ




             คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                           ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
ผูใชพิมพขอความคนหา [rarest baseball cards]




       หนึ่งในหนาเว็บยอยทีมีเมตาแท็กคําอธิบายทีใชเปนตัวอยางจะปรากฏในหนาผลการคนหา
                            ่                    ่


วิธีปฏิบัติสําหรับการใสรายละเอียดในเมตาแท็กคําอธิบาย

       •   สรุปเนื้อหาของหนาเว็บใหถกตอง – เขียนคําอธิบายที่ใหรายละเอียดและดึงดูดความสนใจ
                                     ู
           ของผูใชเมื่อผูใชพบเมตาแท็กคําอธิบายแสดงผลเปนตัวอยางในผลการคนหา
               หลีกเลี่ยง:
                       •     การเขียนเมตาแท็กคําอธิบายที่ไมเกี่ยวของกับเนื้อหาบนหนาเว็บ
                       •     การบรรยายอยางกวางๆ ดวยขอความเชน quot;This is a webpagequot; หรือ quot;Page about
                             baseball cardsquot;
                       •     การระบุเพียงคําหลักลงในคําอธิบาย
                       •     การคัดลอกและวางเนื้อหาทั้งหมดของเอกสารลงในเมตาแท็กคําอธิบาย


       •   เขียนคําอธิบายที่ไมซากัน สําหรับแตละหนาเว็บ – การใสเมตาแท็กคําอธิบายสําหรับแตละหนาเว็บ
                                ้ํ
           ที่แตกตางกันชวยอํานวยความสะดวกใหแกทงผูใชและ Google โดยเฉพาะอยางยิ่งในการคนหาที่ผใ
                                                  ั้                                               ู
           ชเปดหนาเว็บหลายหนาอยูบนโดเมนของคุณ (เชน การคนหาดวย ไซต: ตัวดําเนินการ) หากไซตของคุณ
           ประกอบดวยหนาเว็บนับพันหรือนับลานหนา การใสขอมูลลงในเมตาแท็กคําอธิบายแตละรายการ
           อาจเปนไปไดยาก ในกรณีนี้ คุณสามารถสรางเมตาแท็กคําอธิบายโดยอางอิงจา
           กเนื้อหาของแตละหนาเว็บไดโดยอัตโนมัติ
               หลีกเลี่ยง:
                       •     การใชเมตาแท็กคําอธิบายเดียวกันสําหรับหนาเว็บทุกหนาของไซตของคุณหรือกลุมหนา
                             เว็บที่มีจํานวนมาก


การปรับปรุงโครงสราง URL ของคุณ
การสรางหมวดหมูและชื่อไฟลที่สื่อถึงเนื้อหาในเว็บไซตของคุณไมเพียงแตชวยใหเว็บไซตของคุณเปนระเบียบ
ยิ่งขึ้น แตยังชวยใหเครื่องมือคนหาทําการรวบรวมขอมูลในเว็บไซตของคุณไดดียิ่งขึ้น นอกจากนั้น ยังชวยสราง
URL ที่จดจําไดงายยิ่งขึ้นและ quot;ใชงานงายขึ้นquot; สําหรับผูที่ตองการสรางลิงกไปยังเนื้อหาของคุณ
                                                         




             คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                           ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
ผูเขาชมเว็บไซตจะรูสึกตระหนกเมื่อพบ URL ที่ยดยาวและกํากวมซึ่งมีเพียงคําที่พวกเขาจําไดเพียงไมกี่คําเทานั้น
                                               ื




       URL ไปยังหนาเว็บของไซตการดเบสบอลของเราที่อาจสรางปญหาใหกับผูใช


URL ในลักษณะเชนนี้อาจสรางความสับสนและใชงานยาก ผูใชอาจมีปญหาในการนึกทบทวน URL หรือสรางลิงก
ไปยัง URL นี้ และผูใชอาจคิดวา URL มีสวนประกอบที่ไมจําเปน โดยเฉพาะถา URL ประกอบดวยพารามิเตอร
ที่ไมรูจักอยูเปนจํานวนมาก พวกเขาอาจกรอก URL ไมครบ และทําใหลิงกใชการไมได


ผูใชบางรายอาจสรางลิงกไปยังหนาเว็บของคุณโดยใช URL ของหนาเว็บนั้นเปนขอความการเชื่อมโยง หาก URL
ประกอบดวยคําที่เกี่ยวของ ยอมเปนแหลงขอมูลเกี่ยวกับหนาเว็บที่เปนประโยชนตอผูใชและเครื่องมือคนหา
มากกวาเลขรหัสหรือพารามิเตอรที่มชื่อแปลกประหลาด
                                 ี




       คําที่เนนสีไวดานบนสามารถบอกผูใชหรือเครืองมือคนหาไดวาหนาเว็บเปาหมายนั้นเกี่ยวของกับอะไรกอนที่
                                                   ่
       จะตามลิงกนั้นไป

สุดทายนี้ โปรดจําไววา URL ที่ไปยังเอกสารนั้นจะปรากฏเปนสวนหนึ่งของผลการคนหาใน Google โดยจะอยูใตชื่อ
เอกสารและตัวอยาง เชนเดียวกับชื่อเอกสารและตัวอยาง คําตางๆ ใน URL ที่ปรากฏในผลการคนหาจะอยูในรูป
                                                                                             
ตัวหนาหากคํานั้นๆ ตรงกับขอความคนหาของผูใช




       ผูใชพิมพขอความคนหา [baseball cards]




       หนาแรกของเราจะปรากฏขึ้นเปนผลการคนหา พรอม URL ที่ปรากฏอยูดานลางของชื่อเอกสารและตัวอยาง
                                                                     




             คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                           ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
ดานลางนีคืออีกหนึ่งตัวอยางที่แสดง URL ของโดเมนของหนาเว็บที่มีบทความเกี่ยวกับ
          ้
การดเบสบอลที่หายากทีสด คําที่ปรากฏใน URL อาจสะดุดตาผูคนหาไดดีกวาหมายเลขรหัส เชน
                     ่ ุ
quot;www.brandonsbaseballcards.com/article/102125/quot;




       ผูใชพิมพขอความคนหา [rarest baseball cards]




       หนาเว็บยอยทีมี URL ซึ่งระบุถึงชนิดของเนือหาที่พบบนหนาเว็บ จะปรากฏในผลการคนหา
                     ่                           ้

Google ชํานาญในการรวบรวมขอมูลโครงสราง URL ทุกชนิด แมวา URL นั้นจะคอนขางซับซอนก็ตาม
แตการสราง URL ของคุณใหเรียบงายทีสุดเพื่อผูใชและเครืองมือคนหานั้นจะชวยใหเราทํางานไดงายขึ้น
                                    ่                    ่
เว็บมาสเตอรบางรายพยายามจะสราง URL ที่เรียบงายโดยการเขียน ไดนามิก URL ใหมเปนสเตติก URL
แมการทําเชนนีจะไมเปนปญหาตอ Google แตเราขอแนะนําวาการดําเนินการนี้เปนวิธีการขั้นสูง
               ้
และหากกระทําอยางไมถูกตอง อาจกอใหเกิดปญหาในการรวบรวมขอมูลกับไซตของคุณได
หากตองการเรียนรูเพิ่มเติมเกียวกับโครงสราง URL ที่เหมาะสม เราขอแนะนําหนาเว็บศูนยชวยเหลือเว็บมาสเตอร
                              ่
เพื่อสราง URL ที่ใชงานกับ Google ไดงาย


วิธีปฏิบัติสําหรับสรางโครงสราง URL ที่เหมาะสม
       •   ใชคําที่ไดใจความใน URL - URL ที่ประกอบดวยคําตางๆ ที่เกี่ยวของกับเนื้อหาและโครงสรางของไซต
           จะใชงานงายขึนสําหรับผูเขาชมที่กําลังไปยังไซตของคุณ ผูเขาชมจะจดจํา URL ไดงายขึน
                         ้                                                                     ้
           และอาจยินดีทจะสรางลิงกไปยัง URL เหลานั้นมากยิ่งขึ้น
                       ี่
               หลีกเลี่ยง:
                        •    การใช URL ทียืดยาวและเต็มไปดวยพารามิเตอรและรหัสเซสชั่นที่ไมจําเปน
                                          ่
                        •    การใชชื่อหนาเว็บทั่วๆ ไป เชน quot;page1.htmlquot;
                        •    การใชคําหลักที่ซ้ําซอน เชน quot;baseball-cards-baseball-cards-baseball-cards.htmquot;


       •   สรางโครงสรางไดเรกทอรีที่เรียบงาย - ใชโครงสรางไดเรกทอรีที่จดเนื้อหาใหเปนระเบียบ
                                                                          ั
           และชวยใหผูเขาชมรูตําแหนงของตนเมื่อเขาชมไซตของคุณไดอยางงายดาย ลองใชโครงสรางไดเรกทอรี
           เพื่อระบุประเภทเนื้อหาที่พบใน URL นั้นๆ
               หลีกเลี่ยง:
                        •    การใชไดเรกทอรียอยที่ซับซอน เชน quot;.../dir1/dir2/dir3/dir4/dir5/dir6/page.htmlquot;
                        •    การใชชื่อไดเรกทอรีที่ไมเกี่ยวของกับเนื้อหาใน URL




              คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                            ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
•   กําหนด URL รูปแบบเดียวสําหรับเขาถึงเอกสาร - เพื่อปองกันไมใหผใชสรางลิงกไปยัง URL
                                                                           ู
           รูปแบบหนึ่ง และผูใชรายอื่นสรางลิงกไปยัง URL รูปแบบอืน (สถานการณเชนนี้จะทําให
                                                                 ่
           คะแนนความนิยมของหนาเว็บนันกระจายไปตาม URL เหลานัน) ควรใชและอางอิง URL เพียงรูปแบบเดียว
                                     ้                       ้
           ในโครงสรางและการเชื่อมโยงภายในระหวางหนาเว็บตางๆ ของคุณ หากคุณพบวาผูใชเขาถึง
           เนื้อหาเดียวกันผาน URL ที่หลากหลาย ควรตั้งคา การเปลี่ยนเสนทาง 301 จาก URL ทีไมตองการ
                                                                                          ่
           เพื่อนําทางไปยัง URL หลักซึ่งจะเปนการแกปญหานี้
               หลีกเลี่ยง:
                        •    การใหหนาเว็บตางๆ จากโดเมนยอยและไดเรกทอรีราก (เชน quot;domain.com/page.htmquot;
                             และ quot;sub.domain.com/page.htmquot;) เขาถึงเนื้อหาเดียวกัน
                        •    การผสม URL รูปแบบ www. เขากับ URL รูปแบบที่ไมมี www. ในโครงสรางการเชื่อมโยง
                             ภายในของคุณ
                        •    การแทรกตัวพิมพใหญใน URL (ผูใชหลายรายตองการ URL ที่มีตัวพิมพเล็กซึ่งจดจําได
                             งายกวา)




การทําใหไซตของคุณงายตอการนําทาง
การนําทางในเว็บไซตนั้นเปนสิ่งสําคัญทีชวยใหผูเขาชมพบเนื้อหาทีตนเองตองการไดรวดเร็วยิ่งขึ้น และยังเอื้อให
                                       ่                          ่
เครื่องมือคนหาเขาใจไดวาเว็บมาสเตอรใหความสําคัญกับเนือหาใด แมวาผลการคนหาของ Google จะแสดงผล
                                                          ้
ในระดับหนาเว็บ แต Google ยังยินดีที่จะทําใหผใชรับทราบวาหนาเว็บนั้นมีบทบาทตอไซตอยางไร
                                               ู


ทุกไซตประกอบดวยหนาแรกหรือ quot;รากquot; ซึ่งเปนหนาทีปรากฏบอยครั้งทีสดในเว็บไซต และเปนจุดเริ่มตนในการนําทาง
                                                 ่               ่ ุ
สําหรับผูเขาชมหลายราย ถาไซตของคุณไมไดมีหนาเว็บจํานวนมาก คุณควรวางแผนวาผูเขาช
มจะเขาสูหนาเว็บอื่นๆ ที่มีรายละเอียดเฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึนจากหนาเนื้อหาทั่วไป (หนารากของคุณ) ไดอยางไร
                                                         ้
คุณมีหนาเว็บเกี่ยวกับเนื้อหาในหัวขอที่เฉพาะเจาะจงมากเพียงพอที่จะสรางหนาเว็บที่อธิบายถึงหนาเว็บตางๆ
ที่เกียวของกันนันหรือไม (เชน หนาราก -> รายการหัวขอที่เกียวของ -> หัวขอที่เฉพาะเจาะจง) คุณมีสนคาหลากหลาย
      ่          ้                                           ่                                     ิ
นับรอยๆ รายการทีตองการการจัดหมวดหมูในหนาเว็บแสดงหมวดหมูและหมวดหมูยอยจํานวนมากหรือไม
                 ่                                                    




       โครงสรางไดเรกทอรีของเว็บไซตขนาดเล็กเกียวกับการดเบสบอลของเรา
                                               ่




              คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                            ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
sitemap (ตัวพิมพเล็ก) เปนหนาเว็บที่ไมซับซอนในไซตของคุณ ซึ่งจะแสดงโครงสรางของเว็บไซต
และมักจะประกอบดวยรายการลําดับของหนาเว็บในไซตของคุณ ผูเขาชมอาจจะเขาถึงหนาเว็บนี้
หากมีปญหาในการคนหาหนาเว็บในไซตของคุณ แมเครื่องมือคนหาจะเขาถึงหนาเว็บนี้เพื่อรวบรวมขอมูล
ของหนาเว็บตางๆ ในไซตของคุณอยางครอบคลุม แต sitemap นี้ยังคงมีไวสําหรับผูเขาใชเปนหลัก


สวนไฟล Sitemap (ตัวพิมพใหญ) แบบ XML ซึ่งคุณสามารถสงผาน Webmaster Tools ของ Google จะชวยให
Google คนพบหนาเว็บตางๆ บนไซตของคุณไดงายยิ่งขึ้น การใชงานไฟล Sitemap เปนวิธีหนึ่ง (แมจะไมมี
การรับรอง) ที่บอกให Google รูวาคุณตองการใช URL รูปแบบใดเปนหลัก (เชน http://brandonsbaseballcards.com/
                              
หรือ http://www.brandonsbaseballcards.com/ ดูเพิ่มเติมไดที่ โดเมนทีตองการหมายถึงอะไร) Google
                                                                    ่
ไดสรางโอเพนซอรสชื่อวา สคริปตตวสราง Sitemap เพื่อชวยใหคุณสรางไฟล Sitemap สําหรับไซตของคุณได
                                   ั
หากตองการเรียนรูเพิ่มเติมเกียวกับ Sitemap ศูนยชวยเหลือเว็บมาสเตอรมี คูมือไฟล Sitemap
                              ่
ที่เปนประโยชนพรอมสําหรับคุณ


วิธีปฏิบัติสําหรับการนําทางในไซต
       •   สรางลําดับขันที่ตอเนืองกันอยางเหมาะสม- สรางลําดับใหซับซอนนอยทีสุดเทาทีจะทําได
                        ้         ่                                             ่        ่
           เพื่อนําทางผูใชจากเนื้อหาทั่วไปไปสูเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงตามทีผูใชตองการในไซตของคุณ
                                                                         ่
           หากจําเปน ควรเพิ่มหนาเว็บนําทางและใชงานหนาเว็บเหลานั้นอยางมีประสิทธิภาพใน
           โครงสรางลิงกภายในของคุณ
               หลีกเลี่ยง:
                        •    การสรางเว็บทีซับซอนซึ่งเต็มไปดวยลิงกนําทาง เชน การลิงกทุกหนาเว็บในไซต
                                           ่
                             ของคุณเขากับหนาเว็บถัดไป
                        •    การแบงเนื้อหาอยางละเอียดยิบยอยเกินไป (ซึ่งตองคลิก 20 ครั้งเพื่อเขาสูเนื้อหายอย)


       •   ใชขอความสําหรับการนําทางเปนสวนใหญ – การควบคุมการนําทางสวนใหญจากหนาเว็บหนึ่ง
           สูอีกหนาเว็บหนึ่งบนไซตของคุณดวยลิงกขอความชวยใหเครื่องมือคนหารวบรวมขอมูลและเขาใจ
           ไซตของคุณไดงายยิ่งขึ้น ผูใชหลายรายชื่นชอบการนําทางดวยลิงกขอความมากกวาวิธีอื่น
           โดยเฉพาะเมื่อใชงานบนอุปกรณที่อาจไมสนับสนุนโปรแกรม Flash หรือ JavaScript
               หลีกเลี่ยง:
                        •    การนําทางทีทางานตามเมนูแบบเลื่อนลง รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว
                                        ่ ํ
                             (เครื่องมือคนหาจํานวนมาก แตไมใชทั้งหมด สามารถคนพบลิงกลักษณะนี้
                             บนเว็บไซตได แตหากผูใชสามารถเขาถึงหนาเว็บทั้งหมดบนไซตผานลิงกขอความปกติ
                                                                                          
                             จะถือเปนการปรับปรุงการเขาถึงไซตของคุณไดดียิ่งขึ้น ดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
                             วิธีที่ Google รับมือกับไฟลที่ไมใชขอความ)
                                                                   


       •   ใชการนําทางแบบquot;แสดงเสนทางquot; (breadcrumb) – การแสดงเสนทางคือแถวของลิงกภายใน
           ที่ปรากฏดานบนหรือดานลางของหนาเว็บทีชวยนําทางผูเขาชมกลับไปยังสวนกอนหนาหรือกลับไปที่หน
                                                  ่
           าราก การแสดงเสนทางจํานวนมากจะใชหนาเนื้อหาทั่วไป (โดยสวนใหญคือหนาราก) เปนลิงกแรก
           ซึ่งอยูทางซายสุด และมีสวนที่จําเพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้นไลเรียงไปทางดานขวา




              คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                            ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
ลิงกการแสดงเสนทางที่ปรากฏบนหนาเว็บยอยที่แสดงบทความในไซตตวอยาง
                                                             ั


•   รวมหนาเว็บ sitemap แบบ HTML ไวในไซตของคุณ และใชไฟล Sitemap แบบ XML - หนาเว็บ
    sitemap ที่ไมซับซอน ที่มีลิงกไปยังหนาเว็บทั้งหมด หรือเฉพาะหนาเว็บสําคัญ (หากคุณมีหนาเว็บนับรอย
    หรือนับพัน) ในไซตของคุณนันมีประโยชนอยูไมนอย การสรางไฟล Sitemap แบบ XML ใหกับไซต
                              ้
    ของคุณชวยใหมั่นใจไดวาเครืองมือคนหาจะคนพบหนาเว็บบนไซตของคุณ
                                 ่
        หลีกเลี่ยง:
                  •   การปลอยใหหนา Sitemap แบบ HTML ใชการไมไดเนื่องจากมีลิงกทใชงานไมได
                                                                                    ี่
                  •   การสราง sitemap แบบ HTML ที่เพียงแคแสดงรายการหนาเว็บตางๆ โดยไมตอง
                      จัดระเบียบ เชน จัดระเบียบตามหัวขอ


•   พิจารณาสิ่งทีเกิดขึ้นเมือผูใชลบบางสวนของ URL ออก - ผูใชบางรายอาจเขาสูไซตของคุณ
                 ่          ่
    ดวยวิธทผิดปกติ และคุณควรเตรียมพรอมสําหรับกรณีนี้ เชน แทนที่จะใชลิงกการแสดงเสนทาง
           ี ี่
    บนหนาเว็บนั้นๆ ผูใชอาจตัดบางสวนของ URL ออกไปโดยหวังวาจะเขาถึงหนาเว็บที่มีเนื้อหาทั่วไป
    เขาหรือเธออาจกําลังเขาชม http://www.brandonsbaseballcards.com/news/2008/upcoming-
    baseball-card-shows.htm แตปอน http://www.brandonsbaseballcards.com/news/2008/
    ในแถบที่อยูของเบราวเซอรเพราะคิดวาลิงกดงกลาวจะแสดงขาวสารทั้งหมดของป 2008
                                               ั
    ไซตของคุณไดเตรียมพรอมจะแสดงขอมูลในสถานการณเชนนี้หรือไม หรือจะแสดงหนาเว็บ 404
    (ขอผิดพลาด quot;page not foundquot;) หรือจะเลื่อนระดับไดเรกทอรีเปน
    http://www.brandonsbaseballcards.com/news/


•   ใชหนาเว็บ 404 ใหเกิดประโยชน - บางครั้ง ผูใชอาจเขาถึงหนาเว็บที่ไมมอยูแตเดิม เนื่องจากติดตาม
                                                                              ี
    ลิงกที่ใชการไมไดหรือพิมพ URL ไมถูกตอง การสราง หนาเว็บ 404 ที่กําหนดเอง ซึ่งชวยบอกทางผูใช
                                                                                                    
    กลับไปยังหนาเว็บปกติในไซตของคุณยอมทําใหผใชมีประสบการณการใชงานไซตของคุณ
                                                ู
    อยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น หนาเว็บ 404 ของคุณควรมีลิงกที่นําทางกลับไปยังหนาราก และสามารถแสดง
    ลิงกที่เชื่อมโยงกับเนื้อหายอดนิยมหรือเนื้อหาที่เกี่ยวของกันในไซตของคุณ Google มีโปรแกรม
    404 widget ที่คุณสามารถฝงไวในหนาเว็บ 404 เพื่อนําเขาคุณลักษณะตางๆ ที่มีประโยชนเขาในหนานั้น
    นอกจากนี้ คุณยังสามารถใช Webmaster Tools ของ Google เพื่อคนหา แหลง URL ทีทําใหเกิดขอผิดพลาด
                                                                                ่
    quot;not foundquot;
        หลีกเลี่ยง:
                  •   การปลอยใหหนาเว็บ 404 อยูในดัชนีของเครืองมือคนหา (โปรดตรวจสอบวา
                                                                ่
                      ไดมีการกําหนดคาใหเว็บเซิรฟเวอรของคุณแสดง รหัสสถานะ 404 HTTP
                                                  
                      เมื่อมีการเรียกแสดงหนาเว็บที่ไมมีอยูในไซต)
                  •   การแสดงขอความกํากวม เชน quot;Not Foundquot;, quot;404quot; หรือ ไมมีหนาเว็บ 404 เลย
                  •   การใชรูปแบบหนาเว็บ 404 ที่ไมสอดคลองกันกับหนาเว็บที่เหลือในไซตของคุณ




       คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                     ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
เสนอเนือหาและบริการที่มีคุณภาพ
       ้
การสรางเนื้อหาที่ดึงดูดความสนใจและเปนประโยชนถือเปนปจจัยสําคัญในการสรางเว็บไซตของคุณเหนือปจจัย
อื่นๆ ที่กลาวถึงในคูมือนี้ เมื่อผูใชเจอไซตที่มีเนื้อหาดีๆ พวกเขาก็อาจจะบอกตอผูใชรายอืนๆ ใหเขาถึงไซตนั้น
                                                                                             ่
โดยเผยแพรผานบล็อก บริการสื่อสังคมออนไลน (social media services) อีเมล ฟอรัม หรือชองทางอื่นๆ
           
การกระจายขอมูลแบบปากตอปากคือสิ่งที่ชวยสรางความนิยมของไซตใหเปนที่รจักในกลุมผูใชและ Google
                                                                        ู      
โดยมักจะมาควบคูกับเนื้อหาทีมีคุณภาพ
                            ่




       ผูเขียนบล็อกพบเห็นขอมูลบางสวนของคุณและรูสึกชื่นชอบ และนําไปอางอิงในบทความบนบล็อก
                                                  

แมคุณสามารถเขียนเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใดๆ ก็ได แตตอไปนี้คือแนวปฏิบตที่ดทสุดบางประการที่เราแนะนํา:
                                                                      ั ิ ี ี่



วิธีปฏิบัติในการเผยแพรเนื้อหา
       •   เขียนขอความที่อานงาย - ผูใชยอมชอบอานเนื้อหาที่เรียบเรียงไดดและอานงาย
                                                                          ี
               หลีกเลี่ยง:
                        •    การเขียนขอความอยางสะเพราทีสะกดคําผิดและใชหลักไวยากรณไมถูกตอง
                                                          ่
                        •    การฝงขอความลงในรูปภาพเปนเนื้อหาแบบขอความ (เนื่องจากผูใชอาจตองการ
                             คัดลอกและวางขอความนั้น ซึงเครื่องมือคนหาไมสามารถอานได)
                                                       ่


       •   คุมประเด็นเนื้อหา – การจัดระเบียบเนื้อหานันเปนประโยชนตอผูเขาชมไซต
                                                     ้
           ใหสามารถรับรูถึงจุดเริมตนของประเด็นเนื้อหาและจุดสิ้นสุดได การแบงเนื้อหาออกเปนสวนๆ
                                 ่
           ตามตรรกะจะชวยใหผูใชพบเนื้อหาทีตองการไดรวดเร็วขึ้น
                                             ่
               หลีกเลี่ยง:
                        •    การอัดเนื้อหาของประเด็นตางๆ ไวในหนาเว็บเดียวกันโดยไมไดจัดยอหนา
                             แบงหัวขอยอย หรือการแบงเคาโครงหนา


       •   ใชภาษาที่สอดคลองกับเนื้อหา - นึกถึงขอความคนหาทีผูใชอาจระบุเพื่อคนหาเนื้อหาในไซตของคุณ
                                                              ่
           ผูใชที่มความรูเกี่ยวกับหัวขอนันอาจเลือกใชคาหลักในขอความคนหาที่แตกตางจากผูใชทไมมีความรูใน
                     ี                       ้            ํ                                      ี่
           หัวขอนั้นๆ เชน ผูติดตามกีฬาเบสบอลมายาวนานอาจจะคนหาคําวา [nlcs] ซึ่งเปนตัวยอของ National
           League Championship Series ในขณะทีผูที่เพิ่งเริ่มสนใจกีฬาชนิดนี้อาจระบุขอความคนหาทั่วไป เชน
                                             ่
           [baseball playoffs] การคาดการณและคํานึงถึงความแตกตางในพฤติกรรมการคนหา
           ในขณะเขียนเนื้อหาของคุณ (การใชวลีหลักรวมกันอยางลงตัว) ยอมสงผลดีตอการคนหา
           Google AdWords ไดจดทํา เครื่องมือคําหลัก ทีใชงานงายเพื่อชวยใหคุณคนพบคําหลักใหมๆ
                              ั                        ่
           ที่แตกตางกันและรับทราบปริมาณการคนหาคําหลักแตละคําโดยประมาณ นอกจากนั้น Webmaster




              คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                            ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
Tools ของ Google ยังใหบริการ ขอความคนหายอดนิยม ที่จะมีชื่อไซตของคุณปรากฏอยูในนั้น
                                                                                          
           และขอความคนหาทีทําใหผูใชสวนใหญเขาชมไซตของคุณ
                            ่


       •   สรางเนื้อหาแปลกใหมไมซาใคร – เนื้อหาที่แปลกใหมไมเพียงแตจะทําใหฐานผูเขาชมที่มีอยูเดิม
                                   ้ํ
           กลับมาชมไซตของคุณเปนประจําเทานั้น แตยังดึงดูดผูเขาชมรายใหมไดดวยเชนกัน
               หลีกเลี่ยง:
                        •     การปรับปรุงขอมูลเดิม (หรือแมแตการคัดลอก) ที่ใหประโยชนเพียงนอยนิดแกผใช
                                                                                                        ู
                        •     การใสเนื้อหาทีทําซ้ําหรือเนื้อหาทีใกลเคียงกับเนื้อหาเดิมลงทั่วทั้งเว็บไซตของคุณ
                                             ่                   ่
                              (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ เนื้อหาทีทําซ้ํา)
                                                                 ่


       •   เสนอเนื้อหาหรือบริการพิเศษ - ลองเสนอบริการใหมที่เปนประโยชนที่ไซตอื่นๆ ไมมีให นอกจากนี้
           คุณยังสามารถเขียนงานวิจยทีคิดคนขึ้นเอง รายงานขาวสารที่นาตื่นเตน หรือยกระดับฐานผูใช
                                  ั ่
           ซึ่งไซตอื่นๆ อาจขาดทรัพยากรหรือความชํานาญในการทําสิงเหลานี้
                                                               ่


       •   สรางเนื้อหาโดยยึดผูใชของคุณเปนสําคัญ ไมใชเครื่องมือคนหา – การออกแบบไซตใหสอดรับ
           กับความตองการของผูเขาชม และการจัดการไซตใหเครื่องมือคนหาเขาถึงไดงายยอมสงผลในเชิงบวก
               หลีกเลี่ยง:
                        •     การสอดแทรกคําหลักที่ไมจําเปนโดยคํานึงถึงเครื่องมือคนหาเปนหลัก เนื่องจากคําหลัก
                              เหลานั้นเปนทีนารําคาญหรือไรสาระสําหรับผูใช
                                             ่
                        •     การเขียนกลุมขอความ เชน quot;frequent misspellings used to reach this pagequot;
                              (การสะกดผิดบอยครั้งนําทางมายังหนาเว็บนี) ซึ่งเปนประโยชนตอผูใชเพียงนอยนิด
                                                                       ้
                        •     การซอนขอความจากผูใช การซอนขอความจากผูใช เพื่อหลอกลวง แตกลับแสดง
                                                 
                              ขอความนั้นแกเครื่องมือคนหา


ปรับปรุงการเขียนขอความการเชื่อมโยง
ขอความการเชือมโยงเปนขอความที่ผใชสามารถคลิกเพื่อติดตามผลของลิงก และจะถูกวางไวภายในแท็ก
             ่                   ู
การเชื่อมโยง <a href=quot;...quot;></a>




       ขอความการเชือมโยงนี้บงบอกถึงเนื้อหาในหนาเว็บหนึ่งทีแสดงบทความไดอยางถูกตอง
                    ่                                        ่

ขอความการเชือมโยงนี้จะบอกผูใชและ Google เกี่ยวกับหนาเว็บที่คุณกําลังติดตามไป ลิงกบนหนาเว็บของคุณ
             ่
อาจเปนลิงกภายในที่นําทางไปยังหนาเว็บอื่นๆ ภายในไซตของคุณ หรือเปนลิงกภายนอกทีเชื่อมไปสูเนื้อหา
                                                                                  ่
บนไซตอื่นๆ สําหรับทั้งสองกรณีนี้ ยิ่งคุณเขียนขอความการเชื่อมโยงใหชดเจนเทาไร
                                                                     ั
ก็ยิ่งทําใหผูใชเขาถึงไดงายยิ่งขึ้นเทานั้น รวมทั้ง Google ยังเขาใจไดวาหนาเว็บที่คุณกําลังเชื่อมโยง
ไปนั้นเกี่ยวของกับเรื่องใด




              คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                            ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
วิธีปฏิบัติในการเขียนขอความการเชื่อมโยง
       •   เลือกใชขอความที่ไดใจความ - ขอความการเชื่อมโยงที่คณใชเปนลิงกนนควรใหขอมูลคราวๆ
                                                              ุ             ั้
           เกี่ยวกับหนาเว็บปลายทางลิงกนั้นๆ
               หลีกเลี่ยง:
                        •    การเขียนขอความการเชื่อมโยงดวยคําทัวๆ ไป เชน quot;pagequot; (หนาเว็บ), quot;articlequot;
                                                                 ่
                             (บทความ) หรือ quot;click herequot; (คลิกที่น)
                                                                 ี่
                        •    การเขียนขอความที่หลุดประเด็น หรือไมเกี่ยวของกับเนื้อหาในหนาเว็บปลายทางลิงก
                        •    การใช URL ของหนาเว็บเปนขอความการเชื่อมโยงเปนสวนใหญ (แมจะสามารถใชงาน
                             ในลักษณะดังกลาวได เชน เพื่อการโฆษณาหรืออางอิงที่อยูเว็บแหงใหม)


       •   เขียนขอความใหกระชับ - สิ่งสําคัญคือขอความสั้นแตสื่อใจความ ซึ่งโดยทั่วไปมักประกอบดวย
           คําไมกี่คําหรือวลีสั้นๆ
               หลีกเลี่ยง:
                        •    ขอความการเชือมโยงขนาดยาว เชน ประโยคที่เยิ่นเยอหรือยอหนาสั้นๆ
                                          ่


       •   จัดรูปแบบลิงกที่สะดุดตา – ชวยใหผใชสามารถแยกแยะไดอยางงายดายวาสวนใดคือขอความธรรมดา
                                              ู
           หรือสวนใดคือลิงกขอความการเชื่อมโยง ทวา เนื้อหาของคุณจะดอยประโยชนทันทีหากผูใชมองขามลิงก
           ขอความการเชือมโยงหรือคลิกโดยไมไดตั้งใจ
                        ่
               หลีกเลี่ยง:
                        •    การใช CSS หรือการจัดรูปแบบขอความทีทําใหลิงกดูเหมือนกับขอความทัวๆ ไป
                                                                 ่                              ่


       •   อยาลืมนึกถึงขอความการเชื่อมโยงสําหรับลิงกภายใน - คุณอาจมักจะนึกถึงการสรางลิงก
           ไปยังไซตอนๆ แตโปรดใสใจกับขอความการเชื่อมโยงสําหรับลิงกภายในใหมากยิงขึ้น เพราะจะชวยใหผใช
                     ื่                                                            ่                    ู
           และ Google นําทางมายังไซตของคุณไดงายยิ่งขึ้น
               หลีกเลี่ยง:
                        •    การใชขอความการเชื่อมโยงทีประกอบดวยคําหลักที่มากเกินจําเปนหรือที่เยินเยอ
                                                        ่                                           ่
                             เพื่อดึงดูดเครื่องมือคนหา
                        •    การสรางลิงกทไมจําเปนซึ่งไมเปนประโยชนตอการนําทางของผูใชในไซต
                                           ี่                            


ใชแท็กหัวขอใหเหมาะสม

แท็กหัวขอ (โปรดอยาสับสนกับ <head> ของแท็ก HTML หรือ สวนหัวของ HTTP) ใชเพื่อนําเสนอโครงสรางของ
หนาเว็บแกผใช แท็กหัวขอมีทงหมด 6 ขนาด และเริ่มตนดวย <h1> ซึ่งเปนสวนสําคัญทีสด และปดทายดวย <h6>
            ู               ั้                                                   ่ ุ
ซึ่งมีความสําคัญนอยทีสด
                      ่ ุ




              คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                            ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
บนหนาเว็บแสดงขาว เราอาจวางชื่อไซตไวภายในแท็ก <h1> และวางหัวขอขาวไวภายในแท็ก <h2>

เนื่องจากแท็กหัวขอสงผลใหขอความภายในแท็กนั้นมีขนาดใหญกวาขอความอื่นๆ ในหนาเว็บ
ผูใชจึงรับรูไดวาขอความนั้นมีความสําคัญ และยังชวยใหผูใชทําความเขาใจประเภทของเนื้อหา
                   
ที่อยูถดลงไปจากหัวขอนั้นได ขนาดหัวขอทีแตกตางกันไดกอใหเกิดโครงสรางลําดับขั้นของเนื้อหาของคุณ
        ั                                 ่             
ที่ชวยใหผใชสารวจเอกสารของคุณไดงายยิงขึ้น
           ู  ํ                        ่


วิธีปฏิบัติในการใชแท็กหัวขอ
       •   จินตนาการวาคุณกําลังรางเคาโครงเนื้อหา - ไมตางไปจากการเขียนเคาโครงเนื้อหาสําหรับ
           รายงานเลมใหญ นั่นคือจัดระเบียบขอมูลวาประเด็นหลักและประเด็นรองของเนื้อหาในหนาเว็บ
           ควรอยูที่ใด และตัดสินใจวาควรวางแท็กหัวขออยางไรใหเหมาะสม
                 
               หลีกเลี่ยง:
                        •    การวางขอความภายในแท็กหัวขอในตําแหนงที่ไมเกิดประโยชนในการจัดโครงสราง
                             หนาเว็บ
                        •    การใชแท็กหัวขอในตําแหนงที่แท็กอื่นๆ มีความเหมาะสมกวา เชน <em> และ
                             <strong>
                        •    การใชแท็กหัวขอขนาดแตกตางกันอยางไมเหมาะสม

       •   กําหนดหัวขอบนหนาเว็บใหเหมาะสม - ไมวางแท็กหัวขออยางพร่ําเพรือ แท็กหัวขอที่ปรากฏบนหนาเว็บ
                                                                            ่
           มากเกินไปทําใหผูใชมีปญหาในการอานขอมูลคราวๆ และยากตอการพิจารณาวาสวนใดคือจุดสิ้นสุดหัวขอ
           และสวนใดคือจุดเริ่มตนหัวขอใหม
               หลีกเลี่ยง:
                        •    การวางแท็กหัวขอบนหนาเว็บอยางฟุมเฟอย
                        •    การใสขอความทั้งหมดบนหนาเว็บลงในแท็กหัวขอ
                        •    การใชแท็กหัวขอสําหรับจัดรูปแบบขอความเพียงอยางเดียว ไมไดใชสําหรับจัดโครงสราง


ปรับใชภาพของคุณอยางเหมาะสม
ภาพตางๆ ดูเหมือนเปนสวนประกอบของไซตทสื่อสารไดอยางตรงไปตรงมา แตคุณสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ
                                       ี่
การใชงานภาพเหลานั้นใหเกิดประโยชนสูงสุดได ภาพทั้งหมดสามารถมีชื่อไฟลที่แตกตางกัน รวมทั้งแอตทริบิวต
quot;altquot; ซึ่งคุณควรใชประโยชนจากทั้งสองสิ่งนี้
แอตทริบิวต quot;altquot; ชวยใหคุณเขียนขอความสํารองที่จะปรากฏเมื่อมีเหตุขัดของที่ทาใหไมสามารถแสดงรูปภาพได
                                                                              ํ




              คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                            ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
ขอความ alt ของเราในที่นี้เปนขอความสั้นๆ แตอธิบายภาพไดอยางเทียงตรง
                                                                        ่


เหตุใดจึงใชแอตทริบิวตนี้ หากผูใชเขาชมไซตของคุณผานเบราวเซอรที่ไมสนับสนุนภาพ หรือกําลังใชเทคโนโลยี
อื่นๆ เพื่อเขาชมไซต เชน โปรแกรมอานจอภาพ เนื้อหาของแอตทริบิวต alt จะเปนตัวบอกขอมูลเกี่ยวกับภาพนั้นๆ
ใหผใชไดรับทราบ
    ู




      ภาพของเราไมสามารถแสดงแกผูใชเนื่องจากเหตุขัดของบางประการ แตอยางนอยยังปรากฏขอความ alt

เหตุผลอีกประการคือ หากคุณใชภาพเปนลิงก ขอความ alt ของภาพนี้จะทํางานเชนเดียวกับขอความ
การเชื่อมโยง ที่ปรากฏเปนลิงกขอความ อยางไรก็ตาม เราไมขอแนะนําใหคุณใชภาพเปนลิงกนําทางภายในไซต
มากเกินไปในกรณีทสามารถใชลิงกขอความได สุดทาย การปรับชื่อไฟลภาพและขอความ alt ของคุณใหเหมาะสม
                ี่
จะชวยใหโครงการคนหาภาพอยาง Google Image Search ทําความเขาใจภาพของคุณไดดียิ่งขึ้น


วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับภาพ
      •   ตั้งชื่อไฟลภาพและขอความ alt ใหกระชับแตไดใจความ - เชนเดียวกับสวนประกอบอื่นๆ ของหนาเว็บ
          ที่ตองปรับใหเหมาะสม ชื่อไฟลและขอความ alt (สําหรับภาษา ASCII) ที่ดที่สดคือสั้นแตไดใจความ
                                                                               ี ุ
              หลีกเลี่ยง:
                       •    การตั้งชื่อไฟลดวยชื่อทั่วๆ ไป เชน quot;image1.jpgquot;, quot;pic.gifquot;, quot;1.jpgquot; หากเปนไปได
                            (บางไซตที่มภาพนับพันอาจใชการตั้งชื่อภาพโดยอัตโนมัต)
                                        ี                                       ิ
                       •    การตั้งชื่อไฟลที่ยดยาว
                                               ื
                       •    การยัดเยียดคําหลักลงในขอความ alt หรือคัดลอกและวางประโยคทั้งหมดลงไป


      •   สรางขอความ alt เมื่อใชภาพเปนลิงก - หากคุณตัดสินใจวาจะใชภาพเปนลิงก การใสขอความ alt
                                                                                            
          ใหกับภาพชวยให Google ทําความเขาใจเกี่ยวกับหนาเว็บทีปลายทางลิงกไดดียิ่งขึ้น
                                                                  ่
          จินตนาการวาคุณกําลังเขียนขอความการเชื่อมโยงเพื่อใชเปนลิงกขอความ
              หลีกเลี่ยง:
                       •    การเขียนขอความ alt ที่ยดยาวซึ่งอาจตองสงสัยวาเปนสแปม
                                                    ื
                       •    การใชเฉพาะภาพเปนลิงกนําทางภายในไซต




             คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                           ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
•   จัดเก็บภาพไวในไดเรกทอรีเดียวกัน - ไมควรจัดเก็บภาพไวในหลายๆ ไดเรกทอรีและไดเรกทอรียอย
           ทั่วทั้งโดเมนของคุณ แตควรจัดเก็บภาพไวในไดเรกทอรีเดียวกัน (เชน brandonsbaseballcards.com/images/)
           ซึ่งจะทําใหพาธที่ไปยังภาพของคุณไมซับซอน


       •   ใชชนิดไฟลทไดรับการสนับสนุนโดยทัวไป - รูปแบบของภาพที่เบราวเซอรสวนใหญสนับสนุน ไดแก
                       ี่                    ่
           JPEG, GIF, PNG และ BMP คุณควรกําหนดใหนามสกุลของชื่อไฟลตรงกับชนิดไฟล



การใช robots.txt อยางมีประสิทธิภาพ
ไฟล quot;robots.txtquot; จะบอกใหเครื่องมือคนหารับรูวาสามารถเขาถึงไดหรือไมกอนที่จะรวบรวมขอมูลจากบางสวน
ของไซตของคุณ ไฟลที่จะตองตั้งชื่อวา quot;robots.txtquot; จะถูกวางอยูในไดเรกทอรีรากของไซต




       ที่อยูของไฟล quot;robots.txtquot; ของเรา




       บอทของเครื่องมือคนหาตามมาตรฐานทั้งหมด (แสดงดวยอักขระตัวแทน *) นั้น ไมควรเขาถึงและรวบรวมเนื้อหา
       ใน /images/ หรือทุก URL ที่พาธขึ้นตนดวย /search

คุณอาจไมตองการใหเกิดการรวบรวมขอมูลในบางหนาเว็บเพจ เนื่องจากหนาเว็บนั้นๆ อาจไมเปนประโยชนตอผูใช
แมจะพบหนาเว็บนั้นในผลการคนหา หากคุณตองการปองกันไมใหเครื่องมือคนหารวบรวมขอมูลหนาเว็บตางๆ
ของคุณ Webmasters Tools ของ Google ไดใหบริการ เครื่องมือสราง robots.txt เพื่อชวยคุณสรางไฟลนี้
โปรดทราบวาหากไซตของคุณใชโดเมนยอยและตองการปองกันการรวบรวมขอมูลในบางหนาเว็บที่อยูบนโดเมนย
อยแหงใดแหงหนึ่ง คุณจะตองสรางไฟล robots.txt สําหรับโดเมนยอยนั้นโดยเฉพาะ หากตองการขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
robots.txt เราขอแนะนําคูมือศูนยชวยเหลือเว็บมาสเตอรในสวนที่เกี่ยวกับ การใชไฟล robots.txt
                                  


และยังมีวิธีอื่นๆ อีกมากในการปองกันไมใหเนื้อหาปรากฏบนผลการคนหา เชน การเพิ่ม quot;NOINDEXquot;
ลงในเมตาแท็กของ robot การใช .htaccess กับไดเรกทอรีที่ควบคุมโดยรหัสผาน และการใช Webmaster Tools
ของ Google เพื่อลบเนื้อหาทีถูกรวบรวมขอมูลออก Matt Cutts วิศวกรของ Google กลาวถึง คําเตือนเกียวกับวิธตางๆ
                           ่                                                                  ่       ี 
ในการปองกัน URL แตละรายการ ผานวิดีโอความชวยเหลือ




              คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551
                                            ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Conduct your Dream.
Conduct your Dream.Conduct your Dream.
Conduct your Dream.Piyaratt R
 
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโสธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโสTouch Thanaboramat
 
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติบทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติTouch Thanaboramat
 
บาลี 59 80
บาลี 59 80บาลี 59 80
บาลี 59 80Rose Banioki
 
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismRevolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismSarinee Achavanuntakul
 
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41PMAT
 
จูเลียส ซีซาร์
จูเลียส ซีซาร์จูเลียส ซีซาร์
จูเลียส ซีซาร์sampard
 
Creative Commons-based Business Models
Creative Commons-based Business ModelsCreative Commons-based Business Models
Creative Commons-based Business ModelsSarinee Achavanuntakul
 
บัญชียาหลัก
บัญชียาหลักบัญชียาหลัก
บัญชียาหลักssuser1eb5bc
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONPiyaratt R
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖Rose Banioki
 
บาลี 50 80
บาลี 50 80บาลี 50 80
บาลี 50 80Rose Banioki
 
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v101 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1khon Kaen University
 
บาลี 63 80
บาลี 63 80บาลี 63 80
บาลี 63 80Rose Banioki
 
บัญญัติรัก
บัญญัติรักบัญญัติรัก
บัญญัติรักPradya Wongworakun
 

Was ist angesagt? (20)

Conduct your Dream.
Conduct your Dream.Conduct your Dream.
Conduct your Dream.
 
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโสธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
 
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติบทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
 
บาลี 59 80
บาลี 59 80บาลี 59 80
บาลี 59 80
 
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismRevolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
 
Thailand Internet User 2002
Thailand Internet User 2002Thailand Internet User 2002
Thailand Internet User 2002
 
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
 
Microsoft Word
Microsoft WordMicrosoft Word
Microsoft Word
 
จูเลียส ซีซาร์
จูเลียส ซีซาร์จูเลียส ซีซาร์
จูเลียส ซีซาร์
 
Creative Commons-based Business Models
Creative Commons-based Business ModelsCreative Commons-based Business Models
Creative Commons-based Business Models
 
บัญชียาหลัก
บัญชียาหลักบัญชียาหลัก
บัญชียาหลัก
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ON
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
 
KKU SCL Research 2008
KKU SCL Research 2008KKU SCL Research 2008
KKU SCL Research 2008
 
บาลี 50 80
บาลี 50 80บาลี 50 80
บาลี 50 80
 
Radio Documentary
Radio DocumentaryRadio Documentary
Radio Documentary
 
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
 
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v101 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
01 51-01-0401-m1-sci-lesson-plan-v1
 
บาลี 63 80
บาลี 63 80บาลี 63 80
บาลี 63 80
 
บัญญัติรัก
บัญญัติรักบัญญัติรัก
บัญญัติรัก
 

Mehr von Pawoot (Pom) Pongvitayapanu

Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue) Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue) Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay SolutionsPay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay SolutionsPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand E-Commerce & Online, part 2 confessions of an e-commerce exec - pl...
Thailand E-Commerce & Online, part 2   confessions of an e-commerce exec - pl...Thailand E-Commerce & Online, part 2   confessions of an e-commerce exec - pl...
Thailand E-Commerce & Online, part 2 confessions of an e-commerce exec - pl...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
A future glance at digital trends & technology for better life & business
A future glance at digital trends & technology for better life & business A future glance at digital trends & technology for better life & business
A future glance at digital trends & technology for better life & business Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand Digital Marketing and Trend 2014 by Pawoot
Thailand Digital Marketing and Trend 2014� by Pawoot Thailand Digital Marketing and Trend 2014� by Pawoot
Thailand Digital Marketing and Trend 2014 by Pawoot Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, incThailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, incPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.comMobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.comPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 

Mehr von Pawoot (Pom) Pongvitayapanu (20)

E-Commerce Bubble 2016
E-Commerce Bubble 2016E-Commerce Bubble 2016
E-Commerce Bubble 2016
 
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue) Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
Thailand Investment Review Magazine of BOI (November issue)
 
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
แจกฟรี คู่มือภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากกรมสรรพกร - Thailand e commerce tax...
 
Thailand Social Commerce 2015
Thailand Social Commerce 2015Thailand Social Commerce 2015
Thailand Social Commerce 2015
 
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay SolutionsPay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
Pay Social Overview (www.Pay.sn) by Pay Solutions
 
Thailand E-Commerce & Online, part 2 confessions of an e-commerce exec - pl...
Thailand E-Commerce & Online, part 2   confessions of an e-commerce exec - pl...Thailand E-Commerce & Online, part 2   confessions of an e-commerce exec - pl...
Thailand E-Commerce & Online, part 2 confessions of an e-commerce exec - pl...
 
A future glance at digital trends & technology for better life & business
A future glance at digital trends & technology for better life & business A future glance at digital trends & technology for better life & business
A future glance at digital trends & technology for better life & business
 
Content Marketing by Pawoot Pom Pongvitayapanu
Content Marketing by Pawoot Pom PongvitayapanuContent Marketing by Pawoot Pom Pongvitayapanu
Content Marketing by Pawoot Pom Pongvitayapanu
 
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
 
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
Thailand Internet Data by ETDA in Thailand Zocial Awards 2015
 
Thailand ecommerceframeworkgoal kpi-2015
Thailand ecommerceframeworkgoal kpi-2015Thailand ecommerceframeworkgoal kpi-2015
Thailand ecommerceframeworkgoal kpi-2015
 
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
[Slide] ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell and Battery by pa...
 
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
ประวัติของถ่ายไฟฉาย แบ็ตเตอรี่ (History of dry cell by pawoot)
 
9 fundamentals for e-commerce in thailand
9 fundamentals for e-commerce in thailand9 fundamentals for e-commerce in thailand
9 fundamentals for e-commerce in thailand
 
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]
 
Thailand Digital Marketing and Trend 2014 by Pawoot
Thailand Digital Marketing and Trend 2014� by Pawoot Thailand Digital Marketing and Trend 2014� by Pawoot
Thailand Digital Marketing and Trend 2014 by Pawoot
 
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, incThailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
Thailand and Asia Social Media Data 2014 by Zocial, inc
 
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
The impact of Entrepreneurs at Scale Up Company in South East Asia, See how P...
 
Thailand e-commerce report 55
Thailand e-commerce report 55Thailand e-commerce report 55
Thailand e-commerce report 55
 
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.comMobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
Mobile Commerce in Thailand Campaign from TARAD.com
 

Google Search Engine Optimization Starter Guide Th

  • 1. คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่ม ประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1 เผยแพรเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2551 ยินดีตอนรับสูคมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google เดิมทีแลว คูมือฉบับนี้  ู จัดทําขึ้นเพื่อใหความชวยเหลือเจาหนาที่ฝายตางๆ ของ Google แตเราเห็นวาเนื้อหาในคูมือนี้นาจะเปนประโยชน  ตอเว็บมาสเตอรผูที่ยังไมคุนเคยกับการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหา และตองการพัฒนาการโตตอบระหวางผูใช และเครื่องมือคนหา แมวาคูมือนี้จะไมเผยความลับใดๆ เพื่อใหไซตของคุณรั้งตําแหนงอันดับหนึ่งเมื่อมีการคนหาดวย Google (เสียใจดวย!) แตหากปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดที่กําหนดไวดานลางนี้ เครื่องมือคนหาจะสามารถทําการรวบรวมขอมูลและ จัดทําดัชนีเนื้อหาไซตของคุณไดงายยิ่งขึ้น การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหานั้นมักจะหมายถึงการปรับเปลี่ยนเล็กๆ นอยๆ กับสวนตางๆ ในเว็บไซตของคุณ หากพิจารณาการเปลี่ยนแปลงแตละอยาง การเปลี่ยนแปลงเหลานี้อาจดูเหมือนเปนการปรับปรุงทีดีขึ้นเล็กนอย ่ แตเมื่อรวมเขากับการเพิ่มประสิทธิภาพอื่นๆ แลว จะมีผลกระทบที่เห็นไดชดเจนตอประสบการณของผูใช ั ที่มีตอไซตของคุณ รวมทั้งการแสดงผลการคนหาปกติ คุณอาจคุนเคยกับหลายๆ หัวขอในคูมือนี้อยูแลว เพราะสิ่งเหลานี้เปนสวนประกอบที่สําคัญของทุกเว็บเพจ แตคุณอาจยังไมไดใชประโยชนอยางคุมคา การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหานั้นมีผลเฉพาะกับผลการคนหาแบบปกติเทานั้น ไมไดรวมถึงผลการคนหาที่มีการชําระเงินหรือ quot;ที่มีผสนับสนุนquot; เชน Google AdWords ู คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 2. แมวาชื่อคูมือนีจะมีคําวา quot;เครืองมือคนหาquot; แตเราอยากใหคณตัดสินใจเพิ่มประสิทธิภาพโดยพิจารณาจาก ้ ่ ุ ประโยชนสูงสุดของผูเยี่ยมชมเว็บไซตของคุณเปนสําคัญ เพราะพวกเขาคือผูบริโภคเนื้อหาคนสําคัญ และคนหา  ผลงานของคุณดวยเครื่องมือคนหานี้ การมุงเนนไปที่การปรับแตงเพียงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อผลักอันดับในการแสดงผล การคนหาแบบปกติจากเครื่องมือคนหานั้นอาจไมใชผลการคนหาที่ผูใชตองการ การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหา คือการสรางความโดดเดนใหกบเว็บไซตของคุณเมื่อเว็บไซตของคุณปรากฏในเครื่องมือการคนหา ั ตัวอยางอาจชวยอธิบายไดดีกวา ดังนั้นเราจึงไดสมมติเว็บไซตขึ้นมาเพื่อใชเปนตัวอยางสําหรับคูมือนี้ สําหรับแตละหัวขอ เราไดใหขอมูลเกี่ยวกับเว็บไซตทละเอียดเพียงพอเพื่อใหผูอานเขาใจถึงประเด็นตางๆ  ี่ ภายในหัวขอนัน นี่คือขอมูลเบื้องตนสําหรับเว็บไซตที่เราจะใชประกอบคําอธิบาย: ้ • ชื่อเว็บไซต/ชื่อทางธุรกิจ: quot;Brandon's Baseball Cardsquot; • ชื่อโดเมน: brandonsbaseballcards.com • เนื้อหาที่เกี่ยวของ: การขาย แนวทางการตั้งราคา บทความ และขาวเกี่ยวกับการดเบสบอล ทางออนไลนเทานั้น • ขนาด: เล็ก ประมาณ 250 หนา ไซตของคุณอาจมีขนาดเล็กหรือใหญวาไซตตวอยางนี้ และนําเสนอขอมูลอื่นที่มีเนื้อหาครอบคลุมมากกวา ั แตรายละเอียดเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพที่เราไดอธิบายไวดานลางนีสามารถนําไปประยุกตใชกับเว็บไซตทุกขน ้ าดและทุกประเภท เราหวังวาคูมือนี้จะจุดประกายความคิดใหมในการพัฒนาเว็บไซตของคุณ และเรายินดีที่จะรับฟงคําถาม คําติชม และเรื่องราวความสําเร็จใน ฟอรัมชวยเหลือเว็บมาสเตอรของ Google ตั้งชื่อหนาเว็บใหถูกตองและไมซ้ําใคร แท็กของชื่อหนาเว็บเปนสิ่งที่บงบอกผูใชและเครื่องมือคนหาวาหนาเว็บนั้นๆ เกี่ยวกับเรื่องอะไร แท็ก <title>  ควรอยูภายในแท็ก <head> ของเอกสาร HTML โดยหลักการ คุณควรตั้งชือหนาเว็บแตละหนา ่ ในเว็บไซตใหแตกตางกัน ชื่อของหนาแรกของไซตการดเบสบอลของเรานั้นประกอบดวยรายชื่อธุรกิจที่เกี่ยวของและหัวขอสําคัญ 3 หัวขอ คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 3. หากเว็บไซตของคุณปรากฏในหนาผลการคนหา โดยปกติแลว เนื้อหาของแท็กชื่อจะปรากฏในบรรทัดแรกสุด ของผลการคนหา (หากคุณไมคุนเคยกับสวนประกอบตางๆ ในผลการคนหาของ Google คุณอาจตองการศึกษาจากวิดีโอ สวนประกอบของผลการคนหา โดย Matt Cutts ซึ่งเปนวิศวกรของ Google และแผนผังของหนาเว็บแสดงผลการคนหาของ Google ที่มีประโยชน) คําตางๆ ในชื่อเรื่องจะแสดงเปนตัวหนา หากมีคําเหลานี้ปรากฏอยูในคนหาของผูใช ซึ่งชวยใหผูใชจําแนกไดวาหนาเว็บนั้นเกี่ยวของการคนหาหรือไม   คุณสามารถใสชื่อเว็บไซต/ธุรกิจไวในชื่อของหนาแรกของคุณได รวมทั้งขอมูลทีสําคัญๆ เชนสถานทีตั้งของธุรกิจ ่ ่ หรือสิ่งที่มุงเนนเปนหลักหรือบริการของธุรกิจนั้นๆ ผูใชพิมพขอความคนหา [baseball cards] หนาแรกของเราจะแสดงผลการคนหา พรอมชือซึ่งปรากฏในบรรทัดแรกสุด (โปรดสังเกตวา ่ ที่ผใชระบุแสดงผลเปนตัวหนา) ู เมื่อผูใชคลิกทีผลการคนหาทีตองการและเขาชมหนาเว็บนัน ชื่อของหนาเว็บนั้นจะปรากฏ ่ ่ ้ ที่ดานบนสุดของเบราวเซอร ชื่อของหนาเว็บอื่นๆ ที่อยูลึกลงไปในเว็บไซตของคุณควรบอกถึงใจความสําคัญของหนาเว็บนั้นอยางถูกตอง  ซึ่งอาจมีขอมูลชื่อไซตหรือชื่อธุรกิจรวมไวอยูดวย  ผูใชพิมพขอความคนหา [rarest baseball cards] คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 4. หนาเว็บที่เกี่ยวของที่อยูลึกลงไป (ในเว็บไซตของเรา ที่มีชื่อเฉพาะซึ่งบงบอกถึงเนื้อหาในหนาเว็บ) จะปรากฏเปนผลการคนหา วิธีปฏิบัติสําหรับการใสรายละเอียดในแท็กชื่อหนาเว็บ • บงบอกถึงเนือหาของหนาเว็บอยางถูกตอง – ใหตั้งชื่อทีสื่อถึงเนื้อหาของหนาเว็บ ้ ่ อยางมีประสิทธิภาพ หลีกเลี่ยง: • การตั้งชื่อที่ไมเกี่ยวของกับเนื้อหาในหนาเว็บ • ใชชื่อที่เปนคาเริ่มตนหรือชื่อทีคลุมเครือ เชน quot;Untitledquot; หรือ quot;New Page 1quot; ่ • สรางแท็กชือของแตละหนาเว็บที่แตกตางกัน - โดยหลักการ แตละหนาเว็บของคุณควรมี ่ แท็กชื่อที่ไมซ้ํากัน ซึ่งเอื้อให Google รูไดวาหนาเว็บนั้นแตกตางจากหนาเว็บอื่นๆ ในไซตของคุณอยางไร หลีกเลี่ยง: • การใชแท็กชื่อเดิมกับทุกหนาเว็บ หรือใชซ้ํากับหนาเว็บจํานวนมาก • ตั้งชื่อที่สั้น แตไดใจความ - ชื่อควรจะสั้นและไดใจความ หากชื่อยาวเกินไป Google จะแสดงชื่อไดเพียงบางสวนในผลการคนหา หลีกเลี่ยง: • การตั้งชื่อที่เยิ่นเยอซึ่งไมมีประโยชนใดๆ ตอผูใช  • การยัดเยียดคําหลักที่ไมจาเปนลงไปในแท็กชื่อ ํ การใชประโยชนจากเมตาแท็ก quot;คําอธิบายquot; เมตาแท็กคําอธิบายของหนาเว็บชวยให Google และเครื่องมือคนหาอื่นๆ เขาใจเนื้อหาโดยยอของหนาเว็บนั้นๆ ในขณะทีชื่อหนาเว็บอาจประกอบดวยคํา หรือวลีที่ไมมากนัก แตเมตาแท็กคําอธิบายอาจประกอบดวย ่ หนึ่งหรือสองประโยค หรือยอหนาสั้นๆ Webmaster Tools ของ Google ไดบรรจุ สวนการวิเคราะหเนื้อหา ที่ชวยอํานวยความสะดวกในการแยกแยะวาเมตาแท็กคําอธิบายนั้นๆ สั้น ยาว หรือใชซ้ําบอยครั้งเกินไป (จะปรากฏขอมูลเดียวกันนีสําหรับแท็ก <title> ดวยเชนกัน) เชนเดียวกับ แท็ก <title> เมตาแท็กคําอธิบาย ้ จะถูกวางไวภายในแท็ก <head> ของเอกสาร HTML คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 5. สวนเริ่มตนของเมตาแท็กคําอธิบายของหนาแรก ซึ่งระบุเนื้อหาเว็บไซตโดยสังเขป เมตาแท็กคําอธิบายเปนสวนประกอบทีสําคัญ เนื่องจาก Google อาจจะใชเปนตัวอยางหนาเว็บของคุณได ่ โปรดสังเกตวา เราพูดวา quot;อาจจะquot; เนื่องจาก Google อาจเลือกใชสวนของขอความที่เกี่ยวของ ที่ปรากฏในหนาเว็บของคุณ หากขอความนันตรงกับ ขอความคนหาของผูใชพอดี หรือ Google อาจใชคาอธิบายไซต ้  ํ ของคุณใน Open Directory Project หากมีชื่อไซตของคุณปรากฏอยูในนั้น (เรียนรูวธีการปองกันไมใหเครื่องมือคนหา  ิ แสดงขอมูล ODP) การเพิ่มเมตาแท็กคําอธิบายสําหรับแตละหนาเว็บเปนสิงที่ควรปฏิบติอยูเสมอ เนื่องจากเปน ่ ั ประโยชนในกรณีที่ Google ไมสามารถเลือกขอความที่เหมาะสมมาใชในตัวอยางได Webmaster Central Blog ไดเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับ การปรับปรุงตัวอยางดวยเมตาแท็กคําอธิบายที่ละเอียดกวาเดิม ตัวอยางจะแสดงอยูใตชื่อหนาเว็บ และอยูเหนือ URL ของหนาเว็บในผลการคนหา ผูใชพิมพขอความคนหา [baseball cards] หนาแรกของเราจะปรากฏเปนผลการคนหา โดยมีสวนของเมตาแท็กคําอธิบายอยูในรูปของตัวอยาง คําที่ประกอบในตัวอยางจะแสดงผลเปนตัวหนาเมื่อคําเหลานั้นปรากฏในขอความคนหาของผูใช ตัวอยางนี้จะเปน การบอกใบใหผูใชเขาใจวาเนือหาบนหนาเว็บนั้นตรงกับสิ่งที่ผใชกําลังคนหาหรือไม ตอไปนี้คืออีกหนึ่งตัวอยาง ้ ู ที่แสดงตัวอยางจากเมตาแท็กคําอธิบายในหนาเว็บยอยที่อยูลึกลงไป (ซึ่งมีเมตาแท็กคําอธิบาย เฉพาะหนาเว็บนั้นตามหลักการ) ที่มีบทความ คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 6. ผูใชพิมพขอความคนหา [rarest baseball cards] หนึ่งในหนาเว็บยอยทีมีเมตาแท็กคําอธิบายทีใชเปนตัวอยางจะปรากฏในหนาผลการคนหา ่ ่ วิธีปฏิบัติสําหรับการใสรายละเอียดในเมตาแท็กคําอธิบาย • สรุปเนื้อหาของหนาเว็บใหถกตอง – เขียนคําอธิบายที่ใหรายละเอียดและดึงดูดความสนใจ ู ของผูใชเมื่อผูใชพบเมตาแท็กคําอธิบายแสดงผลเปนตัวอยางในผลการคนหา หลีกเลี่ยง: • การเขียนเมตาแท็กคําอธิบายที่ไมเกี่ยวของกับเนื้อหาบนหนาเว็บ • การบรรยายอยางกวางๆ ดวยขอความเชน quot;This is a webpagequot; หรือ quot;Page about baseball cardsquot; • การระบุเพียงคําหลักลงในคําอธิบาย • การคัดลอกและวางเนื้อหาทั้งหมดของเอกสารลงในเมตาแท็กคําอธิบาย • เขียนคําอธิบายที่ไมซากัน สําหรับแตละหนาเว็บ – การใสเมตาแท็กคําอธิบายสําหรับแตละหนาเว็บ ้ํ ที่แตกตางกันชวยอํานวยความสะดวกใหแกทงผูใชและ Google โดยเฉพาะอยางยิ่งในการคนหาที่ผใ ั้ ู ชเปดหนาเว็บหลายหนาอยูบนโดเมนของคุณ (เชน การคนหาดวย ไซต: ตัวดําเนินการ) หากไซตของคุณ ประกอบดวยหนาเว็บนับพันหรือนับลานหนา การใสขอมูลลงในเมตาแท็กคําอธิบายแตละรายการ อาจเปนไปไดยาก ในกรณีนี้ คุณสามารถสรางเมตาแท็กคําอธิบายโดยอางอิงจา กเนื้อหาของแตละหนาเว็บไดโดยอัตโนมัติ หลีกเลี่ยง: • การใชเมตาแท็กคําอธิบายเดียวกันสําหรับหนาเว็บทุกหนาของไซตของคุณหรือกลุมหนา เว็บที่มีจํานวนมาก การปรับปรุงโครงสราง URL ของคุณ การสรางหมวดหมูและชื่อไฟลที่สื่อถึงเนื้อหาในเว็บไซตของคุณไมเพียงแตชวยใหเว็บไซตของคุณเปนระเบียบ ยิ่งขึ้น แตยังชวยใหเครื่องมือคนหาทําการรวบรวมขอมูลในเว็บไซตของคุณไดดียิ่งขึ้น นอกจากนั้น ยังชวยสราง URL ที่จดจําไดงายยิ่งขึ้นและ quot;ใชงานงายขึ้นquot; สําหรับผูที่ตองการสรางลิงกไปยังเนื้อหาของคุณ  คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 7. ผูเขาชมเว็บไซตจะรูสึกตระหนกเมื่อพบ URL ที่ยดยาวและกํากวมซึ่งมีเพียงคําที่พวกเขาจําไดเพียงไมกี่คําเทานั้น ื URL ไปยังหนาเว็บของไซตการดเบสบอลของเราที่อาจสรางปญหาใหกับผูใช URL ในลักษณะเชนนี้อาจสรางความสับสนและใชงานยาก ผูใชอาจมีปญหาในการนึกทบทวน URL หรือสรางลิงก ไปยัง URL นี้ และผูใชอาจคิดวา URL มีสวนประกอบที่ไมจําเปน โดยเฉพาะถา URL ประกอบดวยพารามิเตอร ที่ไมรูจักอยูเปนจํานวนมาก พวกเขาอาจกรอก URL ไมครบ และทําใหลิงกใชการไมได ผูใชบางรายอาจสรางลิงกไปยังหนาเว็บของคุณโดยใช URL ของหนาเว็บนั้นเปนขอความการเชื่อมโยง หาก URL ประกอบดวยคําที่เกี่ยวของ ยอมเปนแหลงขอมูลเกี่ยวกับหนาเว็บที่เปนประโยชนตอผูใชและเครื่องมือคนหา มากกวาเลขรหัสหรือพารามิเตอรที่มชื่อแปลกประหลาด ี คําที่เนนสีไวดานบนสามารถบอกผูใชหรือเครืองมือคนหาไดวาหนาเว็บเปาหมายนั้นเกี่ยวของกับอะไรกอนที่ ่ จะตามลิงกนั้นไป สุดทายนี้ โปรดจําไววา URL ที่ไปยังเอกสารนั้นจะปรากฏเปนสวนหนึ่งของผลการคนหาใน Google โดยจะอยูใตชื่อ เอกสารและตัวอยาง เชนเดียวกับชื่อเอกสารและตัวอยาง คําตางๆ ใน URL ที่ปรากฏในผลการคนหาจะอยูในรูป  ตัวหนาหากคํานั้นๆ ตรงกับขอความคนหาของผูใช ผูใชพิมพขอความคนหา [baseball cards] หนาแรกของเราจะปรากฏขึ้นเปนผลการคนหา พรอม URL ที่ปรากฏอยูดานลางของชื่อเอกสารและตัวอยาง  คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 8. ดานลางนีคืออีกหนึ่งตัวอยางที่แสดง URL ของโดเมนของหนาเว็บที่มีบทความเกี่ยวกับ ้ การดเบสบอลที่หายากทีสด คําที่ปรากฏใน URL อาจสะดุดตาผูคนหาไดดีกวาหมายเลขรหัส เชน ่ ุ quot;www.brandonsbaseballcards.com/article/102125/quot; ผูใชพิมพขอความคนหา [rarest baseball cards] หนาเว็บยอยทีมี URL ซึ่งระบุถึงชนิดของเนือหาที่พบบนหนาเว็บ จะปรากฏในผลการคนหา ่ ้ Google ชํานาญในการรวบรวมขอมูลโครงสราง URL ทุกชนิด แมวา URL นั้นจะคอนขางซับซอนก็ตาม แตการสราง URL ของคุณใหเรียบงายทีสุดเพื่อผูใชและเครืองมือคนหานั้นจะชวยใหเราทํางานไดงายขึ้น ่ ่ เว็บมาสเตอรบางรายพยายามจะสราง URL ที่เรียบงายโดยการเขียน ไดนามิก URL ใหมเปนสเตติก URL แมการทําเชนนีจะไมเปนปญหาตอ Google แตเราขอแนะนําวาการดําเนินการนี้เปนวิธีการขั้นสูง ้ และหากกระทําอยางไมถูกตอง อาจกอใหเกิดปญหาในการรวบรวมขอมูลกับไซตของคุณได หากตองการเรียนรูเพิ่มเติมเกียวกับโครงสราง URL ที่เหมาะสม เราขอแนะนําหนาเว็บศูนยชวยเหลือเว็บมาสเตอร ่ เพื่อสราง URL ที่ใชงานกับ Google ไดงาย วิธีปฏิบัติสําหรับสรางโครงสราง URL ที่เหมาะสม • ใชคําที่ไดใจความใน URL - URL ที่ประกอบดวยคําตางๆ ที่เกี่ยวของกับเนื้อหาและโครงสรางของไซต จะใชงานงายขึนสําหรับผูเขาชมที่กําลังไปยังไซตของคุณ ผูเขาชมจะจดจํา URL ไดงายขึน ้  ้ และอาจยินดีทจะสรางลิงกไปยัง URL เหลานั้นมากยิ่งขึ้น ี่ หลีกเลี่ยง: • การใช URL ทียืดยาวและเต็มไปดวยพารามิเตอรและรหัสเซสชั่นที่ไมจําเปน ่ • การใชชื่อหนาเว็บทั่วๆ ไป เชน quot;page1.htmlquot; • การใชคําหลักที่ซ้ําซอน เชน quot;baseball-cards-baseball-cards-baseball-cards.htmquot; • สรางโครงสรางไดเรกทอรีที่เรียบงาย - ใชโครงสรางไดเรกทอรีที่จดเนื้อหาใหเปนระเบียบ ั และชวยใหผูเขาชมรูตําแหนงของตนเมื่อเขาชมไซตของคุณไดอยางงายดาย ลองใชโครงสรางไดเรกทอรี เพื่อระบุประเภทเนื้อหาที่พบใน URL นั้นๆ หลีกเลี่ยง: • การใชไดเรกทอรียอยที่ซับซอน เชน quot;.../dir1/dir2/dir3/dir4/dir5/dir6/page.htmlquot; • การใชชื่อไดเรกทอรีที่ไมเกี่ยวของกับเนื้อหาใน URL คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 9. กําหนด URL รูปแบบเดียวสําหรับเขาถึงเอกสาร - เพื่อปองกันไมใหผใชสรางลิงกไปยัง URL ู รูปแบบหนึ่ง และผูใชรายอื่นสรางลิงกไปยัง URL รูปแบบอืน (สถานการณเชนนี้จะทําให  ่ คะแนนความนิยมของหนาเว็บนันกระจายไปตาม URL เหลานัน) ควรใชและอางอิง URL เพียงรูปแบบเดียว ้ ้ ในโครงสรางและการเชื่อมโยงภายในระหวางหนาเว็บตางๆ ของคุณ หากคุณพบวาผูใชเขาถึง เนื้อหาเดียวกันผาน URL ที่หลากหลาย ควรตั้งคา การเปลี่ยนเสนทาง 301 จาก URL ทีไมตองการ ่ เพื่อนําทางไปยัง URL หลักซึ่งจะเปนการแกปญหานี้ หลีกเลี่ยง: • การใหหนาเว็บตางๆ จากโดเมนยอยและไดเรกทอรีราก (เชน quot;domain.com/page.htmquot; และ quot;sub.domain.com/page.htmquot;) เขาถึงเนื้อหาเดียวกัน • การผสม URL รูปแบบ www. เขากับ URL รูปแบบที่ไมมี www. ในโครงสรางการเชื่อมโยง ภายในของคุณ • การแทรกตัวพิมพใหญใน URL (ผูใชหลายรายตองการ URL ที่มีตัวพิมพเล็กซึ่งจดจําได งายกวา) การทําใหไซตของคุณงายตอการนําทาง การนําทางในเว็บไซตนั้นเปนสิ่งสําคัญทีชวยใหผูเขาชมพบเนื้อหาทีตนเองตองการไดรวดเร็วยิ่งขึ้น และยังเอื้อให ่ ่ เครื่องมือคนหาเขาใจไดวาเว็บมาสเตอรใหความสําคัญกับเนือหาใด แมวาผลการคนหาของ Google จะแสดงผล ้ ในระดับหนาเว็บ แต Google ยังยินดีที่จะทําใหผใชรับทราบวาหนาเว็บนั้นมีบทบาทตอไซตอยางไร ู ทุกไซตประกอบดวยหนาแรกหรือ quot;รากquot; ซึ่งเปนหนาทีปรากฏบอยครั้งทีสดในเว็บไซต และเปนจุดเริ่มตนในการนําทาง ่ ่ ุ สําหรับผูเขาชมหลายราย ถาไซตของคุณไมไดมีหนาเว็บจํานวนมาก คุณควรวางแผนวาผูเขาช มจะเขาสูหนาเว็บอื่นๆ ที่มีรายละเอียดเฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึนจากหนาเนื้อหาทั่วไป (หนารากของคุณ) ไดอยางไร  ้ คุณมีหนาเว็บเกี่ยวกับเนื้อหาในหัวขอที่เฉพาะเจาะจงมากเพียงพอที่จะสรางหนาเว็บที่อธิบายถึงหนาเว็บตางๆ ที่เกียวของกันนันหรือไม (เชน หนาราก -> รายการหัวขอที่เกียวของ -> หัวขอที่เฉพาะเจาะจง) คุณมีสนคาหลากหลาย ่ ้ ่ ิ นับรอยๆ รายการทีตองการการจัดหมวดหมูในหนาเว็บแสดงหมวดหมูและหมวดหมูยอยจํานวนมากหรือไม ่  โครงสรางไดเรกทอรีของเว็บไซตขนาดเล็กเกียวกับการดเบสบอลของเรา ่ คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 10. sitemap (ตัวพิมพเล็ก) เปนหนาเว็บที่ไมซับซอนในไซตของคุณ ซึ่งจะแสดงโครงสรางของเว็บไซต และมักจะประกอบดวยรายการลําดับของหนาเว็บในไซตของคุณ ผูเขาชมอาจจะเขาถึงหนาเว็บนี้ หากมีปญหาในการคนหาหนาเว็บในไซตของคุณ แมเครื่องมือคนหาจะเขาถึงหนาเว็บนี้เพื่อรวบรวมขอมูล ของหนาเว็บตางๆ ในไซตของคุณอยางครอบคลุม แต sitemap นี้ยังคงมีไวสําหรับผูเขาใชเปนหลัก สวนไฟล Sitemap (ตัวพิมพใหญ) แบบ XML ซึ่งคุณสามารถสงผาน Webmaster Tools ของ Google จะชวยให Google คนพบหนาเว็บตางๆ บนไซตของคุณไดงายยิ่งขึ้น การใชงานไฟล Sitemap เปนวิธีหนึ่ง (แมจะไมมี การรับรอง) ที่บอกให Google รูวาคุณตองการใช URL รูปแบบใดเปนหลัก (เชน http://brandonsbaseballcards.com/  หรือ http://www.brandonsbaseballcards.com/ ดูเพิ่มเติมไดที่ โดเมนทีตองการหมายถึงอะไร) Google ่ ไดสรางโอเพนซอรสชื่อวา สคริปตตวสราง Sitemap เพื่อชวยใหคุณสรางไฟล Sitemap สําหรับไซตของคุณได ั หากตองการเรียนรูเพิ่มเติมเกียวกับ Sitemap ศูนยชวยเหลือเว็บมาสเตอรมี คูมือไฟล Sitemap ่ ที่เปนประโยชนพรอมสําหรับคุณ วิธีปฏิบัติสําหรับการนําทางในไซต • สรางลําดับขันที่ตอเนืองกันอยางเหมาะสม- สรางลําดับใหซับซอนนอยทีสุดเทาทีจะทําได ้ ่ ่ ่ เพื่อนําทางผูใชจากเนื้อหาทั่วไปไปสูเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงตามทีผูใชตองการในไซตของคุณ  ่ หากจําเปน ควรเพิ่มหนาเว็บนําทางและใชงานหนาเว็บเหลานั้นอยางมีประสิทธิภาพใน โครงสรางลิงกภายในของคุณ หลีกเลี่ยง: • การสรางเว็บทีซับซอนซึ่งเต็มไปดวยลิงกนําทาง เชน การลิงกทุกหนาเว็บในไซต ่ ของคุณเขากับหนาเว็บถัดไป • การแบงเนื้อหาอยางละเอียดยิบยอยเกินไป (ซึ่งตองคลิก 20 ครั้งเพื่อเขาสูเนื้อหายอย) • ใชขอความสําหรับการนําทางเปนสวนใหญ – การควบคุมการนําทางสวนใหญจากหนาเว็บหนึ่ง สูอีกหนาเว็บหนึ่งบนไซตของคุณดวยลิงกขอความชวยใหเครื่องมือคนหารวบรวมขอมูลและเขาใจ ไซตของคุณไดงายยิ่งขึ้น ผูใชหลายรายชื่นชอบการนําทางดวยลิงกขอความมากกวาวิธีอื่น โดยเฉพาะเมื่อใชงานบนอุปกรณที่อาจไมสนับสนุนโปรแกรม Flash หรือ JavaScript หลีกเลี่ยง: • การนําทางทีทางานตามเมนูแบบเลื่อนลง รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว ่ ํ (เครื่องมือคนหาจํานวนมาก แตไมใชทั้งหมด สามารถคนพบลิงกลักษณะนี้ บนเว็บไซตได แตหากผูใชสามารถเขาถึงหนาเว็บทั้งหมดบนไซตผานลิงกขอความปกติ  จะถือเปนการปรับปรุงการเขาถึงไซตของคุณไดดียิ่งขึ้น ดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ วิธีที่ Google รับมือกับไฟลที่ไมใชขอความ)  • ใชการนําทางแบบquot;แสดงเสนทางquot; (breadcrumb) – การแสดงเสนทางคือแถวของลิงกภายใน ที่ปรากฏดานบนหรือดานลางของหนาเว็บทีชวยนําทางผูเขาชมกลับไปยังสวนกอนหนาหรือกลับไปที่หน ่ าราก การแสดงเสนทางจํานวนมากจะใชหนาเนื้อหาทั่วไป (โดยสวนใหญคือหนาราก) เปนลิงกแรก ซึ่งอยูทางซายสุด และมีสวนที่จําเพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้นไลเรียงไปทางดานขวา คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 11. ลิงกการแสดงเสนทางที่ปรากฏบนหนาเว็บยอยที่แสดงบทความในไซตตวอยาง ั • รวมหนาเว็บ sitemap แบบ HTML ไวในไซตของคุณ และใชไฟล Sitemap แบบ XML - หนาเว็บ sitemap ที่ไมซับซอน ที่มีลิงกไปยังหนาเว็บทั้งหมด หรือเฉพาะหนาเว็บสําคัญ (หากคุณมีหนาเว็บนับรอย หรือนับพัน) ในไซตของคุณนันมีประโยชนอยูไมนอย การสรางไฟล Sitemap แบบ XML ใหกับไซต ้ ของคุณชวยใหมั่นใจไดวาเครืองมือคนหาจะคนพบหนาเว็บบนไซตของคุณ ่ หลีกเลี่ยง: • การปลอยใหหนา Sitemap แบบ HTML ใชการไมไดเนื่องจากมีลิงกทใชงานไมได ี่ • การสราง sitemap แบบ HTML ที่เพียงแคแสดงรายการหนาเว็บตางๆ โดยไมตอง จัดระเบียบ เชน จัดระเบียบตามหัวขอ • พิจารณาสิ่งทีเกิดขึ้นเมือผูใชลบบางสวนของ URL ออก - ผูใชบางรายอาจเขาสูไซตของคุณ ่ ่ ดวยวิธทผิดปกติ และคุณควรเตรียมพรอมสําหรับกรณีนี้ เชน แทนที่จะใชลิงกการแสดงเสนทาง ี ี่ บนหนาเว็บนั้นๆ ผูใชอาจตัดบางสวนของ URL ออกไปโดยหวังวาจะเขาถึงหนาเว็บที่มีเนื้อหาทั่วไป เขาหรือเธออาจกําลังเขาชม http://www.brandonsbaseballcards.com/news/2008/upcoming- baseball-card-shows.htm แตปอน http://www.brandonsbaseballcards.com/news/2008/ ในแถบที่อยูของเบราวเซอรเพราะคิดวาลิงกดงกลาวจะแสดงขาวสารทั้งหมดของป 2008 ั ไซตของคุณไดเตรียมพรอมจะแสดงขอมูลในสถานการณเชนนี้หรือไม หรือจะแสดงหนาเว็บ 404 (ขอผิดพลาด quot;page not foundquot;) หรือจะเลื่อนระดับไดเรกทอรีเปน http://www.brandonsbaseballcards.com/news/ • ใชหนาเว็บ 404 ใหเกิดประโยชน - บางครั้ง ผูใชอาจเขาถึงหนาเว็บที่ไมมอยูแตเดิม เนื่องจากติดตาม ี ลิงกที่ใชการไมไดหรือพิมพ URL ไมถูกตอง การสราง หนาเว็บ 404 ที่กําหนดเอง ซึ่งชวยบอกทางผูใช  กลับไปยังหนาเว็บปกติในไซตของคุณยอมทําใหผใชมีประสบการณการใชงานไซตของคุณ ู อยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น หนาเว็บ 404 ของคุณควรมีลิงกที่นําทางกลับไปยังหนาราก และสามารถแสดง ลิงกที่เชื่อมโยงกับเนื้อหายอดนิยมหรือเนื้อหาที่เกี่ยวของกันในไซตของคุณ Google มีโปรแกรม 404 widget ที่คุณสามารถฝงไวในหนาเว็บ 404 เพื่อนําเขาคุณลักษณะตางๆ ที่มีประโยชนเขาในหนานั้น นอกจากนี้ คุณยังสามารถใช Webmaster Tools ของ Google เพื่อคนหา แหลง URL ทีทําใหเกิดขอผิดพลาด ่ quot;not foundquot; หลีกเลี่ยง: • การปลอยใหหนาเว็บ 404 อยูในดัชนีของเครืองมือคนหา (โปรดตรวจสอบวา ่ ไดมีการกําหนดคาใหเว็บเซิรฟเวอรของคุณแสดง รหัสสถานะ 404 HTTP  เมื่อมีการเรียกแสดงหนาเว็บที่ไมมีอยูในไซต) • การแสดงขอความกํากวม เชน quot;Not Foundquot;, quot;404quot; หรือ ไมมีหนาเว็บ 404 เลย • การใชรูปแบบหนาเว็บ 404 ที่ไมสอดคลองกันกับหนาเว็บที่เหลือในไซตของคุณ คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 12. เสนอเนือหาและบริการที่มีคุณภาพ ้ การสรางเนื้อหาที่ดึงดูดความสนใจและเปนประโยชนถือเปนปจจัยสําคัญในการสรางเว็บไซตของคุณเหนือปจจัย อื่นๆ ที่กลาวถึงในคูมือนี้ เมื่อผูใชเจอไซตที่มีเนื้อหาดีๆ พวกเขาก็อาจจะบอกตอผูใชรายอืนๆ ใหเขาถึงไซตนั้น ่ โดยเผยแพรผานบล็อก บริการสื่อสังคมออนไลน (social media services) อีเมล ฟอรัม หรือชองทางอื่นๆ  การกระจายขอมูลแบบปากตอปากคือสิ่งที่ชวยสรางความนิยมของไซตใหเปนที่รจักในกลุมผูใชและ Google ู  โดยมักจะมาควบคูกับเนื้อหาทีมีคุณภาพ ่ ผูเขียนบล็อกพบเห็นขอมูลบางสวนของคุณและรูสึกชื่นชอบ และนําไปอางอิงในบทความบนบล็อก  แมคุณสามารถเขียนเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใดๆ ก็ได แตตอไปนี้คือแนวปฏิบตที่ดทสุดบางประการที่เราแนะนํา: ั ิ ี ี่ วิธีปฏิบัติในการเผยแพรเนื้อหา • เขียนขอความที่อานงาย - ผูใชยอมชอบอานเนื้อหาที่เรียบเรียงไดดและอานงาย   ี หลีกเลี่ยง: • การเขียนขอความอยางสะเพราทีสะกดคําผิดและใชหลักไวยากรณไมถูกตอง ่ • การฝงขอความลงในรูปภาพเปนเนื้อหาแบบขอความ (เนื่องจากผูใชอาจตองการ คัดลอกและวางขอความนั้น ซึงเครื่องมือคนหาไมสามารถอานได) ่ • คุมประเด็นเนื้อหา – การจัดระเบียบเนื้อหานันเปนประโยชนตอผูเขาชมไซต ้ ใหสามารถรับรูถึงจุดเริมตนของประเด็นเนื้อหาและจุดสิ้นสุดได การแบงเนื้อหาออกเปนสวนๆ  ่ ตามตรรกะจะชวยใหผูใชพบเนื้อหาทีตองการไดรวดเร็วขึ้น ่ หลีกเลี่ยง: • การอัดเนื้อหาของประเด็นตางๆ ไวในหนาเว็บเดียวกันโดยไมไดจัดยอหนา แบงหัวขอยอย หรือการแบงเคาโครงหนา • ใชภาษาที่สอดคลองกับเนื้อหา - นึกถึงขอความคนหาทีผูใชอาจระบุเพื่อคนหาเนื้อหาในไซตของคุณ ่ ผูใชที่มความรูเกี่ยวกับหัวขอนันอาจเลือกใชคาหลักในขอความคนหาที่แตกตางจากผูใชทไมมีความรูใน ี ้ ํ ี่ หัวขอนั้นๆ เชน ผูติดตามกีฬาเบสบอลมายาวนานอาจจะคนหาคําวา [nlcs] ซึ่งเปนตัวยอของ National League Championship Series ในขณะทีผูที่เพิ่งเริ่มสนใจกีฬาชนิดนี้อาจระบุขอความคนหาทั่วไป เชน ่ [baseball playoffs] การคาดการณและคํานึงถึงความแตกตางในพฤติกรรมการคนหา ในขณะเขียนเนื้อหาของคุณ (การใชวลีหลักรวมกันอยางลงตัว) ยอมสงผลดีตอการคนหา Google AdWords ไดจดทํา เครื่องมือคําหลัก ทีใชงานงายเพื่อชวยใหคุณคนพบคําหลักใหมๆ ั ่ ที่แตกตางกันและรับทราบปริมาณการคนหาคําหลักแตละคําโดยประมาณ นอกจากนั้น Webmaster คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 13. Tools ของ Google ยังใหบริการ ขอความคนหายอดนิยม ที่จะมีชื่อไซตของคุณปรากฏอยูในนั้น  และขอความคนหาทีทําใหผูใชสวนใหญเขาชมไซตของคุณ ่ • สรางเนื้อหาแปลกใหมไมซาใคร – เนื้อหาที่แปลกใหมไมเพียงแตจะทําใหฐานผูเขาชมที่มีอยูเดิม ้ํ กลับมาชมไซตของคุณเปนประจําเทานั้น แตยังดึงดูดผูเขาชมรายใหมไดดวยเชนกัน หลีกเลี่ยง: • การปรับปรุงขอมูลเดิม (หรือแมแตการคัดลอก) ที่ใหประโยชนเพียงนอยนิดแกผใช ู • การใสเนื้อหาทีทําซ้ําหรือเนื้อหาทีใกลเคียงกับเนื้อหาเดิมลงทั่วทั้งเว็บไซตของคุณ ่ ่ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ เนื้อหาทีทําซ้ํา) ่ • เสนอเนื้อหาหรือบริการพิเศษ - ลองเสนอบริการใหมที่เปนประโยชนที่ไซตอื่นๆ ไมมีให นอกจากนี้ คุณยังสามารถเขียนงานวิจยทีคิดคนขึ้นเอง รายงานขาวสารที่นาตื่นเตน หรือยกระดับฐานผูใช ั ่ ซึ่งไซตอื่นๆ อาจขาดทรัพยากรหรือความชํานาญในการทําสิงเหลานี้ ่ • สรางเนื้อหาโดยยึดผูใชของคุณเปนสําคัญ ไมใชเครื่องมือคนหา – การออกแบบไซตใหสอดรับ กับความตองการของผูเขาชม และการจัดการไซตใหเครื่องมือคนหาเขาถึงไดงายยอมสงผลในเชิงบวก หลีกเลี่ยง: • การสอดแทรกคําหลักที่ไมจําเปนโดยคํานึงถึงเครื่องมือคนหาเปนหลัก เนื่องจากคําหลัก เหลานั้นเปนทีนารําคาญหรือไรสาระสําหรับผูใช ่ • การเขียนกลุมขอความ เชน quot;frequent misspellings used to reach this pagequot; (การสะกดผิดบอยครั้งนําทางมายังหนาเว็บนี) ซึ่งเปนประโยชนตอผูใชเพียงนอยนิด ้ • การซอนขอความจากผูใช การซอนขอความจากผูใช เพื่อหลอกลวง แตกลับแสดง  ขอความนั้นแกเครื่องมือคนหา ปรับปรุงการเขียนขอความการเชื่อมโยง ขอความการเชือมโยงเปนขอความที่ผใชสามารถคลิกเพื่อติดตามผลของลิงก และจะถูกวางไวภายในแท็ก ่ ู การเชื่อมโยง <a href=quot;...quot;></a> ขอความการเชือมโยงนี้บงบอกถึงเนื้อหาในหนาเว็บหนึ่งทีแสดงบทความไดอยางถูกตอง ่ ่ ขอความการเชือมโยงนี้จะบอกผูใชและ Google เกี่ยวกับหนาเว็บที่คุณกําลังติดตามไป ลิงกบนหนาเว็บของคุณ ่ อาจเปนลิงกภายในที่นําทางไปยังหนาเว็บอื่นๆ ภายในไซตของคุณ หรือเปนลิงกภายนอกทีเชื่อมไปสูเนื้อหา ่ บนไซตอื่นๆ สําหรับทั้งสองกรณีนี้ ยิ่งคุณเขียนขอความการเชื่อมโยงใหชดเจนเทาไร ั ก็ยิ่งทําใหผูใชเขาถึงไดงายยิ่งขึ้นเทานั้น รวมทั้ง Google ยังเขาใจไดวาหนาเว็บที่คุณกําลังเชื่อมโยง ไปนั้นเกี่ยวของกับเรื่องใด คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 14. วิธีปฏิบัติในการเขียนขอความการเชื่อมโยง • เลือกใชขอความที่ไดใจความ - ขอความการเชื่อมโยงที่คณใชเปนลิงกนนควรใหขอมูลคราวๆ  ุ ั้ เกี่ยวกับหนาเว็บปลายทางลิงกนั้นๆ หลีกเลี่ยง: • การเขียนขอความการเชื่อมโยงดวยคําทัวๆ ไป เชน quot;pagequot; (หนาเว็บ), quot;articlequot; ่ (บทความ) หรือ quot;click herequot; (คลิกที่น) ี่ • การเขียนขอความที่หลุดประเด็น หรือไมเกี่ยวของกับเนื้อหาในหนาเว็บปลายทางลิงก • การใช URL ของหนาเว็บเปนขอความการเชื่อมโยงเปนสวนใหญ (แมจะสามารถใชงาน ในลักษณะดังกลาวได เชน เพื่อการโฆษณาหรืออางอิงที่อยูเว็บแหงใหม) • เขียนขอความใหกระชับ - สิ่งสําคัญคือขอความสั้นแตสื่อใจความ ซึ่งโดยทั่วไปมักประกอบดวย คําไมกี่คําหรือวลีสั้นๆ หลีกเลี่ยง: • ขอความการเชือมโยงขนาดยาว เชน ประโยคที่เยิ่นเยอหรือยอหนาสั้นๆ ่ • จัดรูปแบบลิงกที่สะดุดตา – ชวยใหผใชสามารถแยกแยะไดอยางงายดายวาสวนใดคือขอความธรรมดา ู หรือสวนใดคือลิงกขอความการเชื่อมโยง ทวา เนื้อหาของคุณจะดอยประโยชนทันทีหากผูใชมองขามลิงก ขอความการเชือมโยงหรือคลิกโดยไมไดตั้งใจ ่ หลีกเลี่ยง: • การใช CSS หรือการจัดรูปแบบขอความทีทําใหลิงกดูเหมือนกับขอความทัวๆ ไป ่ ่ • อยาลืมนึกถึงขอความการเชื่อมโยงสําหรับลิงกภายใน - คุณอาจมักจะนึกถึงการสรางลิงก ไปยังไซตอนๆ แตโปรดใสใจกับขอความการเชื่อมโยงสําหรับลิงกภายในใหมากยิงขึ้น เพราะจะชวยใหผใช ื่ ่ ู และ Google นําทางมายังไซตของคุณไดงายยิ่งขึ้น หลีกเลี่ยง: • การใชขอความการเชื่อมโยงทีประกอบดวยคําหลักที่มากเกินจําเปนหรือที่เยินเยอ ่ ่ เพื่อดึงดูดเครื่องมือคนหา • การสรางลิงกทไมจําเปนซึ่งไมเปนประโยชนตอการนําทางของผูใชในไซต ี่  ใชแท็กหัวขอใหเหมาะสม แท็กหัวขอ (โปรดอยาสับสนกับ <head> ของแท็ก HTML หรือ สวนหัวของ HTTP) ใชเพื่อนําเสนอโครงสรางของ หนาเว็บแกผใช แท็กหัวขอมีทงหมด 6 ขนาด และเริ่มตนดวย <h1> ซึ่งเปนสวนสําคัญทีสด และปดทายดวย <h6> ู ั้ ่ ุ ซึ่งมีความสําคัญนอยทีสด ่ ุ คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 15. บนหนาเว็บแสดงขาว เราอาจวางชื่อไซตไวภายในแท็ก <h1> และวางหัวขอขาวไวภายในแท็ก <h2> เนื่องจากแท็กหัวขอสงผลใหขอความภายในแท็กนั้นมีขนาดใหญกวาขอความอื่นๆ ในหนาเว็บ ผูใชจึงรับรูไดวาขอความนั้นมีความสําคัญ และยังชวยใหผูใชทําความเขาใจประเภทของเนื้อหา  ที่อยูถดลงไปจากหัวขอนั้นได ขนาดหัวขอทีแตกตางกันไดกอใหเกิดโครงสรางลําดับขั้นของเนื้อหาของคุณ ั ่  ที่ชวยใหผใชสารวจเอกสารของคุณไดงายยิงขึ้น ู ํ ่ วิธีปฏิบัติในการใชแท็กหัวขอ • จินตนาการวาคุณกําลังรางเคาโครงเนื้อหา - ไมตางไปจากการเขียนเคาโครงเนื้อหาสําหรับ รายงานเลมใหญ นั่นคือจัดระเบียบขอมูลวาประเด็นหลักและประเด็นรองของเนื้อหาในหนาเว็บ ควรอยูที่ใด และตัดสินใจวาควรวางแท็กหัวขออยางไรใหเหมาะสม  หลีกเลี่ยง: • การวางขอความภายในแท็กหัวขอในตําแหนงที่ไมเกิดประโยชนในการจัดโครงสราง หนาเว็บ • การใชแท็กหัวขอในตําแหนงที่แท็กอื่นๆ มีความเหมาะสมกวา เชน <em> และ <strong> • การใชแท็กหัวขอขนาดแตกตางกันอยางไมเหมาะสม • กําหนดหัวขอบนหนาเว็บใหเหมาะสม - ไมวางแท็กหัวขออยางพร่ําเพรือ แท็กหัวขอที่ปรากฏบนหนาเว็บ ่ มากเกินไปทําใหผูใชมีปญหาในการอานขอมูลคราวๆ และยากตอการพิจารณาวาสวนใดคือจุดสิ้นสุดหัวขอ และสวนใดคือจุดเริ่มตนหัวขอใหม หลีกเลี่ยง: • การวางแท็กหัวขอบนหนาเว็บอยางฟุมเฟอย • การใสขอความทั้งหมดบนหนาเว็บลงในแท็กหัวขอ • การใชแท็กหัวขอสําหรับจัดรูปแบบขอความเพียงอยางเดียว ไมไดใชสําหรับจัดโครงสราง ปรับใชภาพของคุณอยางเหมาะสม ภาพตางๆ ดูเหมือนเปนสวนประกอบของไซตทสื่อสารไดอยางตรงไปตรงมา แตคุณสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ี่ การใชงานภาพเหลานั้นใหเกิดประโยชนสูงสุดได ภาพทั้งหมดสามารถมีชื่อไฟลที่แตกตางกัน รวมทั้งแอตทริบิวต quot;altquot; ซึ่งคุณควรใชประโยชนจากทั้งสองสิ่งนี้ แอตทริบิวต quot;altquot; ชวยใหคุณเขียนขอความสํารองที่จะปรากฏเมื่อมีเหตุขัดของที่ทาใหไมสามารถแสดงรูปภาพได ํ คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 16. ขอความ alt ของเราในที่นี้เปนขอความสั้นๆ แตอธิบายภาพไดอยางเทียงตรง ่ เหตุใดจึงใชแอตทริบิวตนี้ หากผูใชเขาชมไซตของคุณผานเบราวเซอรที่ไมสนับสนุนภาพ หรือกําลังใชเทคโนโลยี อื่นๆ เพื่อเขาชมไซต เชน โปรแกรมอานจอภาพ เนื้อหาของแอตทริบิวต alt จะเปนตัวบอกขอมูลเกี่ยวกับภาพนั้นๆ ใหผใชไดรับทราบ ู ภาพของเราไมสามารถแสดงแกผูใชเนื่องจากเหตุขัดของบางประการ แตอยางนอยยังปรากฏขอความ alt เหตุผลอีกประการคือ หากคุณใชภาพเปนลิงก ขอความ alt ของภาพนี้จะทํางานเชนเดียวกับขอความ การเชื่อมโยง ที่ปรากฏเปนลิงกขอความ อยางไรก็ตาม เราไมขอแนะนําใหคุณใชภาพเปนลิงกนําทางภายในไซต มากเกินไปในกรณีทสามารถใชลิงกขอความได สุดทาย การปรับชื่อไฟลภาพและขอความ alt ของคุณใหเหมาะสม ี่ จะชวยใหโครงการคนหาภาพอยาง Google Image Search ทําความเขาใจภาพของคุณไดดียิ่งขึ้น วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับภาพ • ตั้งชื่อไฟลภาพและขอความ alt ใหกระชับแตไดใจความ - เชนเดียวกับสวนประกอบอื่นๆ ของหนาเว็บ ที่ตองปรับใหเหมาะสม ชื่อไฟลและขอความ alt (สําหรับภาษา ASCII) ที่ดที่สดคือสั้นแตไดใจความ ี ุ หลีกเลี่ยง: • การตั้งชื่อไฟลดวยชื่อทั่วๆ ไป เชน quot;image1.jpgquot;, quot;pic.gifquot;, quot;1.jpgquot; หากเปนไปได (บางไซตที่มภาพนับพันอาจใชการตั้งชื่อภาพโดยอัตโนมัต) ี ิ • การตั้งชื่อไฟลที่ยดยาว ื • การยัดเยียดคําหลักลงในขอความ alt หรือคัดลอกและวางประโยคทั้งหมดลงไป • สรางขอความ alt เมื่อใชภาพเปนลิงก - หากคุณตัดสินใจวาจะใชภาพเปนลิงก การใสขอความ alt  ใหกับภาพชวยให Google ทําความเขาใจเกี่ยวกับหนาเว็บทีปลายทางลิงกไดดียิ่งขึ้น ่ จินตนาการวาคุณกําลังเขียนขอความการเชื่อมโยงเพื่อใชเปนลิงกขอความ หลีกเลี่ยง: • การเขียนขอความ alt ที่ยดยาวซึ่งอาจตองสงสัยวาเปนสแปม ื • การใชเฉพาะภาพเปนลิงกนําทางภายในไซต คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central
  • 17. จัดเก็บภาพไวในไดเรกทอรีเดียวกัน - ไมควรจัดเก็บภาพไวในหลายๆ ไดเรกทอรีและไดเรกทอรียอย ทั่วทั้งโดเมนของคุณ แตควรจัดเก็บภาพไวในไดเรกทอรีเดียวกัน (เชน brandonsbaseballcards.com/images/) ซึ่งจะทําใหพาธที่ไปยังภาพของคุณไมซับซอน • ใชชนิดไฟลทไดรับการสนับสนุนโดยทัวไป - รูปแบบของภาพที่เบราวเซอรสวนใหญสนับสนุน ไดแก ี่ ่ JPEG, GIF, PNG และ BMP คุณควรกําหนดใหนามสกุลของชื่อไฟลตรงกับชนิดไฟล การใช robots.txt อยางมีประสิทธิภาพ ไฟล quot;robots.txtquot; จะบอกใหเครื่องมือคนหารับรูวาสามารถเขาถึงไดหรือไมกอนที่จะรวบรวมขอมูลจากบางสวน ของไซตของคุณ ไฟลที่จะตองตั้งชื่อวา quot;robots.txtquot; จะถูกวางอยูในไดเรกทอรีรากของไซต ที่อยูของไฟล quot;robots.txtquot; ของเรา บอทของเครื่องมือคนหาตามมาตรฐานทั้งหมด (แสดงดวยอักขระตัวแทน *) นั้น ไมควรเขาถึงและรวบรวมเนื้อหา ใน /images/ หรือทุก URL ที่พาธขึ้นตนดวย /search คุณอาจไมตองการใหเกิดการรวบรวมขอมูลในบางหนาเว็บเพจ เนื่องจากหนาเว็บนั้นๆ อาจไมเปนประโยชนตอผูใช แมจะพบหนาเว็บนั้นในผลการคนหา หากคุณตองการปองกันไมใหเครื่องมือคนหารวบรวมขอมูลหนาเว็บตางๆ ของคุณ Webmasters Tools ของ Google ไดใหบริการ เครื่องมือสราง robots.txt เพื่อชวยคุณสรางไฟลนี้ โปรดทราบวาหากไซตของคุณใชโดเมนยอยและตองการปองกันการรวบรวมขอมูลในบางหนาเว็บที่อยูบนโดเมนย อยแหงใดแหงหนึ่ง คุณจะตองสรางไฟล robots.txt สําหรับโดเมนยอยนั้นโดยเฉพาะ หากตองการขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ robots.txt เราขอแนะนําคูมือศูนยชวยเหลือเว็บมาสเตอรในสวนที่เกี่ยวกับ การใชไฟล robots.txt  และยังมีวิธีอื่นๆ อีกมากในการปองกันไมใหเนื้อหาปรากฏบนผลการคนหา เชน การเพิ่ม quot;NOINDEXquot; ลงในเมตาแท็กของ robot การใช .htaccess กับไดเรกทอรีที่ควบคุมโดยรหัสผาน และการใช Webmaster Tools ของ Google เพื่อลบเนื้อหาทีถูกรวบรวมขอมูลออก Matt Cutts วิศวกรของ Google กลาวถึง คําเตือนเกียวกับวิธตางๆ ่ ่ ี  ในการปองกัน URL แตละรายการ ผานวิดีโอความชวยเหลือ คูมือสําหรับผูเริ่มตนใชโปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องมือคนหาของ Google ฉบับที่ 1.1, 13 พฤศจิกายน 2551 ฉบับลาสุดอยูที่ Google Webmaster Central