SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
บทที่  9   สถิติเชิงบรรยาย
9.1  การแจกแจงความถี่ การแจกแจง   ( Distribution)   หมายถึง ลักษณะที่   ตัวแปรตัวหนึ่งจะมีค่าต่างๆ ในขอบเขตของค่าที่เป็นไปได้ ความถี่   ( Frequency)  หมายถึง จำนวนรายการ   ข้อมูลหรือจำนวนคะแนนที่ซ้ำกัน การแจกแจงความถี่ ( Frequency distribution)   หมายถึง การแจกแจงจำนวนรายการข้อมูลหรือคะแนนที่ซ้ำกันที่ตกอยู่ในช่วงคะแนนที่กำหนดไว้
การสร้างตารางแจกแจงความถี่ 1)  การแจกแจงความถี่ของข้อมูลแบบ  จัดกลุ่ม / ไม่ต่อเนื่อง   ( Categorical data) 2)  การแจกแจงความถี่ของข้อมูลแบบต่อเนื่อง   -  แจกแจงแบบไม่ต้องจัดเป็นกลุ่ม   เป็นการเรียงลำดับคะแนน -  แจกแจงแบบจัดเป็นกลุ่ม
ขั้นตอนการสร้างตารางแจกแจงความถี่ 1)  หาข้อมูลที่มีค่าสูงสุดและต่ำสุด   2)  หาผลต่างระหว่างข้อมูลค่าสูงสุดกับต่ำสุด  ( พิสัย ) 3)  กำหนดจำนวนชั้น นิยมกำหนดระหว่าง  5-20   ชั้น   4)  คำนวณหาขนาดความห่างของข้อมูลแต่ละชั้นหรืออันตรภาค   ( Interval)  จากสูตร i  = (U – L) / N
9.2  โค้งของการแจกแจงความถี่ ถ้าให้คะแนนเป็นแกน  X   และจำนวนความถี่ เป็นแกน  Y   เขียนกราฟเส้นแสดงความสัมพันธ์จะได้ โค้งของการแจกแจงความถี่
1)  โค้งปกติ  ( Normal Curve จำนวนคนที่ได้คะแนนสูงและต่ำมีจำนวนน้อย  คะแนนปานกลางมีจำนวนมากที่สุด  ถ้าลากเส้นตรงจากจุดยอดโค้งมาตั้งฉากกับฐานแล้วพับตามรอยประ  ส่วนโค้งจะทับกันสนิท Y X
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คุณสมบัติของโค้งการแจกแจงปกติ
2 )  โค้งเบ้ทางบวก  ( Positive Skewness) จำนวนคนที่ได้คะแนนต่ำมีจำนวนมาก คนที่ได้คะแนนสูงมีจำนวนน้อย Y X
3)  โค้งเบ้ทางลบ  ( Negative Skewness) จำนวนคนที่ได้คะแนนสูงมีจำนวนมาก คนที่ได้คะแนนต่ำมีจำนวนน้อย Y X
9.3   การวัดตำแหน่งเปรียบเทียบ (Measures of Relative Standing)
1 )  อัตราส่วน  (Ratio ) และสัดส่วน  (Proportion ) ,[object Object],[object Object],[object Object],ความถี่ของ  B
[object Object],[object Object],ความถี่ทั้งหมด
2 )   ร้อยละ  (Percent) ,[object Object],[object Object],ความถี่ทั้งหมด = สัดส่วน  x 100
3 )   ควอร์ไทล์  (Quartile)   เดไซล์  (Decile)   และเปอร์เซนไทล์  (Percentile) ,[object Object]
[object Object]
[object Object]
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าควอร์ไทล์  (Q)   เดไซล์  (D)   และเปอร์เซนไทล์  (P) ค่าน้อย ค่ามาก Q 1 Q 2 Q 3 D 1   D 2   D 3   D 4   D 5   D 6   D 7   D 8   D 9 P 1   P 10  P 20   P 30   P 40   P 50   P 60   P 70   P 80   P 90  P 100
9.4   การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง  และการวัดการกระจาย ( Measures of Central Tendency)
[object Object],9.4.1   การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
1)  ฐานนิยม  ( Mode) ,[object Object]
2)  มัธยฐาน  (Median) ,[object Object]
3)  ค่าเฉลี่ยเลขคณิต  (Arithmetic Mean) ,[object Object]
1)  พิสัย  (Range) ,[object Object],9.4.2  การวัดการกระจาย   (Measures of Dispersion)
2)  ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์   (Quartile Deviation) ,[object Object],[object Object]
3.  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน   (Standard Deviation) ,[object Object],[object Object]
4)  ความแปรปรวน   (  Variance) ,[object Object],[object Object],[object Object]
5.  สัมประสิทธ์การกระจาย  (Coefficient of variation) ,[object Object],[object Object]
คะแนนชุดหนึ่งที่มีคะแนนเฉลี่ยเป็นศูนย์  ความแปรปรวนเป็นหนึ่ง 9.5  คะแนนมาตรฐาน  ( Standard Scores)
ที่มา   คะแนนดิบแต่ละตัวไม่มีความหมายดีพอในการเปรียบเทียบ  จึงได้นำคะแนนดิบไปหาความสัมพันธ์กับค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ  ข้อมูลชุดนั้นว่า  คะแนนดิบแต่ละตัวอยู่ห่างจากค่ากลาง  ( ค่าเฉลี่ย )  เป็นกี่เท่าของ  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ( S.D. )
การแปลงคะแนนดิบเป็นคะแนนมาตรฐาน   Z = (x – x)  /  S.D. (Mean = 0, S.D. = 1) Z – score T = 50 + 10Z (Mean = 50, S = 10) T - score

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอน
othanatoso
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
อภิเทพ ทองเจือ
 

Was ist angesagt? (17)

สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
Statistics 06
Statistics 06Statistics 06
Statistics 06
 
ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอน
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
 
9789740330363
97897403303639789740330363
9789740330363
 
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูลวิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
Chapt3
Chapt3Chapt3
Chapt3
 
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผลStat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
 
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง377 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 

Andere mochten auch

การคำนวณเกรด
การคำนวณเกรดการคำนวณเกรด
การคำนวณเกรด
Ponpimon Yotanon
 
เรียนรู้การใช้งาน Excel
เรียนรู้การใช้งาน Excelเรียนรู้การใช้งาน Excel
เรียนรู้การใช้งาน Excel
teachcomkhun
 
คะแนนเก็บม6 2
คะแนนเก็บม6 2คะแนนเก็บม6 2
คะแนนเก็บม6 2
Rinry LunlaClub
 
Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
krupornpana55
 
คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1
คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1
คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1
Lunla Nui
 
เกณฑ์การให้คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนนเกณฑ์การให้คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
Jaruwrun Buranapon
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
krurutsamee
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนน
supphawan
 

Andere mochten auch (17)

1 เขียนโปรแกรมภาษา C# "คำนวณคะแนนเฉลี่ย"
1 เขียนโปรแกรมภาษา C# "คำนวณคะแนนเฉลี่ย"1 เขียนโปรแกรมภาษา C# "คำนวณคะแนนเฉลี่ย"
1 เขียนโปรแกรมภาษา C# "คำนวณคะแนนเฉลี่ย"
 
2. เขียนโปรแกรม C# "ตัดเกรด"
2. เขียนโปรแกรม C# "ตัดเกรด"2. เขียนโปรแกรม C# "ตัดเกรด"
2. เขียนโปรแกรม C# "ตัดเกรด"
 
การคำนวณเกรด
การคำนวณเกรดการคำนวณเกรด
การคำนวณเกรด
 
การวิเคราะห์ข้อสอบด้วยโปรแกรม Evana
การวิเคราะห์ข้อสอบด้วยโปรแกรม Evanaการวิเคราะห์ข้อสอบด้วยโปรแกรม Evana
การวิเคราะห์ข้อสอบด้วยโปรแกรม Evana
 
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมานการสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
 
Excel 1
Excel 1Excel 1
Excel 1
 
เรียนรู้การใช้งาน Excel
เรียนรู้การใช้งาน Excelเรียนรู้การใช้งาน Excel
เรียนรู้การใช้งาน Excel
 
Frequence
FrequenceFrequence
Frequence
 
คะแนนเก็บม6 2
คะแนนเก็บม6 2คะแนนเก็บม6 2
คะแนนเก็บม6 2
 
Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 
คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1
คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1
คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1
 
เกณฑ์การให้คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนนเกณฑ์การให้คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
 
excel training
excel trainingexcel training
excel training
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนน
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 

Ähnlich wie สถิติเชิงบรรยาย

%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
Laongphan Phan
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
pattya0207
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
othanatoso
 

Ähnlich wie สถิติเชิงบรรยาย (20)

Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
statistic_research.ppt
statistic_research.pptstatistic_research.ppt
statistic_research.ppt
 
Epi info unit09
Epi info unit09Epi info unit09
Epi info unit09
 
สถิติStat
สถิติStatสถิติStat
สถิติStat
 
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
%Ca%c3%d8%bb%ca%b6%d4%b5%d4%5 b1%5d
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
 
s
ss
s
 
Statistics 06
Statistics 06Statistics 06
Statistics 06
 
Statistics 06
Statistics 06Statistics 06
Statistics 06
 
การแจกแจงความน่าจะเป็น
การแจกแจงความน่าจะเป็นการแจกแจงความน่าจะเป็น
การแจกแจงความน่าจะเป็น
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
Inferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & RegressionInferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & Regression
 
Epi info unit08
Epi info unit08Epi info unit08
Epi info unit08
 
Spss sriprapai
Spss sriprapaiSpss sriprapai
Spss sriprapai
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 

สถิติเชิงบรรยาย

  • 1. บทที่ 9 สถิติเชิงบรรยาย
  • 2. 9.1 การแจกแจงความถี่ การแจกแจง ( Distribution) หมายถึง ลักษณะที่ ตัวแปรตัวหนึ่งจะมีค่าต่างๆ ในขอบเขตของค่าที่เป็นไปได้ ความถี่ ( Frequency) หมายถึง จำนวนรายการ ข้อมูลหรือจำนวนคะแนนที่ซ้ำกัน การแจกแจงความถี่ ( Frequency distribution) หมายถึง การแจกแจงจำนวนรายการข้อมูลหรือคะแนนที่ซ้ำกันที่ตกอยู่ในช่วงคะแนนที่กำหนดไว้
  • 3. การสร้างตารางแจกแจงความถี่ 1) การแจกแจงความถี่ของข้อมูลแบบ จัดกลุ่ม / ไม่ต่อเนื่อง ( Categorical data) 2) การแจกแจงความถี่ของข้อมูลแบบต่อเนื่อง - แจกแจงแบบไม่ต้องจัดเป็นกลุ่ม เป็นการเรียงลำดับคะแนน - แจกแจงแบบจัดเป็นกลุ่ม
  • 4. ขั้นตอนการสร้างตารางแจกแจงความถี่ 1) หาข้อมูลที่มีค่าสูงสุดและต่ำสุด 2) หาผลต่างระหว่างข้อมูลค่าสูงสุดกับต่ำสุด ( พิสัย ) 3) กำหนดจำนวนชั้น นิยมกำหนดระหว่าง 5-20 ชั้น 4) คำนวณหาขนาดความห่างของข้อมูลแต่ละชั้นหรืออันตรภาค ( Interval) จากสูตร i = (U – L) / N
  • 5. 9.2 โค้งของการแจกแจงความถี่ ถ้าให้คะแนนเป็นแกน X และจำนวนความถี่ เป็นแกน Y เขียนกราฟเส้นแสดงความสัมพันธ์จะได้ โค้งของการแจกแจงความถี่
  • 6. 1) โค้งปกติ ( Normal Curve จำนวนคนที่ได้คะแนนสูงและต่ำมีจำนวนน้อย คะแนนปานกลางมีจำนวนมากที่สุด ถ้าลากเส้นตรงจากจุดยอดโค้งมาตั้งฉากกับฐานแล้วพับตามรอยประ ส่วนโค้งจะทับกันสนิท Y X
  • 7.
  • 8. 2 ) โค้งเบ้ทางบวก ( Positive Skewness) จำนวนคนที่ได้คะแนนต่ำมีจำนวนมาก คนที่ได้คะแนนสูงมีจำนวนน้อย Y X
  • 9. 3) โค้งเบ้ทางลบ ( Negative Skewness) จำนวนคนที่ได้คะแนนสูงมีจำนวนมาก คนที่ได้คะแนนต่ำมีจำนวนน้อย Y X
  • 10. 9.3 การวัดตำแหน่งเปรียบเทียบ (Measures of Relative Standing)
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17. ความสัมพันธ์ระหว่างค่าควอร์ไทล์ (Q) เดไซล์ (D) และเปอร์เซนไทล์ (P) ค่าน้อย ค่ามาก Q 1 Q 2 Q 3 D 1 D 2 D 3 D 4 D 5 D 6 D 7 D 8 D 9 P 1 P 10 P 20 P 30 P 40 P 50 P 60 P 70 P 80 P 90 P 100
  • 18. 9.4 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง และการวัดการกระจาย ( Measures of Central Tendency)
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 29. ที่มา คะแนนดิบแต่ละตัวไม่มีความหมายดีพอในการเปรียบเทียบ จึงได้นำคะแนนดิบไปหาความสัมพันธ์กับค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ข้อมูลชุดนั้นว่า คะแนนดิบแต่ละตัวอยู่ห่างจากค่ากลาง ( ค่าเฉลี่ย ) เป็นกี่เท่าของ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. )
  • 30. การแปลงคะแนนดิบเป็นคะแนนมาตรฐาน Z = (x – x) / S.D. (Mean = 0, S.D. = 1) Z – score T = 50 + 10Z (Mean = 50, S = 10) T - score