SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
การเปลี่ยนแปลง 
ของเทคโนโลยี 
รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นางสาวณัฐชญา เพ็งธรรม รหัสนักศึกษา 563050086-6 
นายประชา นาจรูญ รหัสนักศึกษา 563050106-6 
นายภัทรพงศ์ วรศักดิ์มหาศาล รหัสนักศึกษา 563050120-2 
นายรชต ทองคาสุข รหัสนักศึกษา 563050124-4 
นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา 
เสนอ… อาจารย์ ดร. อนุชา โสมาบุตร 
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ครูสมศรีเป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้มีความรู้และมีความเชี่ยวชาญใน 
ด้านนีเ้ป็นอย่างดี โดยวิธีการสอนนักเรียนในแต่ละครัง้ ครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยาย 
ให้นักเรียนจา และสื่อการสอนที่นามาใช้ประกอบการสอนก็เป็นในลักษณะที่เน้นการ 
ถ่ายทอดความรู้ด้วย ไม่ว่าจะเป็นหนังสือเรียน, การสอนบนกระดาน หรือแม้กระทงั่ 
วิดีโอที่นามาเปิดให้นักเรียนได้เรียน โดยครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่า การสอนที่ดีและมี 
ประสิทธิภาพนัน้ คือสามารถทาให้นักเรียนสามารถจาเนือ้หา เรื่องราวในบทเรียนให้ 
ได้มากที่สุด ส่วนนักเรียนของครูสมศรีก็เป็นประเภทที่ว่ารอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียง 
อย่างเดียว ดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนดทัง้หมด เรียนไปได้ไม่นานก็เบื่อ 
ไม่กระตือรือร้นที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให้ทาแค่ไหนก็ทาแค่นัน้พอซงึ่จาก 
วิธีการสอนของครูสมศรีและลักษณะของนักเรียนที่กล่าวมาทัง้หมด ได้ส่งผลให้เกิด 
ปัญหาขึน้คือเมื่อเรียนผ่านมาได้ไม่นานก็ทาให้ลืมเนือ้หาที่เคยเรียนมา ไม่สามารถคิดได้ 
ด้วยตนเองและไม่สามารถที่จะนามาใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้
ภารกิจ 
1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ตลอดจน 
วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่ 
พร้อมทงั้ให้เหตุผลประกอบ 
2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการ 
เปลี่ยนแปลง 
ทางด้านใดบ้าง พร้อมทงั้อธิบายเหตุผลสนับสนุน 
3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรีให้เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่ 
เน้น 
ผ้เูรียนเป็นสาคัญ
การเรียนการสอนในห้องเรียนของครู 
สมศรี ยังยึดติดกับแนวคิดดัง้เดิมอยู่ ครูสมศรี 
ยังมีความเชื่อว่า การสอนที่ดีและมี 
ประสิทธิภาพนัน้ คือการทาให้นักเรียนสามารถ 
จาเนือ้หาและเรื่องราวในบทเรียนให้ได้มากทสีุ่ด 
โดยวิธีการสอนยังเน้นการบรรยายหรืออธิบาย 
ในขณะที่นักเรียนก็นงั่ฟังและรอรับความรู้จาก 
ครูสมศรีเพียงอย่างเดียว ซึ่งขัดกับแนวคิดของ 
ยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ที่ว่า 
“ผู้เรียนต้องยกระดับการเรียนที่เพิ่มจาก “การ 
จดจา” ข้อเท็จจริงไปสู่การเริ่มต้นที่จะคิดอย่าง 
มีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์”
“การที่นักเรียนจะมีทักษะในการคิด วิเคราะห์และตัดสินใจ ครูผ้สูอนจาเป็น 
จะต้องใช้เทคนิค วิธีการทางเทคโนโลยีต่างๆ ที่จะนามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียน 
ได้รับความรู้ใหม่ๆ แต่จะเห็นได้ว่า สื่อการสอนที่ครูสมศรีนามาใช้ซึ่งได้แก่ 
หนังสือเรียน, การสอนบนกระดาน หรือแม้กระทัง่วิดีโอที่นามาเปิดให้นักเรียน 
ได้เรียน ยังขาดความทันสมัยและนวัตกรรมใหม่ๆจึงเป็นการปิดกนั้โอกาส 
นักเรียนในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารหรือข้อเท็จจริงได้อย่างรวดเร็ว”
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ 
ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ 
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้า 
ทางการศึกษา 
(The Changing 
Face of Education) 
การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน 
(The Changing 
Learner) 
การเปลี่ยนแปลงมาสู่ 
การเรียนที่เน้น 
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา 
(The Changing Face of Education) 
แนวคิดดัง้เดิมเกี่ยวกับการเรียนและการสอน 
ครูจะยืนอยู่หน้าชัน้เรียน และ ถ่ายทอดเนือ้หา 
ด้วยการบรรยาย อธิบาย ในขณะที่ผู้เรียนนงั่ฟัง 
และรอรับความรู้จากครู "เน้นทักษะการจดจา” 
ท่องจาอย่างเดียวเท่านัน้ 
แนวคิดใหม่เกี่ยวกับการเรียนและการสอน 
จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยี 
และสารสนเทศต่างๆให้เป็นประโยชน์ 
เน้นให้ผู้เรียนคิดเป็นแก้ปัญหาเป็น 
และสามารถศึกษาด้วยตนเองได้
การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน (The Changing Learner) 
ในปัจจุบันสภาพชีวิตจริงต้องการบุคคลที่มีความสามารถในการใช้ทักษะการให้เหตุผลในระดับที่สูงขึ้น 
เพื่อการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน แนวคิดเกี่ยวกับผู้เรียนจึงต้องเปลี่ยนแปลงมุมมองใหม่ 
คือ ผู้เรียนเป็นสิ่งมีชีวิต 
ที่มีความตื่นตัว กระฉับกระเฉง และค้นหาความหมาย แสวงหาวิธีที่จะวิเคราะห์ ตงั้คา ถาม อธิบาย 
ตลอดจนทา ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
การเปลี่ยนแปลงมาสู่การเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นศนูย์กลาง 
ลงมือปฏิบัติดว้ยตนเอง 
มีโอกาสใชป้ระบวนการคิด 
ไดใ้ชส้ื่อต่างๆเพื่อการเรียนรู้ 
ไดแ้ลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับผูอ้ื่น เรียนรู้อย่างมีความสุข
ครูสมศรีควรปรับเปลี่ยนวิธีการสอนใหม่ จริงอยู่ว่าสมัยก่อนที่ครูสมศรี 
เป็นนักเรียน ความรู้สามารถจดจาได้ง่าย เนื่องจากวิทยาการและความรู้ในสมัย 
นัน้ยังมีไม่มาก และเนือ้หาหลักสูตร คงจะไม่เหมือนกันอย่างแน่นอน ซงึ่ต่างจาก 
ยุคปัจจุบัน วิทยาการความรู้ได้มีการพัฒนาขึน้มาก หลักสูตรในการสอนก็มี 
เนือ้หามากขึน้ตามไปด้วย การจดจาเนือ้หาโดยการท่องจานัน้ คงจะไม่ส่งผลดี 
มากนัก เพราะความรู้นัน้จะลืมไปอย่างรวดเร็ว ดังนัน้ควรปรับเปลี่ยนวิธีการสอน 
โดยสอนให้นักเรียนเข้าใจเนือ้หามากกว่าการจดจา อาจใช้สื่อหรือนวัตกรรม 
การศึกษาเป็นตัวช่วย และใช้เพื่อกระตุ้น ให้เนือ้หาเกิดความน่าสนใจระหว่างการ 
เรียนการสอน ฝึกให้นักเรียนได้คิด วิเคราะห์ มากกว่าจะให้นักเรียนรอรับความรู้ 
จากครูเพียงอย่างเดียว
นอกจากนัน้ก็ควรฝึกให้นักเรียนใช้เทคโนโลยี ในการศึกษา สืบค้นหาความรู้ หาก 
เกิดความไม่เข้าใจ หรือเนือ้หาที่แต่ละคนสืบค้น มีความขัดแย้งกัน ก็ให้นามาร่วม 
อภิปรายหน้าชัน้เรียนเพื่อที่จะได้หาข้อเท็จจริงและสรุปเป็นความรู้ต่อไป วิธีการ 
เหล่านี้จะส่งผลดีต่อนักเรียน และความรู้ระยะยาวของพวกเขาต่อไป 
ตัวอย่าง วิชาสังคมที่คุณครูสมศรีสอน แน่นอนว่าจะต้องเรียนเนือ้หาที่ 
เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ครูสมศรีอาจใช้สื่อภาพยนตร์ เช่น ภาพยนตร์เรื่องสุริโย 
ไท หรือตานานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มาใช้เป็นสื่อแนวทางในการสอนได้ ซึ่ง 
ถ้าเนือ้หาในภาพยนตร์ตอนใด ขัดแย้งกับข้อเท็จจริงในประวัติศาสตร์ ก็ให้ครูสมศรี 
อธิบายถึงข้อความเป็นจริงนัน้ การเรียนภูมิศาสตร์ อาจใช้เทคโนโลยี GPS หรือ 
Google Map ช่วยในการเรียนการสอนได้ 
สื่อ กระตุ้น นักเรียน ได้แนวคิด 
ใหม่
ครูอาจใช้สื่อภาพยนตร์มาเป็นตัวช่วยในการเรียนการ 
สอน
ในยุคปัจจุบัน คนเป็นครูควรจะสามารถใช้เทคโนโลยีเป็นตัวช่วยใน 
การสอนได้ แน่นอนว่าสิ่งนี้ จะเพิ่มความน่าสนใจในการเรียนการสอน 
ในชั้นเรียนมากยิ่งขึ้น พยายามกระตุ้นให้นักเรียนใช้เทคโนโลยีในทางที่ 
เป็นประโยชน์ เช่นการสืบค้นหาข้อมูลความรู้ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกที่ 
กาลังพัฒนาอย่ใูนทุกๆวัน 
ครูสมศรี 
จะต้องเน้นผ้เูรียนเป็นศูนย์กลางให้ผ้เูรียนได้คิด 
ทาความเข้าใจ และเปิดโอกาสให้มีการอภิปราย 
ร่วมกันในชนั้เรียน หากเกิดข้อขัดแย้งกับหลักฐาน 
หรือความเป็นจริงที่คนส่วนใหญ่ยอมรับ ก็ให้ครูเป็น 
ผู้อธิบายเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน 
นักเรียน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาMintra Subprue
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนAomJi Math-ed
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาsaowana
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาlikhit j.
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษาน้อง โม
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอpohn
 
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้Prachyanun Nilsook
 
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่นิพ พิทา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)Uraiwan Chankan
 
สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4Bow Tananya
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 

Was ist angesagt? (17)

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อน
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
Charpter 3
Charpter 3Charpter 3
Charpter 3
 
02
0202
02
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
 
241203 chapter03
241203 chapter03241203 chapter03
241203 chapter03
 
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
 
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
 
สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 

Andere mochten auch

Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kwPtato Ok
 
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1jittraphorn
 
นวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxนวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxFame Suraw
 
Learing environments design
Learing environments designLearing environments design
Learing environments designtooktoona
 
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาสาวกปิศาจ Kudo
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2เนตร นภา
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้guestfc034
 

Andere mochten auch (8)

Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1
 
นวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxนวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docx
 
201701 presentation
201701 presentation201701 presentation
201701 presentation
 
Learing environments design
Learing environments designLearing environments design
Learing environments design
 
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 

Ähnlich wie นวัตกรรม Chapter 2

การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้immyberry
 
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปTeaching & Learning Support and Development Center
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIApompompam
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายTaweesak Poochai
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาJune Nitipan
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701Autsa Maneeratana
 

Ähnlich wie นวัตกรรม Chapter 2 (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
201701 week 3-4
201701 week 3-4201701 week 3-4
201701 week 3-4
 
201701 week 3-4
201701 week 3-4201701 week 3-4
201701 week 3-4
 
201700 slide3 3
201700 slide3 3201700 slide3 3
201700 slide3 3
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา701
 

Mehr von Pattarapong Worasakmahasan

บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.Pattarapong Worasakmahasan
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Pattarapong Worasakmahasan
 
สรุปความคิดเห็นของนักศึกษาในการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
สรุปความคิดเห็นของนักศึกษาในการนำเสนองานหน้าชั้นเรียนสรุปความคิดเห็นของนักศึกษาในการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
สรุปความคิดเห็นของนักศึกษาในการนำเสนองานหน้าชั้นเรียนPattarapong Worasakmahasan
 

Mehr von Pattarapong Worasakmahasan (6)

ตรรกศาสตร์ (Logic)
ตรรกศาสตร์ (Logic)ตรรกศาสตร์ (Logic)
ตรรกศาสตร์ (Logic)
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3
 
สรุปความคิดเห็นของนักศึกษาในการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
สรุปความคิดเห็นของนักศึกษาในการนำเสนองานหน้าชั้นเรียนสรุปความคิดเห็นของนักศึกษาในการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
สรุปความคิดเห็นของนักศึกษาในการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
 
นวัตกรรม Chapter 1
นวัตกรรม Chapter 1นวัตกรรม Chapter 1
นวัตกรรม Chapter 1
 

นวัตกรรม Chapter 2

  • 1. การเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
  • 2. นางสาวณัฐชญา เพ็งธรรม รหัสนักศึกษา 563050086-6 นายประชา นาจรูญ รหัสนักศึกษา 563050106-6 นายภัทรพงศ์ วรศักดิ์มหาศาล รหัสนักศึกษา 563050120-2 นายรชต ทองคาสุข รหัสนักศึกษา 563050124-4 นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา เสนอ… อาจารย์ ดร. อนุชา โสมาบุตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 3. ครูสมศรีเป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้มีความรู้และมีความเชี่ยวชาญใน ด้านนีเ้ป็นอย่างดี โดยวิธีการสอนนักเรียนในแต่ละครัง้ ครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยาย ให้นักเรียนจา และสื่อการสอนที่นามาใช้ประกอบการสอนก็เป็นในลักษณะที่เน้นการ ถ่ายทอดความรู้ด้วย ไม่ว่าจะเป็นหนังสือเรียน, การสอนบนกระดาน หรือแม้กระทงั่ วิดีโอที่นามาเปิดให้นักเรียนได้เรียน โดยครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่า การสอนที่ดีและมี ประสิทธิภาพนัน้ คือสามารถทาให้นักเรียนสามารถจาเนือ้หา เรื่องราวในบทเรียนให้ ได้มากที่สุด ส่วนนักเรียนของครูสมศรีก็เป็นประเภทที่ว่ารอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียง อย่างเดียว ดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนดทัง้หมด เรียนไปได้ไม่นานก็เบื่อ ไม่กระตือรือร้นที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให้ทาแค่ไหนก็ทาแค่นัน้พอซงึ่จาก วิธีการสอนของครูสมศรีและลักษณะของนักเรียนที่กล่าวมาทัง้หมด ได้ส่งผลให้เกิด ปัญหาขึน้คือเมื่อเรียนผ่านมาได้ไม่นานก็ทาให้ลืมเนือ้หาที่เคยเรียนมา ไม่สามารถคิดได้ ด้วยตนเองและไม่สามารถที่จะนามาใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้
  • 4. ภารกิจ 1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ตลอดจน วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่ พร้อมทงั้ให้เหตุผลประกอบ 2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการ เปลี่ยนแปลง ทางด้านใดบ้าง พร้อมทงั้อธิบายเหตุผลสนับสนุน 3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรีให้เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่ เน้น ผ้เูรียนเป็นสาคัญ
  • 5. การเรียนการสอนในห้องเรียนของครู สมศรี ยังยึดติดกับแนวคิดดัง้เดิมอยู่ ครูสมศรี ยังมีความเชื่อว่า การสอนที่ดีและมี ประสิทธิภาพนัน้ คือการทาให้นักเรียนสามารถ จาเนือ้หาและเรื่องราวในบทเรียนให้ได้มากทสีุ่ด โดยวิธีการสอนยังเน้นการบรรยายหรืออธิบาย ในขณะที่นักเรียนก็นงั่ฟังและรอรับความรู้จาก ครูสมศรีเพียงอย่างเดียว ซึ่งขัดกับแนวคิดของ ยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ที่ว่า “ผู้เรียนต้องยกระดับการเรียนที่เพิ่มจาก “การ จดจา” ข้อเท็จจริงไปสู่การเริ่มต้นที่จะคิดอย่าง มีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์”
  • 6. “การที่นักเรียนจะมีทักษะในการคิด วิเคราะห์และตัดสินใจ ครูผ้สูอนจาเป็น จะต้องใช้เทคนิค วิธีการทางเทคโนโลยีต่างๆ ที่จะนามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียน ได้รับความรู้ใหม่ๆ แต่จะเห็นได้ว่า สื่อการสอนที่ครูสมศรีนามาใช้ซึ่งได้แก่ หนังสือเรียน, การสอนบนกระดาน หรือแม้กระทัง่วิดีโอที่นามาเปิดให้นักเรียน ได้เรียน ยังขาดความทันสมัยและนวัตกรรมใหม่ๆจึงเป็นการปิดกนั้โอกาส นักเรียนในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารหรือข้อเท็จจริงได้อย่างรวดเร็ว”
  • 7. การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้า ทางการศึกษา (The Changing Face of Education) การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน (The Changing Learner) การเปลี่ยนแปลงมาสู่ การเรียนที่เน้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
  • 8. การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา (The Changing Face of Education) แนวคิดดัง้เดิมเกี่ยวกับการเรียนและการสอน ครูจะยืนอยู่หน้าชัน้เรียน และ ถ่ายทอดเนือ้หา ด้วยการบรรยาย อธิบาย ในขณะที่ผู้เรียนนงั่ฟัง และรอรับความรู้จากครู "เน้นทักษะการจดจา” ท่องจาอย่างเดียวเท่านัน้ แนวคิดใหม่เกี่ยวกับการเรียนและการสอน จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยี และสารสนเทศต่างๆให้เป็นประโยชน์ เน้นให้ผู้เรียนคิดเป็นแก้ปัญหาเป็น และสามารถศึกษาด้วยตนเองได้
  • 9. การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน (The Changing Learner) ในปัจจุบันสภาพชีวิตจริงต้องการบุคคลที่มีความสามารถในการใช้ทักษะการให้เหตุผลในระดับที่สูงขึ้น เพื่อการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน แนวคิดเกี่ยวกับผู้เรียนจึงต้องเปลี่ยนแปลงมุมมองใหม่ คือ ผู้เรียนเป็นสิ่งมีชีวิต ที่มีความตื่นตัว กระฉับกระเฉง และค้นหาความหมาย แสวงหาวิธีที่จะวิเคราะห์ ตงั้คา ถาม อธิบาย ตลอดจนทา ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
  • 10. การเปลี่ยนแปลงมาสู่การเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นศนูย์กลาง ลงมือปฏิบัติดว้ยตนเอง มีโอกาสใชป้ระบวนการคิด ไดใ้ชส้ื่อต่างๆเพื่อการเรียนรู้ ไดแ้ลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับผูอ้ื่น เรียนรู้อย่างมีความสุข
  • 11. ครูสมศรีควรปรับเปลี่ยนวิธีการสอนใหม่ จริงอยู่ว่าสมัยก่อนที่ครูสมศรี เป็นนักเรียน ความรู้สามารถจดจาได้ง่าย เนื่องจากวิทยาการและความรู้ในสมัย นัน้ยังมีไม่มาก และเนือ้หาหลักสูตร คงจะไม่เหมือนกันอย่างแน่นอน ซงึ่ต่างจาก ยุคปัจจุบัน วิทยาการความรู้ได้มีการพัฒนาขึน้มาก หลักสูตรในการสอนก็มี เนือ้หามากขึน้ตามไปด้วย การจดจาเนือ้หาโดยการท่องจานัน้ คงจะไม่ส่งผลดี มากนัก เพราะความรู้นัน้จะลืมไปอย่างรวดเร็ว ดังนัน้ควรปรับเปลี่ยนวิธีการสอน โดยสอนให้นักเรียนเข้าใจเนือ้หามากกว่าการจดจา อาจใช้สื่อหรือนวัตกรรม การศึกษาเป็นตัวช่วย และใช้เพื่อกระตุ้น ให้เนือ้หาเกิดความน่าสนใจระหว่างการ เรียนการสอน ฝึกให้นักเรียนได้คิด วิเคราะห์ มากกว่าจะให้นักเรียนรอรับความรู้ จากครูเพียงอย่างเดียว
  • 12. นอกจากนัน้ก็ควรฝึกให้นักเรียนใช้เทคโนโลยี ในการศึกษา สืบค้นหาความรู้ หาก เกิดความไม่เข้าใจ หรือเนือ้หาที่แต่ละคนสืบค้น มีความขัดแย้งกัน ก็ให้นามาร่วม อภิปรายหน้าชัน้เรียนเพื่อที่จะได้หาข้อเท็จจริงและสรุปเป็นความรู้ต่อไป วิธีการ เหล่านี้จะส่งผลดีต่อนักเรียน และความรู้ระยะยาวของพวกเขาต่อไป ตัวอย่าง วิชาสังคมที่คุณครูสมศรีสอน แน่นอนว่าจะต้องเรียนเนือ้หาที่ เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ครูสมศรีอาจใช้สื่อภาพยนตร์ เช่น ภาพยนตร์เรื่องสุริโย ไท หรือตานานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มาใช้เป็นสื่อแนวทางในการสอนได้ ซึ่ง ถ้าเนือ้หาในภาพยนตร์ตอนใด ขัดแย้งกับข้อเท็จจริงในประวัติศาสตร์ ก็ให้ครูสมศรี อธิบายถึงข้อความเป็นจริงนัน้ การเรียนภูมิศาสตร์ อาจใช้เทคโนโลยี GPS หรือ Google Map ช่วยในการเรียนการสอนได้ สื่อ กระตุ้น นักเรียน ได้แนวคิด ใหม่
  • 14. ในยุคปัจจุบัน คนเป็นครูควรจะสามารถใช้เทคโนโลยีเป็นตัวช่วยใน การสอนได้ แน่นอนว่าสิ่งนี้ จะเพิ่มความน่าสนใจในการเรียนการสอน ในชั้นเรียนมากยิ่งขึ้น พยายามกระตุ้นให้นักเรียนใช้เทคโนโลยีในทางที่ เป็นประโยชน์ เช่นการสืบค้นหาข้อมูลความรู้ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกที่ กาลังพัฒนาอย่ใูนทุกๆวัน ครูสมศรี จะต้องเน้นผ้เูรียนเป็นศูนย์กลางให้ผ้เูรียนได้คิด ทาความเข้าใจ และเปิดโอกาสให้มีการอภิปราย ร่วมกันในชนั้เรียน หากเกิดข้อขัดแย้งกับหลักฐาน หรือความเป็นจริงที่คนส่วนใหญ่ยอมรับ ก็ให้ครูเป็น ผู้อธิบายเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน นักเรียน