SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
เอกสารเผยแพร
กระบวนการเทคโนโลยี
จัดทําโดย สาขาออกแบบเละเทคโนโลยี
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
2
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
สารบัญ
หนา
กระบวนการเทคโนโลยีคืออะไร 3
กระบวนการเทคโนโลยีมีกี่ขั้นตอน 3
ตัวอยางโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี 6
ประโยชนของกระบวนการเทคโนโลยี 15
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ 16
เอกสารอางอิง 18
3
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
กระบวนการเทคโนโลยี
กระบวนการเทคโนโลยีคืออะไร
ในชีวิตประจําวันของมนุษยมีกิจกรรมตางๆ เกิดขึ้นมากมายตามเงื่อนไขและปจจัยในการดํารงชีวิตของแต
ละคน ทําใหบางครั้งมนุษยตองพบเจอกับปญหาหรือความตองการที่จะทําใหการดํารงชีวิตดีขึ้น เราเรียกวา
“สถานการณเทคโนโลยี”
การพิจารณาวาสถานการณใดเปนสถานการณเทคโนโลยี จะพิจารณาจาก 3 ประเด็นคือ เปน
ปญหาหรือความตองการของมนุษย เปนปญหาที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม หรือเปนปญหาที่เกี่ยวของกับ
เศรษฐศาสตร
การแกปญหาหรือสนองความตองการที่พบในสถานการณเทคโนโลยี จะตองใชทรัพยากร
ความรูและทักษะตางๆ ที่เกี่ยวของ จึงจําเปนตองมีวิธีการหรือกระบวนการทํางานในการแกปญหาหรือสนองความ
ตองการอยางเปนขั้นตอนที่ชัดเจน ซึ่งเรียกกระบวนการนั้นวา “กระบวนการเทคโนโลยี”
กระบวนการเทคโนโลยีมีกี่ขั้นตอน
กระบวนการเทคโนโลยี เปนขั้นตอนการทํางานเพื่อสรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการอยางใด
อยางหนึ่งขึ้นมาเพื่อแกปญหาหรือสนองความตองการของมนุษย กระบวนการเทคโนโลยี ประกอบดวย
7 ขั้นตอน ดังนี้
1. กําหนดปญหาหรือความตองการ (Identify the problem)
2. รวบรวมขอมูล (Information gathering)
3. เลือกวิธีการ (Selection)
4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making)
5. ทดสอบ (Testing)
6. ปรับปรุงแกไข (Modification and improvement)
7. ประเมินผล (Assessment)
ขั้นที่ 1 กําหนดปญหาหรือความตองการ
ขั้นตอนแรกของกระบวนการเทคโนโลยี คือ การกําหนดปญหาหรือความตองการ ซึ่งเปนการทํา
ความเขาใจหรือวิเคราะหปญหาหรือความตองการหรือสถานการณเทคโนโลยีอยางละเอียด เพื่อกําหนดกรอบของ
ปญหาหรือความตองการใหชัดเจนมากขึ้น
4
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
ขั้นที่ 2 รวบรวมขอมูล
การรวบรวมขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับปญหาหรือความตองการที่กําหนดไวในขั้นกําหนดปญหา
หรือความตองการจากแหลงขอมูลที่เชื่อถือได เชน ศึกษาจากตํารา วารสาร บทความ สารานุกรม สืบคนจาก
อินเทอรเน็ต ระดมสมองจากสมาชิกในกลุม โดยควรมีการรวบรวมขอมูลรอบดานใหครอบคลุมปญหาหรือความ
ตองการ ซึ่งจะทําใหเราสามารถสรุปวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการไดครบถวนสมบูรณขึ้น
ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการ
การเลือกวิธีการ เปนการพิจารณาและเลือกวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการที่เหมาะสม
และสอดคลองกับปญหาหรือความตองการมากที่สุด โดยใชกระบวนการตัดสินใจเลือกจากวิธีการที่สรุปไดในขั้น
รวบรวมขอมูล ประเด็นที่ควรนํามาพิจารณาคือ ขอดี ขอเสีย ความสอดคลองกับทรัพยากรที่มีอยู ความประหยัด
และการนําไปใชไดจริงของแตละวิธี เชน ทําใหดีขึ้น สะดวกสบายหรือรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ควรพิจารณาคัดเลือก
วิธีการโดยใชกรอบของปญหาหรือความตองการมาเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจเลือก
ขั้นที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ
การออกแบบและปฏิบัติการเปนการถายทอดความคิดหรือลําดับความคิดหรือจินตนาการใหเปน
ขั้นตอน เกี่ยวกับวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการโดยละเอียด โดยใชการรางภาพ 2 มิติ การรางภาพ 3 มิติ
การรางภาพฉาย แบบจําลอง หรือแบบจําลองความคิด และวางแผนการปฏิบัติงานอยางเปนขั้นตอน จากนั้นลงมือ
สรางตามแนวทางที่ไดถายทอดความคิดและวางแผนการปฏิบัติงานไว ผลงานที่ไดอาจเปนชิ้นงานหรือแบบจําลอง
วิธีการ
ขั้นที่ 5 ทดสอบ
การทดสอบเปนการตรวจสอบชิ้นงานหรือแบบจําลองวิธีการที่สรางขึ้นวามีความสอดคลอง ตาม
แบบที่ไดถายทอดความคิดไวหรือไม สามารถทํางานหรือใชงานไดหรือไม มีขอบกพรองอยางไร หากผลการทดสอบ
พบวา ชิ้นงานหรือแบบจําลองวิธีการไมสอดคลองตามแบบที่ถายทอดความคิดไว ทํางานหรือใชงานไมได หรือมี
ขอบกพรองที่ควรปรับปรุงแกไข จะตองมีการบันทึกสิ่งตางๆ เหลานี้ไว ซึ่งขอมูลเหลานี้จะเปนขอมูลที่นําไปสูการ
ปฏิบัติงานในขั้นปรับปรุงแกไขตอไป
ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแกไข
การปรับปรุงแกไข เปนการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากขั้นทดสอบวาควรปรับปรุงแกไขชิ้นงานหรือ
แบบจําลองวิธีการในสวนใด ควรปรับปรุงแกไขอยางไร แลวจึงดําเนินการปรับปรุงแกไขในสวนนั้น จนกระทั่ง
ชิ้นงานหรือแบบจําลองวิธีการสอดคลองตามแบบที่ถายทอดความคิดไว ทํางานหรือใชงานได ในขั้นตอนนี้อาจ
จําเปนตองกลับไปที่ขั้นตอนออกแบบและปฏิบัติการอีกครั้งเพื่อถายทอดความคิดใหมหรืออาจกลับไปขั้นตอน
รวบรวมขอมูลและเลือกวิธีการที่เหมาะสมอีกครั้งก็ได เพื่อใหไดสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการที่เหมาะสมมากขึ้น
5
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
ขั้นที่ 7 ประเมินผล
การประเมินผล เปนการนําชิ้นงานหรือวิธีการที่ไดสรางขึ้นไปดําเนินการแกปญหาหรือสนองความ
ตองการที่กําหนดไวในขั้นกําหนดปญหาหรือความตองการ และประเมินผลที่เกิดขึ้นวาชิ้นงานหรือวิธีการนั้น
สามารถแกปญหาไดหรือไม หากผลการประเมินพบวา ชิ้นงานหรือวิธีการไมสามารถแกปญหาหรือสนองความ
ตองการได ควรพิจารณาวาจําเปนตองแกไขในขั้นตอนใด เพื่อนําไปปรับปรุงตามกระบวนการเทคโนโลยีอีกครั้ง
เพื่อทําใหการทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
6
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
ตัวอยางโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี
(รูปแบบสาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.)
ชื่อโครงงานเทคโนโลยี พัดลมเย็นสบายคลายรอน
ชื่อผูทําโครงงานเทคโนโลยี นายชวัตร แสงเพชรออน นักวิชาการสาขาออกแบบและเทคโนโลยี
ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน 1) อาจารยเอมอร รสเครือ ศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญ (คศ. 4)
2) อาจารยอุปการ จีระพันธุ ผูอํานวยการสาขาออกแบบและเทคโนโลยี
บทคัดยอ
โครงงานเทคโนโลยีพัดลมเย็นสบายคลายรอนนี้ เปนการนําขวดพลาสติกขนาดเล็กมาทําเปนของใช โดย
นํามาทําเปนพัดลมมือถือ สําหรับคลายรอน ทั้งนี้เพื่อลดปริมาณขยะที่จะตองนําไปกําจัดซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําให
เกิดภาวะเรือนกระจกสงผลใหเกิดภาวะโลกรอน
การดําเนินงานสรางพัดลมเย็นสบายคลายรอน จะดําเนินการ 4 สวน คือ สวนที่ 1 วิเคราะหปญหาหรือ
ความตองการและรายละเอียดของปญหาหรือความตองการ สวนที่ 2 การศึกษาวัสดุนําไปสราง สวนที่ 3
การศึกษารูปแบบพัดลม และสวนที่ 4 การตอวงจรไฟฟา ซึ่งการดําเนินงานทั้ง 4 สวน ปฏิบัติงานตามกระบวนการ
เทคโนโลยี
ผลการดําเนินงานพบวา พัดลมที่ผูจัดทําโครงงานสรางขึ้นจากขวดพลาสติกดวยการตอวงจรไฟฟาอยาง
งาย สามารถลดปริมาณขวดพลาสติกขนาดเล็กลงในโรงเรียนได ชวยคลายรอนและพกพาสะดวก
ที่มาและความสําคัญของโครงงาน
ในปจจุบันมีการสรางสิ่งของเครื่องใชผลิตภัณฑตางๆ ออกมาจํานวนมาก ผลิตภัณฑที่ผลิตออกมานั้นลวน
เกิดมาจากการนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชในการผลิต เมื่อผูบริโภคสินคาไดใชผลิตภัณฑนั้นแลวก็ทิ้ง จึงทําให
กลายเปนขยะจํานวนมาก เชน ขวดน้ําพลาสติก กลองนม กระปองน้ําอัดลม เปนตน อีกทั้งการกําจัดขยะยัง
กอใหเกิดมลพิษทางอากาศและสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการเผาขยะทําใหเกิดแกสคารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนสาเหตุ
ทําใหเกิดภาวะเรือนกระจกสงผลใหเกิดภาวะโลกรอนตามมา
จากขอมูลขางตน ผูทําโครงงานไดเล็งเห็นความสําคัญของการจัดการขยะ จึงไดมีความคิดในการนําขยะ
จากขวดพลาสติกขนาดเล็กกลับมาใชซ้ําโดยทําเปนพัดลมมือถือขนาดพกพา
7
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
จุดมุงหมายการทําโครงงาน
สรางพัดลมพกพาจากขยะในโรงเรียน
ขั้นที่ 1 กําหนดปญหาหรือความตองการ
ปญหาคือ ขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กในโรงเรียนถูกทิ้งจํานวนมาก การกําจัดขยะโดยการเผาทําใหเกิด
มลพิษกับสิ่งแวดลอมและเกิดภาวะโลกรอน
แนวทางการแกปญหาคือ นําขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กกลับมาใชซ้ํา เพื่อกําจัดขยะในโรงเรียนโดยสราง
เปนชิ้นงานที่สามารถคลายรอนในภาวะโลกรอน
ขั้นที่ 2 รวบรวมขอมูล
จากการแนวทางการปญหาโดยนําขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กกลับมาใชซ้ํา สรางเปนชิ้นงานที่สามารถ
คลายรอนในภาวะโลกรอนได ตองศึกษาขอมูลดังตอไปนี้
1. การวิเคราะหปญหาหรือความตองการดวยชุดคําถาม 5W1H
1) ปญหาหรือสนองความตองการคืออะไร (What)
- ขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กในโรงเรียนถูกทิ้งจํานวนมาก การกําจัดขยะโดยการเผา
ทําใหเกิดมลพิษกับสิ่งแวดลอมและเกิดภาวะโลกรอน
2) ปญหาหรือสนองความตองการเกิดกับใคร (Who)
- ครูและนักเรียน
3) ปญหาหรือสนองความตองการเกิดขึ้นที่ไหน (Where)
- โรงเรียน
4) ปญหาหรือสนองความตองการเกิดขึ้นเมื่อไร (When)
- เมื่อพบวามีขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กจํานวนมาก
5) เพราะเหตุใดจึงตองแกปญหาหรือสนองความตองการ (Why)
- ชวยลดปริมาณขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กในโรงเรียน โดยไมกอใหเกิดมลพิษกับ
สิ่งแวดลอม
6) จะแกปญหาหรือสนองความตองการอยางไร (How)
- นําขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กกลับมาใชประโยชนโดยสรางเปนชิ้นงานซึ่งทําหนาที่เหมือน
พัดลมและสามารถพกพาแทนพัดใหกับครูและนักเรียนในโรงเรียน
8
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
2. ขอมูลที่จําเปนในการแกปญหาหรือสนองความตองการ
2.1 รูปแบบพัดลมมือถือ
พัดลมมือถือขนาดพกพาตามรานคามีรูปแบบสีสันที่หลากหลายและมีราคา ตั้งแต 50-250 บาท
ขึ้นอยูกับวัสดุที่นํามาทําการผลิตสิ้นคา อีกทั้งรูปแบบของพัดลมมือถือที่มีความคิดสรางสรรคในการผลิตมาสู
ผูบริโภค ตรงตอกลุมเปาหมาย คือ กลุมวัยรุนและวัยทํางาน
2.2 การตอวงจรไฟฟา
วงจรไฟฟาที่ใชในการปฎิบัติงานโครงงาน
Switch
MotorBattery
9
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
2.3 สรางวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ เพื่อเปนทางเลือกในการออกแบบ (Design
Solution)
ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการ
พัดลมมือถือขนาดพกพา รูปแบบที่ทําการเลือกวิธีการที่จะออกแบบมีหนาที่ในการคลายรอนแกผูใช โดย
คํานึงถึงหนาที่ประโยชนการใชสอย วัสดุที่ใชมีความแข็งแรงปลอดภัย ราคาถูกและมีความสะดวกในการใชงาน
จากวิธีการทั้ง 3 แบบ เมื่อนํามาวิเคราะหถึงรูปแบบที่จะทําการออกแบบใหมีหนาที่คลายรอนแกผูใช โดย
คํานึงถึงหนาที่ประโยชนการใชสอย วัสดุที่ใชมีความแข็งแรงปลอดภัย ราคาถูกและมีความสะดวกในการใชงาน
ดังนี้ คือ
วิธีการที่ 1 ขวดยาคูลท รูปทรงกระทัดรัด จับถนัดมือ วัสดุมีความแข็งแรงนอย มีความสะดวกในการใช
งาน แตมีปญหาในการเปลี่ยนแบตเตอรี่คอนขางยากเพราะปากขวดเล็ก
วิธีการที่ 2 ขวดกาวลาเท็กซ จับถนัดมือ วัสดุมีความแข็งแรงมาก มีความสะดวกในการใชงาน เปลี่ยน
แบตเตอรี่งาย
วิธีการที่ 2 ขวดกาวลาเท็กซ
หรือขวดยาแบบมีฝาปด
วิธีการที่ 3 ขวดนมเปรี้ยวหรือขวดน้ําผลไม
วิธีการที่ 1 ขวดยาคูลท
10
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
วิธีการที่ 3 ขวดนมเปรี้ยว รูปทรงกระทัดรัด จับถนัดมือ วัสดุมีความแข็งแรงมาก มีความสะดวกในการใช
งาน แตมีปญหาในการเปลี่ยนแบตเตอรี่คอนขางยากเพราะปากขวดเล็ก
สรุปผลการวิเคราะห เลือกวิธีการที่ 2 เนื่องจากวัสดุของขวดกาวลาเท็กซ หรือขวดยาแบบ
มีฝาปดเปนขวดพลาสติกที่มีความแข็ง ปลอดภัย อีกทั้ง เมื่อแบตเตอรี่หมดสามารถเปดฝาขวดเพื่อเปลี่ยนแบตเตอรี่
ไดงาย ทางผูทําโครงงานจึงเลือกขวดกาวลาเท็กซที่ใชแลวมาทําพัดลมมือถือแบบพกพา
ขั้นที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ
1. การออกแบบแนวทางการแกปญหาหรือสนองความตองการโดยละเอียด
ภาพฉาย แสดงขนาดสัดสวนของชิ้นงาน
11
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
2. การลงมือสราง
2.1 เจาะรูฝาขวดใหเทากับขนาดมอเตอร
2.2 เจาะรูขวดพลาสติกเพื่อยึดสวิตช
2.3 นํามอเตอรยึดติดกับฝา แลวยึดติดดวยปนยิงกาว
12
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
2.4 ตอสายไฟเขากับสวิตช มอเตอร และลังถาน แลวเปด-ปดสวิตซ ดูวามอเตอรทํางานหรือไม และลอง
ใสใบพัดวาตอวงจรถูกตองหรือไม (ลมออก คือ ตอวงจรถูก ลมดูด คือ ตอวงจรผิด)
13
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
2.5 นําสวิตชยึดติดกับขวดพลาสติก แลวเอาลังถานลงในขวดพลาสติก
2.6 ปดฝาและติดใบพัด
14
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
ขั้นที่ 5 ทดสอบ
1. ทดสอบการทํางานของพัดลมโดยเปดสวิตช พบวา ตอมอเตอรผิดขั้ว ทําใหเกิดลมดูด
2. การเปลี่ยนแบตเตอรี่ พบวา พัดลมที่สรางจากขวดกาวลาเท็กซ สามารถเปดฝาขวดเพื่อ
เปลี่ยนแบตเตอรี่ไดงาย โดยไมสงผลตอวงจรไฟฟา
3. การยึดติดของมอเตอรกับโครงสรางขวด พบวา มอเตอรยึดติดแนน เมื่อเปดสวิตชมอเตอรยังคงยึดติด
กับโครงสรางขวด
ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแกไข
การปรับปรุงแกไขทําไดโดยตอวงจรที่ขั้วของมอเตอรใหม เมื่อเปดสวิตชพบวามอเตอรหมุนใหแรงลมใน
ทิศทางพุงออกจากใบพัด
ขั้นที่ 7 ประเมินผล
การประเมินชิ้นงานวาสามารถใชแกปญหา
หรือสนองความตองการหรือไม และพิจารณาถึง
ชิ้นงานที่สรางขึ้นตรงตามความตองการที่ตั้งไว
โดยแบบสอบถามมีประเด็นการประเมินดังนี้
1. หนาที่ประโยชนการใชสอย
2. วัสดุที่ใชมีความแข็งแรงปลอดภัย
3. มีราคาถูก (ตนทุนตอหนวยการผลิต)
4. ความสะดวกในการใชงาน
สรุป พัดลมเย็นสบายคลายรอนชวยลดปริมาณขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กในโรงเรียน สามารถ
คลายรอนใหกับครูและนักเรียนได ความสะดวกในการใชงานอยูในระดับมาก มีความแข็งแรงอยูในระดับมาก มี
ตนทุนตอหนวยการผลิตถูกในระดับมาก
วัสดุ อุปกรณและเครื่องมือที่ใช
1. ขยะขวดกาวลาเท็กซที่ใชแลว
2. มอเตอร ขนาด 3 Volt
3. Battery AA 1.5 V 2 กอน
4. ลังถานแบบ 2 กอน
5. สวิตชเลื่อน
15
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
6. ใบพัดจากของเลนที่ชํารุดแลว
7. กาวสองหนา หรือ ปนยิงกาว
8. สวานมือ
9. ไมบรรทัด ดินสอ แผนรองตัด คัตเตอร
ประโยชนของกระบวนการเทคโนโลยี
จากตัวอยางแสดงใหเห็นวาการนํากระบวนการเทคโนโลยีไปประยุกตใชในการทํางานตางๆ ใน
ชีวิตประจําวันนั้น สามารถชวยใหผูนําไปใชเกิดกระบวนการทํางานที่เปนขั้นตอน ซึ่งจะชวยใหสามารถแกปญหา
หรือสนองความตองการไดงายขึ้น ซึ่งขั้นตอนการทํางานตามกระบวนการเทคโนโลยีขางตน จะเห็นวาการทํางาน
ตามกระบวนการเทคโนโลยีนั้นชวยใหผูปฏิบัติงานมีการทํางานเปนขั้นตอนอยางชัดเจน ซึ่งในแตละขั้นตอนยัง
สงผลดีตอการทํางาน ดังตารางตอไปนี้
กระบวนการเทคโนโลยี ผลดีตอการทํางาน
ขั้นที่ 1 กําหนดปญหาหรือความตองการ ชวยใหการศึกษาและการกําหนดปญหามีความชัดเจน
ขั้นที่ 2 รวบรวมขอมูล ชวยใหรวบรวมขอมูลที่จําเปนในการแกปญหาได
ครอบคลุม
ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการ ชวยใหตัดสินใจเลือกแนวทางที่สามารถแกปญหาได
เหมาะสม
ขั้นที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ ชวยใหการสรางชิ้นงานงายขึ้นและลดระยะเวลาในการ
สราง เพราะมีการออกแบบภาพรางของการทํางาน ทําให
เห็นรายละเอียดของการทํางาน
ขั้นที่ 5 ทดสอบ ชวยใหทราบขอบกพรองของการทํางานกอนนําไปปฏิบัติ
จริง
ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแกไข ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานใหดียิ่งขึ้น
ขั้นที่ 7 ประเมินผล ชวยตรวจสอบผลการทํางานวาตรงกับปญหาหรือความ
ตองการหรือไม
16
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ
ปกนอก
เรื่อง ...............................................................................................................................................
โดย 1 .........................................................................................................................................
2 .......................................................................................................................................
3 ........................................................................................................................................
โรงเรียน............................................................................................................................................
สังกัด ...............................................................................................................................................
ปกใน
เรื่อง ...............................................................................................................................................
โดย 1 ........................................................................................................................................
2 .......................................................................................................................................
3 ........................................................................................................................................
โรงเรียน ..........................................................................................................................................
สังกัด ......................................................................................................................................................
ครูที่ปรึกษา ..............................................................................................................................................
ที่ปรึกษาพิเศษ ..........................................................................................................................................
เนื้อหา ประกอบดวย
- บทคัดยอ
- กิตติกรรมประกาศ
- สารบัญ
- สารบัญตาราง (ถามี)
- สารบัญรูปภาพ (ถามี)
- บทที่ 1 บทนํา
- บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ
17
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
- บทที่ 3 อุปกรณและวิธีการดําเนินการ
“นําเสนอวิธีการดําเนินการดวยกระบวนการเทคโนโลยี”
- บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน
- บทที่ 5 สรุปผลการดําเนินงาน/อภิปรายผลการดําเนินงาน
- บรรณานุกรม
- ภาคผนวก
18
เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.
เอกสารอางอิง
1. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและ
เทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. กรุงเทพฯ : สกสค., 2554.
2. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและ
เทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. กรุงเทพฯ : สกสค., 2554.
3. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและ
เทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ : สกสค., 2554.
4. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. หนังสือเสริมการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูการงาน
อาชีพและเทคโนโลยี การออกแบบแลเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ : สกสค., 2554.
5. เดวิด โกรเวอร. นักสํารวจนอย แบตเตอรี่ หลอดไฟ และสายไฟ กิจกรรมและการทดลอง
วิทยาศาสตรแสนสนุก. กรุงเทพ : สํานักพิมพ เจ เจ จํากัด. 2545.

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie 4 2-design process-onwebforrobotcontest

ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบPum Pep
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบPum Pep
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology Tarn Takpit
 
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล ปานกุล
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล  ปานกุลโครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล  ปานกุล
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล ปานกุลเม เป๋อ
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดstampmin
 
โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคWirachat Inkhamhaeng
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77Surapong Jakang
 
_____________________________________-p.m-2.5
  _____________________________________-p.m-2.5  _____________________________________-p.m-2.5
_____________________________________-p.m-2.5sathianwutsukitsuksw
 
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศMMp'New Aukkaradet
 

Ähnlich wie 4 2-design process-onwebforrobotcontest (20)

ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
Subject
SubjectSubject
Subject
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology
 
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล ปานกุล
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล  ปานกุลโครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล  ปานกุล
โครงการออกแบบอัตลักษณ์ ร้าน อมอร์รูม อัครพล ปานกุล
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
 
โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบค
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77
 
_____________________________________-p.m-2.5
  _____________________________________-p.m-2.5  _____________________________________-p.m-2.5
_____________________________________-p.m-2.5
 
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลย สารสนเทศ
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
Qualify exam2
Qualify exam2Qualify exam2
Qualify exam2
 
Kn technology
Kn technologyKn technology
Kn technology
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
605 43projectcom
605 43projectcom605 43projectcom
605 43projectcom
 

Mehr von patmalya

9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู patmalya
 
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์patmalya
 
9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียนpatmalya
 
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดียpatmalya
 
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการpatmalya
 
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊คpatmalya
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a daypatmalya
 
9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผลpatmalya
 
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตูpatmalya
 
9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครูpatmalya
 
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคตpatmalya
 
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจังpatmalya
 
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดีpatmalya
 
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอpatmalya
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียนpatmalya
 
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุงpatmalya
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัขpatmalya
 
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 tpatmalya
 
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์patmalya
 
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้าpatmalya
 

Mehr von patmalya (20)

9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู
 
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน
 
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
 
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
 
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a day
 
9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล
 
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
 
9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู
 
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
 
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
 
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
 
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
 
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
 
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
 
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
 

4 2-design process-onwebforrobotcontest

  • 1. 1 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. เอกสารเผยแพร กระบวนการเทคโนโลยี จัดทําโดย สาขาออกแบบเละเทคโนโลยี สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 2. 2 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. สารบัญ หนา กระบวนการเทคโนโลยีคืออะไร 3 กระบวนการเทคโนโลยีมีกี่ขั้นตอน 3 ตัวอยางโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี 6 ประโยชนของกระบวนการเทคโนโลยี 15 รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ 16 เอกสารอางอิง 18
  • 3. 3 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. กระบวนการเทคโนโลยี กระบวนการเทคโนโลยีคืออะไร ในชีวิตประจําวันของมนุษยมีกิจกรรมตางๆ เกิดขึ้นมากมายตามเงื่อนไขและปจจัยในการดํารงชีวิตของแต ละคน ทําใหบางครั้งมนุษยตองพบเจอกับปญหาหรือความตองการที่จะทําใหการดํารงชีวิตดีขึ้น เราเรียกวา “สถานการณเทคโนโลยี” การพิจารณาวาสถานการณใดเปนสถานการณเทคโนโลยี จะพิจารณาจาก 3 ประเด็นคือ เปน ปญหาหรือความตองการของมนุษย เปนปญหาที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม หรือเปนปญหาที่เกี่ยวของกับ เศรษฐศาสตร การแกปญหาหรือสนองความตองการที่พบในสถานการณเทคโนโลยี จะตองใชทรัพยากร ความรูและทักษะตางๆ ที่เกี่ยวของ จึงจําเปนตองมีวิธีการหรือกระบวนการทํางานในการแกปญหาหรือสนองความ ตองการอยางเปนขั้นตอนที่ชัดเจน ซึ่งเรียกกระบวนการนั้นวา “กระบวนการเทคโนโลยี” กระบวนการเทคโนโลยีมีกี่ขั้นตอน กระบวนการเทคโนโลยี เปนขั้นตอนการทํางานเพื่อสรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการอยางใด อยางหนึ่งขึ้นมาเพื่อแกปญหาหรือสนองความตองการของมนุษย กระบวนการเทคโนโลยี ประกอบดวย 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. กําหนดปญหาหรือความตองการ (Identify the problem) 2. รวบรวมขอมูล (Information gathering) 3. เลือกวิธีการ (Selection) 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) 5. ทดสอบ (Testing) 6. ปรับปรุงแกไข (Modification and improvement) 7. ประเมินผล (Assessment) ขั้นที่ 1 กําหนดปญหาหรือความตองการ ขั้นตอนแรกของกระบวนการเทคโนโลยี คือ การกําหนดปญหาหรือความตองการ ซึ่งเปนการทํา ความเขาใจหรือวิเคราะหปญหาหรือความตองการหรือสถานการณเทคโนโลยีอยางละเอียด เพื่อกําหนดกรอบของ ปญหาหรือความตองการใหชัดเจนมากขึ้น
  • 4. 4 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. ขั้นที่ 2 รวบรวมขอมูล การรวบรวมขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับปญหาหรือความตองการที่กําหนดไวในขั้นกําหนดปญหา หรือความตองการจากแหลงขอมูลที่เชื่อถือได เชน ศึกษาจากตํารา วารสาร บทความ สารานุกรม สืบคนจาก อินเทอรเน็ต ระดมสมองจากสมาชิกในกลุม โดยควรมีการรวบรวมขอมูลรอบดานใหครอบคลุมปญหาหรือความ ตองการ ซึ่งจะทําใหเราสามารถสรุปวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการไดครบถวนสมบูรณขึ้น ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการ การเลือกวิธีการ เปนการพิจารณาและเลือกวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการที่เหมาะสม และสอดคลองกับปญหาหรือความตองการมากที่สุด โดยใชกระบวนการตัดสินใจเลือกจากวิธีการที่สรุปไดในขั้น รวบรวมขอมูล ประเด็นที่ควรนํามาพิจารณาคือ ขอดี ขอเสีย ความสอดคลองกับทรัพยากรที่มีอยู ความประหยัด และการนําไปใชไดจริงของแตละวิธี เชน ทําใหดีขึ้น สะดวกสบายหรือรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ควรพิจารณาคัดเลือก วิธีการโดยใชกรอบของปญหาหรือความตองการมาเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจเลือก ขั้นที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ การออกแบบและปฏิบัติการเปนการถายทอดความคิดหรือลําดับความคิดหรือจินตนาการใหเปน ขั้นตอน เกี่ยวกับวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการโดยละเอียด โดยใชการรางภาพ 2 มิติ การรางภาพ 3 มิติ การรางภาพฉาย แบบจําลอง หรือแบบจําลองความคิด และวางแผนการปฏิบัติงานอยางเปนขั้นตอน จากนั้นลงมือ สรางตามแนวทางที่ไดถายทอดความคิดและวางแผนการปฏิบัติงานไว ผลงานที่ไดอาจเปนชิ้นงานหรือแบบจําลอง วิธีการ ขั้นที่ 5 ทดสอบ การทดสอบเปนการตรวจสอบชิ้นงานหรือแบบจําลองวิธีการที่สรางขึ้นวามีความสอดคลอง ตาม แบบที่ไดถายทอดความคิดไวหรือไม สามารถทํางานหรือใชงานไดหรือไม มีขอบกพรองอยางไร หากผลการทดสอบ พบวา ชิ้นงานหรือแบบจําลองวิธีการไมสอดคลองตามแบบที่ถายทอดความคิดไว ทํางานหรือใชงานไมได หรือมี ขอบกพรองที่ควรปรับปรุงแกไข จะตองมีการบันทึกสิ่งตางๆ เหลานี้ไว ซึ่งขอมูลเหลานี้จะเปนขอมูลที่นําไปสูการ ปฏิบัติงานในขั้นปรับปรุงแกไขตอไป ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแกไข การปรับปรุงแกไข เปนการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากขั้นทดสอบวาควรปรับปรุงแกไขชิ้นงานหรือ แบบจําลองวิธีการในสวนใด ควรปรับปรุงแกไขอยางไร แลวจึงดําเนินการปรับปรุงแกไขในสวนนั้น จนกระทั่ง ชิ้นงานหรือแบบจําลองวิธีการสอดคลองตามแบบที่ถายทอดความคิดไว ทํางานหรือใชงานได ในขั้นตอนนี้อาจ จําเปนตองกลับไปที่ขั้นตอนออกแบบและปฏิบัติการอีกครั้งเพื่อถายทอดความคิดใหมหรืออาจกลับไปขั้นตอน รวบรวมขอมูลและเลือกวิธีการที่เหมาะสมอีกครั้งก็ได เพื่อใหไดสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการที่เหมาะสมมากขึ้น
  • 5. 5 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. ขั้นที่ 7 ประเมินผล การประเมินผล เปนการนําชิ้นงานหรือวิธีการที่ไดสรางขึ้นไปดําเนินการแกปญหาหรือสนองความ ตองการที่กําหนดไวในขั้นกําหนดปญหาหรือความตองการ และประเมินผลที่เกิดขึ้นวาชิ้นงานหรือวิธีการนั้น สามารถแกปญหาไดหรือไม หากผลการประเมินพบวา ชิ้นงานหรือวิธีการไมสามารถแกปญหาหรือสนองความ ตองการได ควรพิจารณาวาจําเปนตองแกไขในขั้นตอนใด เพื่อนําไปปรับปรุงตามกระบวนการเทคโนโลยีอีกครั้ง เพื่อทําใหการทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 6. 6 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. ตัวอยางโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี (รูปแบบสาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท.) ชื่อโครงงานเทคโนโลยี พัดลมเย็นสบายคลายรอน ชื่อผูทําโครงงานเทคโนโลยี นายชวัตร แสงเพชรออน นักวิชาการสาขาออกแบบและเทคโนโลยี ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน 1) อาจารยเอมอร รสเครือ ศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญ (คศ. 4) 2) อาจารยอุปการ จีระพันธุ ผูอํานวยการสาขาออกแบบและเทคโนโลยี บทคัดยอ โครงงานเทคโนโลยีพัดลมเย็นสบายคลายรอนนี้ เปนการนําขวดพลาสติกขนาดเล็กมาทําเปนของใช โดย นํามาทําเปนพัดลมมือถือ สําหรับคลายรอน ทั้งนี้เพื่อลดปริมาณขยะที่จะตองนําไปกําจัดซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําให เกิดภาวะเรือนกระจกสงผลใหเกิดภาวะโลกรอน การดําเนินงานสรางพัดลมเย็นสบายคลายรอน จะดําเนินการ 4 สวน คือ สวนที่ 1 วิเคราะหปญหาหรือ ความตองการและรายละเอียดของปญหาหรือความตองการ สวนที่ 2 การศึกษาวัสดุนําไปสราง สวนที่ 3 การศึกษารูปแบบพัดลม และสวนที่ 4 การตอวงจรไฟฟา ซึ่งการดําเนินงานทั้ง 4 สวน ปฏิบัติงานตามกระบวนการ เทคโนโลยี ผลการดําเนินงานพบวา พัดลมที่ผูจัดทําโครงงานสรางขึ้นจากขวดพลาสติกดวยการตอวงจรไฟฟาอยาง งาย สามารถลดปริมาณขวดพลาสติกขนาดเล็กลงในโรงเรียนได ชวยคลายรอนและพกพาสะดวก ที่มาและความสําคัญของโครงงาน ในปจจุบันมีการสรางสิ่งของเครื่องใชผลิตภัณฑตางๆ ออกมาจํานวนมาก ผลิตภัณฑที่ผลิตออกมานั้นลวน เกิดมาจากการนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชในการผลิต เมื่อผูบริโภคสินคาไดใชผลิตภัณฑนั้นแลวก็ทิ้ง จึงทําให กลายเปนขยะจํานวนมาก เชน ขวดน้ําพลาสติก กลองนม กระปองน้ําอัดลม เปนตน อีกทั้งการกําจัดขยะยัง กอใหเกิดมลพิษทางอากาศและสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการเผาขยะทําใหเกิดแกสคารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนสาเหตุ ทําใหเกิดภาวะเรือนกระจกสงผลใหเกิดภาวะโลกรอนตามมา จากขอมูลขางตน ผูทําโครงงานไดเล็งเห็นความสําคัญของการจัดการขยะ จึงไดมีความคิดในการนําขยะ จากขวดพลาสติกขนาดเล็กกลับมาใชซ้ําโดยทําเปนพัดลมมือถือขนาดพกพา
  • 7. 7 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. จุดมุงหมายการทําโครงงาน สรางพัดลมพกพาจากขยะในโรงเรียน ขั้นที่ 1 กําหนดปญหาหรือความตองการ ปญหาคือ ขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กในโรงเรียนถูกทิ้งจํานวนมาก การกําจัดขยะโดยการเผาทําใหเกิด มลพิษกับสิ่งแวดลอมและเกิดภาวะโลกรอน แนวทางการแกปญหาคือ นําขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กกลับมาใชซ้ํา เพื่อกําจัดขยะในโรงเรียนโดยสราง เปนชิ้นงานที่สามารถคลายรอนในภาวะโลกรอน ขั้นที่ 2 รวบรวมขอมูล จากการแนวทางการปญหาโดยนําขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กกลับมาใชซ้ํา สรางเปนชิ้นงานที่สามารถ คลายรอนในภาวะโลกรอนได ตองศึกษาขอมูลดังตอไปนี้ 1. การวิเคราะหปญหาหรือความตองการดวยชุดคําถาม 5W1H 1) ปญหาหรือสนองความตองการคืออะไร (What) - ขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กในโรงเรียนถูกทิ้งจํานวนมาก การกําจัดขยะโดยการเผา ทําใหเกิดมลพิษกับสิ่งแวดลอมและเกิดภาวะโลกรอน 2) ปญหาหรือสนองความตองการเกิดกับใคร (Who) - ครูและนักเรียน 3) ปญหาหรือสนองความตองการเกิดขึ้นที่ไหน (Where) - โรงเรียน 4) ปญหาหรือสนองความตองการเกิดขึ้นเมื่อไร (When) - เมื่อพบวามีขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กจํานวนมาก 5) เพราะเหตุใดจึงตองแกปญหาหรือสนองความตองการ (Why) - ชวยลดปริมาณขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กในโรงเรียน โดยไมกอใหเกิดมลพิษกับ สิ่งแวดลอม 6) จะแกปญหาหรือสนองความตองการอยางไร (How) - นําขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กกลับมาใชประโยชนโดยสรางเปนชิ้นงานซึ่งทําหนาที่เหมือน พัดลมและสามารถพกพาแทนพัดใหกับครูและนักเรียนในโรงเรียน
  • 8. 8 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. 2. ขอมูลที่จําเปนในการแกปญหาหรือสนองความตองการ 2.1 รูปแบบพัดลมมือถือ พัดลมมือถือขนาดพกพาตามรานคามีรูปแบบสีสันที่หลากหลายและมีราคา ตั้งแต 50-250 บาท ขึ้นอยูกับวัสดุที่นํามาทําการผลิตสิ้นคา อีกทั้งรูปแบบของพัดลมมือถือที่มีความคิดสรางสรรคในการผลิตมาสู ผูบริโภค ตรงตอกลุมเปาหมาย คือ กลุมวัยรุนและวัยทํางาน 2.2 การตอวงจรไฟฟา วงจรไฟฟาที่ใชในการปฎิบัติงานโครงงาน Switch MotorBattery
  • 9. 9 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. 2.3 สรางวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ เพื่อเปนทางเลือกในการออกแบบ (Design Solution) ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการ พัดลมมือถือขนาดพกพา รูปแบบที่ทําการเลือกวิธีการที่จะออกแบบมีหนาที่ในการคลายรอนแกผูใช โดย คํานึงถึงหนาที่ประโยชนการใชสอย วัสดุที่ใชมีความแข็งแรงปลอดภัย ราคาถูกและมีความสะดวกในการใชงาน จากวิธีการทั้ง 3 แบบ เมื่อนํามาวิเคราะหถึงรูปแบบที่จะทําการออกแบบใหมีหนาที่คลายรอนแกผูใช โดย คํานึงถึงหนาที่ประโยชนการใชสอย วัสดุที่ใชมีความแข็งแรงปลอดภัย ราคาถูกและมีความสะดวกในการใชงาน ดังนี้ คือ วิธีการที่ 1 ขวดยาคูลท รูปทรงกระทัดรัด จับถนัดมือ วัสดุมีความแข็งแรงนอย มีความสะดวกในการใช งาน แตมีปญหาในการเปลี่ยนแบตเตอรี่คอนขางยากเพราะปากขวดเล็ก วิธีการที่ 2 ขวดกาวลาเท็กซ จับถนัดมือ วัสดุมีความแข็งแรงมาก มีความสะดวกในการใชงาน เปลี่ยน แบตเตอรี่งาย วิธีการที่ 2 ขวดกาวลาเท็กซ หรือขวดยาแบบมีฝาปด วิธีการที่ 3 ขวดนมเปรี้ยวหรือขวดน้ําผลไม วิธีการที่ 1 ขวดยาคูลท
  • 10. 10 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. วิธีการที่ 3 ขวดนมเปรี้ยว รูปทรงกระทัดรัด จับถนัดมือ วัสดุมีความแข็งแรงมาก มีความสะดวกในการใช งาน แตมีปญหาในการเปลี่ยนแบตเตอรี่คอนขางยากเพราะปากขวดเล็ก สรุปผลการวิเคราะห เลือกวิธีการที่ 2 เนื่องจากวัสดุของขวดกาวลาเท็กซ หรือขวดยาแบบ มีฝาปดเปนขวดพลาสติกที่มีความแข็ง ปลอดภัย อีกทั้ง เมื่อแบตเตอรี่หมดสามารถเปดฝาขวดเพื่อเปลี่ยนแบตเตอรี่ ไดงาย ทางผูทําโครงงานจึงเลือกขวดกาวลาเท็กซที่ใชแลวมาทําพัดลมมือถือแบบพกพา ขั้นที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ 1. การออกแบบแนวทางการแกปญหาหรือสนองความตองการโดยละเอียด ภาพฉาย แสดงขนาดสัดสวนของชิ้นงาน
  • 11. 11 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. 2. การลงมือสราง 2.1 เจาะรูฝาขวดใหเทากับขนาดมอเตอร 2.2 เจาะรูขวดพลาสติกเพื่อยึดสวิตช 2.3 นํามอเตอรยึดติดกับฝา แลวยึดติดดวยปนยิงกาว
  • 12. 12 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. 2.4 ตอสายไฟเขากับสวิตช มอเตอร และลังถาน แลวเปด-ปดสวิตซ ดูวามอเตอรทํางานหรือไม และลอง ใสใบพัดวาตอวงจรถูกตองหรือไม (ลมออก คือ ตอวงจรถูก ลมดูด คือ ตอวงจรผิด)
  • 13. 13 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. 2.5 นําสวิตชยึดติดกับขวดพลาสติก แลวเอาลังถานลงในขวดพลาสติก 2.6 ปดฝาและติดใบพัด
  • 14. 14 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. ขั้นที่ 5 ทดสอบ 1. ทดสอบการทํางานของพัดลมโดยเปดสวิตช พบวา ตอมอเตอรผิดขั้ว ทําใหเกิดลมดูด 2. การเปลี่ยนแบตเตอรี่ พบวา พัดลมที่สรางจากขวดกาวลาเท็กซ สามารถเปดฝาขวดเพื่อ เปลี่ยนแบตเตอรี่ไดงาย โดยไมสงผลตอวงจรไฟฟา 3. การยึดติดของมอเตอรกับโครงสรางขวด พบวา มอเตอรยึดติดแนน เมื่อเปดสวิตชมอเตอรยังคงยึดติด กับโครงสรางขวด ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแกไข การปรับปรุงแกไขทําไดโดยตอวงจรที่ขั้วของมอเตอรใหม เมื่อเปดสวิตชพบวามอเตอรหมุนใหแรงลมใน ทิศทางพุงออกจากใบพัด ขั้นที่ 7 ประเมินผล การประเมินชิ้นงานวาสามารถใชแกปญหา หรือสนองความตองการหรือไม และพิจารณาถึง ชิ้นงานที่สรางขึ้นตรงตามความตองการที่ตั้งไว โดยแบบสอบถามมีประเด็นการประเมินดังนี้ 1. หนาที่ประโยชนการใชสอย 2. วัสดุที่ใชมีความแข็งแรงปลอดภัย 3. มีราคาถูก (ตนทุนตอหนวยการผลิต) 4. ความสะดวกในการใชงาน สรุป พัดลมเย็นสบายคลายรอนชวยลดปริมาณขยะขวดพลาสติกขนาดเล็กในโรงเรียน สามารถ คลายรอนใหกับครูและนักเรียนได ความสะดวกในการใชงานอยูในระดับมาก มีความแข็งแรงอยูในระดับมาก มี ตนทุนตอหนวยการผลิตถูกในระดับมาก วัสดุ อุปกรณและเครื่องมือที่ใช 1. ขยะขวดกาวลาเท็กซที่ใชแลว 2. มอเตอร ขนาด 3 Volt 3. Battery AA 1.5 V 2 กอน 4. ลังถานแบบ 2 กอน 5. สวิตชเลื่อน
  • 15. 15 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. 6. ใบพัดจากของเลนที่ชํารุดแลว 7. กาวสองหนา หรือ ปนยิงกาว 8. สวานมือ 9. ไมบรรทัด ดินสอ แผนรองตัด คัตเตอร ประโยชนของกระบวนการเทคโนโลยี จากตัวอยางแสดงใหเห็นวาการนํากระบวนการเทคโนโลยีไปประยุกตใชในการทํางานตางๆ ใน ชีวิตประจําวันนั้น สามารถชวยใหผูนําไปใชเกิดกระบวนการทํางานที่เปนขั้นตอน ซึ่งจะชวยใหสามารถแกปญหา หรือสนองความตองการไดงายขึ้น ซึ่งขั้นตอนการทํางานตามกระบวนการเทคโนโลยีขางตน จะเห็นวาการทํางาน ตามกระบวนการเทคโนโลยีนั้นชวยใหผูปฏิบัติงานมีการทํางานเปนขั้นตอนอยางชัดเจน ซึ่งในแตละขั้นตอนยัง สงผลดีตอการทํางาน ดังตารางตอไปนี้ กระบวนการเทคโนโลยี ผลดีตอการทํางาน ขั้นที่ 1 กําหนดปญหาหรือความตองการ ชวยใหการศึกษาและการกําหนดปญหามีความชัดเจน ขั้นที่ 2 รวบรวมขอมูล ชวยใหรวบรวมขอมูลที่จําเปนในการแกปญหาได ครอบคลุม ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการ ชวยใหตัดสินใจเลือกแนวทางที่สามารถแกปญหาได เหมาะสม ขั้นที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ ชวยใหการสรางชิ้นงานงายขึ้นและลดระยะเวลาในการ สราง เพราะมีการออกแบบภาพรางของการทํางาน ทําให เห็นรายละเอียดของการทํางาน ขั้นที่ 5 ทดสอบ ชวยใหทราบขอบกพรองของการทํางานกอนนําไปปฏิบัติ จริง ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแกไข ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานใหดียิ่งขึ้น ขั้นที่ 7 ประเมินผล ชวยตรวจสอบผลการทํางานวาตรงกับปญหาหรือความ ตองการหรือไม
  • 16. 16 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ ปกนอก เรื่อง ............................................................................................................................................... โดย 1 ......................................................................................................................................... 2 ....................................................................................................................................... 3 ........................................................................................................................................ โรงเรียน............................................................................................................................................ สังกัด ............................................................................................................................................... ปกใน เรื่อง ............................................................................................................................................... โดย 1 ........................................................................................................................................ 2 ....................................................................................................................................... 3 ........................................................................................................................................ โรงเรียน .......................................................................................................................................... สังกัด ...................................................................................................................................................... ครูที่ปรึกษา .............................................................................................................................................. ที่ปรึกษาพิเศษ .......................................................................................................................................... เนื้อหา ประกอบดวย - บทคัดยอ - กิตติกรรมประกาศ - สารบัญ - สารบัญตาราง (ถามี) - สารบัญรูปภาพ (ถามี) - บทที่ 1 บทนํา - บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ
  • 17. 17 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. - บทที่ 3 อุปกรณและวิธีการดําเนินการ “นําเสนอวิธีการดําเนินการดวยกระบวนการเทคโนโลยี” - บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน - บทที่ 5 สรุปผลการดําเนินงาน/อภิปรายผลการดําเนินงาน - บรรณานุกรม - ภาคผนวก
  • 18. 18 เอกสารเผยแพร เรื่องกระบวนการเทคโนโลยี สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. เอกสารอางอิง 1. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและ เทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. กรุงเทพฯ : สกสค., 2554. 2. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและ เทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. กรุงเทพฯ : สกสค., 2554. 3. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและ เทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ : สกสค., 2554. 4. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. หนังสือเสริมการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูการงาน อาชีพและเทคโนโลยี การออกแบบแลเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ : สกสค., 2554. 5. เดวิด โกรเวอร. นักสํารวจนอย แบตเตอรี่ หลอดไฟ และสายไฟ กิจกรรมและการทดลอง วิทยาศาสตรแสนสนุก. กรุงเทพ : สํานักพิมพ เจ เจ จํากัด. 2545.