SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
กฎหมายสาธารณสุ ข
                                                                                         เสมอ กาฬภักดี samertap@hotmail.com
                                                                                         กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม
                                                                                         สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข




ได้อะไรจาก                      ร่าง พ.ร.บ.
                                          คุ้มครองผู้เสียหายฯ

          ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสีย-
 หายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....
 ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย
 และผ่ า นการพิ จ ารณาของคณะกรรมการ-
 กฤษฎีกาแล้ว โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็น-
 ชอบเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 ขณะที่กำลัง
 จะนำร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่การพิจารณา
 ของสภาผู้แทนราษฎร ปรากฏว่ามีกลุ่มแพทย์
 และเจ้าหน้าที่บางส่วนได้ออกมาคัดค้านร่าง-
 กฎหมายดังกล่าวปรากฏเป็นข่าวครึกโครม             เหตุผลในการร่างกฎหมายฉบับนี้
 ทางสื่อมวลชนโดยไม่เห็นด้วย เช่น กล่าวว่า                  ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจาก
 จะทำให้มีการฟ้องร้องแพทย์มากขึ้น หรือจะ         การรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ได้ระบุเหตุผลไว้
 ทำให้งบประมาณที่ต้องใช้จ่ายตามกฎหมาย            ว่า
 ดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น แต่ก็มีแพทย์บางกลุ่ม                 “โดยที่ปัจจุบันความเสียหายจากการรับ
 โดยเฉพาะกลุ่มแพทย์ชนบทและกลุ่มองค์กร-           บริการสาธารณสุขไม่ได้รับการแก้ไขเยียวยาอย่าง
 ภาคเอกชน เห็นด้วยกับร่างกฎหมายดังกล่าว          เป็ น ระบบให้ ท ั น ท่ ว งที ทำให้ ม ี ก ารฟ้ อ งร้ อ งผู ้ ใ ห้
 โดยเห็นว่าจะทำให้การฟ้องร้องแพทย์และเจ้า-       บริการสาธารณสุขทั้งทางแพ่งและอาญา และทำให้
 หน้าที่ลดลง มีระบบการไกล่เกลี่ยและมีการ         ความสั ม พั น ธ์ ท ี ่ ด ี ร ะหว่ า งผู ้ ร ั บ และผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร
 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนไข้และผู้ที่ทำ   สาธารณสุขเปลี่ยนไปจากเดิม อันส่งผลร้ายมายัง
 หน้าที่การรักษาพยาบาล ดังนั้น จึงขอเสนอ         ผู้รับและผู้ให้บริการสาธารณสุข ตลอดจนกระทบถึง
 สาระสำคั ญ ของร่ า งกฎหมายดั ง กล่ า วเพื ่ อ   การประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุข
 สร้างความเข้าใจแก่หมออนามัยและผู้อ่านทุก        รวมถึงระบบบริการสาธารณสุขด้วย สมควรจะได้แก้
 ท่าน


                                                                                     /กันยายน - ตุลาคม 2553 49
ปั ญ หาดั ง กล่ า วเพื ่ อ ให้ ผู ้ เ สี ย หายจากบริ ก าร
 สาธารณสุขได้รับการแก้ไขเยียวยาโดยรวดเร็ว
 และเป็นธรรมโดยการจัดตั้งกองทุนเพื่อชดเชย
 ความเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย ส่งเสริมให้มีการ
 ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและเสริมสร้างความสัมพันธ์
 ที่ดีระหว่างผู้รับและผู้ให้บริการสาธารณสุข จัด
 ให้ ม ี ก ารพั ฒ นาระบบความปลอดภั ย และ
 ป้องกันความเสียหายจากบริการสาธารณสุข
 ทั้งให้ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจในการลงโทษหรือ
 ไม่ลงโทษผู้ให้บริการสาธารณสุขในกรณีที่ถูก
                                                                ผู้เสียหาย คือใคร
 ฟ้ อ งคดี อ าญาข้ อ หากระทำการโดยประมาท
                                                                 	      ผู้เสียหาย ตามร่างกฎหมายฉบับนี้
 ด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้”
                                                                คือ บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการรับ
             จะเห็นว่าร่างกฎหมายดังกล่าวมีเจต-
                                                                บริ การสาธารณสุ ขจากสถานพยาบาลตาม
 นารมณ์ ท ี ่ จ ะสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ท ี ่ ด ี ร ะหว่ า ง
                                                                กฎหมายว่ า ด้ ว ยสถานพยาบาล สถาน-
 คนไข้และผู้ให้บริการ เพื่อจะได้ไม่ต้องไปฟ้อง-
                                                                พยาบาลของรั ฐ และของสภากาชาดไทย
 ร้ อ งเป็ น คดี ก ั น โดยมี ก องทุ น สำหรั บ ชดเชย
                                                                และรวมถึ ง สถานบริ ก ารสาธารณสุ ข ตามที ่
 ความเสียหาย มาช่วยแก้ไขเยียวยาให้กับผู้ที่
                                                                คณะกรรมการสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีใน
 เสียหายจากการให้บริการสาธารณสุขทุกกลุ่ม
                                                                ระบบบริการสาธารณสุขประกาศกำหนด
 ซึ่งปัจจุบันนี้การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตาม
                                                                        จะเห็นว่าเมื่อประชาชนไปรับบริการ
 มาตรา 41 ของพระราชบัญญัติหลักประกัน-
                                                                ที่สถานพยาบาลของรัฐและเอกชน เช่น โรง-
 สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2545 จะครอบคลุ ม
                                                                พยาบาลของทางราชการ สภากาชาดไทย โรง-
 แต่เฉพาะคนไข้บัตรทองเท่านั้น ส่วนกลุ่มอื่น
                                                                พยาบาลเอกชน รวมทั้ง คลินิกเอกชน แล้ว
 เช่น กลุ่มผู้ใช้สิทธิประกันสังคม กลุ่มผู้ใช้สิทธิ
                                                                เกิดความเสียหาย ถือว่าเป็นผู้เสียหายที่จะได้
 สวัสดิการข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ ยังไม่มี
                                                                รับความคุ้มครองจากกฎหมายฉบับนี้ทั้งหมด
 ระบบใด ๆ ที่จะให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นแก่
 กลุ่มดังกล่าวแต่อย่างใด นอกจากนี้หากมีการ
                                                                บริการสาธารณสุข คืออะไร
 ฟ้ อ งคดี อ าญากรณี ท ี ่ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารกระทำโดย
                                                                         บริ ก ารสาธารณสุ ข คื อ บริ ก าร
 ประมาท ก็ให้ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจไม่ลงโทษ
                                                                ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ซึ่งได้แก่ การ
 หรือรอลงอาญาก็ได้ เพราะการฟ้องคดีอาญา
                                                                ประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการ
 นั้น เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน ที่มีสิทธิ
                                                                ประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพเวช-
 ฟ้ อ งร้ อ งได้ ห ากได้ ร ั บ ความเสี ย หายจากการ
                                                                กรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม
 รักษาพยาบาลที่ได้กระทำโดยประมาท
                                                                การประกอบวิ ช าชี พ การพยาบาลและการ
                                                                ผดุ ง ครรภ์ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยวิ ช าชี พ การ
                                                                พยาบาลและการผดุ ง ครรภ์ การประกอบ
                                                                วิชาชีพทันตกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ


50         ปีที่ 20 ฉบับที่ 2
ทันตกรรม การประกอบวิชาชีพกายภาพบำบัดตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพกายภาพบำบัด การ
ประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ การประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเภสัชกรรม หรือการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์
และสาธารณสุขอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด และให้รวมถึงการให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่
กำหนดในกฎกระทรวง
         จะเห็นว่าบริการสาธารณสุขที่ประชาชนได้รับและอาจเกิดความเสียหายได้นั้นมีความ
ครอบคลุมเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการรักษาพยาบาลทั่วไป การพยาบาลและการผดุงครรภ์
ทันตกรรม กายภาพบำบัด เทคนิคการแพทย์ และเภสัชกรรม

                                          ผู้เสียหายมีสิทธิได้รับเงินอะไรบ้าง
                                                      ผู ้ เ สี ย หายจากการรั บ บริ ก ารสาธารณสุ ข จาก
                                          สถานพยาบาล มีสิทธิได้รับ “เงินช่วยเหลือเบื้องต้น”
                                          และ “เงินชดเชย” จากกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดี
                                          ในระบบบริการสาธารณสุข โดยไม่ต้องพิสูจน์ความรับผิด
                                                      จะเห็นว่าผู้เสียหายมีสิทธิจะได้รับการช่วยเหลือ-
                                          เยียวยาความเสียหายอย่างรวดเร็วและเป็นธรรมโดยไม่ต้อง
                                          พิสูจน์ความรับผิด ตามหลักการเรื่อง no - fault compen-
                                          sation system คือ มีการจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นและเงิน-
                                          ชดเชยจากกองทุน ซึ่งจะแตกต่างกับการฟ้องคดีแพ่งทั่วไป
                                          ที่มุ่งแต่จะหาตัวผู้ที่ต้องรับผิดชอบ ซึ่งการฟ้องคดีละเมิดต่อ
                                          ศาลนั้นต้องใช้เวลายาวนานและเสียค่าใช้จ่ายมาก อีกทั้ง
                                          ยังทำให้เกิดความทุกข์ด้วยกันทั้งสองฝ่าย สำหรับแนวคิด
                                          เรื่อง no - fault compensation system ปัจจุบันมีหลาย
                                          ประเทศที่ออกกฎหมายบังคับใช้ เช่น สวีเดน นิวซีแลนด์
                                          ฟินแลนด์ นอร์เวย์ เดนมาร์ก เป็นต้น

                                          เมื่อเกิดความเสียหายจะมีสิทธิได้รับเงิน
                                          ทุกกรณีหรือไม่
                                                   ผู้เสียหายจะไม่มีสิทธิได้รับเงิน “เงินช่วยเหลือ-
                                          เบื้องต้น” และ “เงินชดเชย” หากเป็นกรณี ดังต่อไปนี้
                                                   1. กรณี เ ป็ น ความเสี ย หายที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ตามปกติ -
                                          ธรรมดาของโรคแม้จะได้มีการให้บริการสาธารณสุขตาม
                                          มาตรฐานวิชาชีพ




                                                                                /กันยายน - ตุลาคม 2553 51
2. กรณี เ ป็ น ความเสี ย หาย                            จะเห็นว่าเงินกองทุนส่วนใหญ่จะเป็นจากรัฐทั้ง
     ซึ ่ ง หลี ก เลี ่ ย งมิ ไ ด้ จ ากการให้ บ ริ ก าร       ที่มีอยู่เดิมตาม พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.
     สาธารณสุขตามมาตรฐานวิชาชีพ                               2544 และเงินอุดหนุนจากรัฐบาล ส่วนเงินสมทบที่สถาน-
                   3. กรณีความเสียหายที่เมื่อสิ้น-            พยาบาลโดยเฉพาะคลินิกหรือโรงพยาบาลเอกชนจะต้อง
     สุ ด กระบวนการให้ บ ริ ก ารสาธารณสุ ข                    จ่ายเข้ากองทุน ซึ่งก็อาจกระทบต่อสถานพยาบาลภาค
     แล้วไม่มีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตตาม                       เอกชนบ้าง จากเดิมที่ไม่มีภาระจะต้องจ่ายเงินในส่วนนี้
     ปกติ
                   จะเห็ น ว่ า ผู ้ ท ี ่ ม ารั บ บริ ก าร   เงินกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์
     สาธารณสุขแล้วเกิดความเสียหายนั้น                         ที่ดีฯ จ่ายเป็นค่าอะไรบ้าง
     ไม่ได้มีสิทธิที่จะได้รับ “เงินช่วยเหลือ-                         เงินกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบ
     เบื้องต้น” และ “เงินชดเชย” ทุกกรณี                       บริการสาธารณสุข มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
     แต่อย่างใด การพูดว่าคนที่เจ็บป่วยทุก                             1. เพื่อจ่ายเป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นและเงิน-
     รายจะแห่กันมาขอรับเงินจากกองทุนจน                        ชดเชยให้แก่ผู้เสียหายหรือทายาท
     ทำให้เป็นภาระแก่เงินงบประมาณของ                                  2. เพื่อชำระค่าสินไหมทดแทนตามคำพิพากษา
     ประเทศนั้น จึงไม่เป็นความจริง                                    3. เป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ยสนั บ สนุ น หรื อ ส่ ง เสริ ม การ
                                                              ดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกัน
     เ งิ น ก อ ง ทุ น ส ร้ า ง เ ส ริ ม                      ความเสียหายตามแผนงานที่คณะกรรมการอนุมัติ
     ความสัมพันธ์ที่ดีฯ มาจาก                                         4. เป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการพัฒนาระบบการไกล่-
     ไหน
                                                     เกลี่ยและสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการ
                 เงิ น กองทุ น สร้ า งเสริ ม ความ             สาธารณสุข
     สัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข
     ได้ ม าจากเงิ น ที ่ โ อนมาจากเงิ น ตาม                  คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องมีใครบ้าง
     มาตรา 41 แห่ง พระราชบัญญัติหลัก-                                   ร่างกฎหมายฉบับนี้กำหนดให้มีคณะกรรมการ
     ประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2544 เงินที่                   จำนวน 2 คณะ และคณะอนุกรรมการ จำนวน 3 คณะ
     สถานพยาบาลจ่ายสมทบ เงินอุดหนุน                           คือ
     จากรัฐบาล เงินเพิ่มตามมาตรา 21 วรรค                                1. คณะกรรมการสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีใน
     สอง เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาค และ                  ระบบบริการสาธารณสุข
     ดอกผลหรือผลประโยชน์ที่เกิดจากเงิน                                  2. คณะกรรมการการวินิจฉัยอุทธรณ์
     หรือทรัพย์สินของกองทุน ร่างกฎหมาย                                  3. คณะอนุกรรมการพิจารณาให้เงินช่วยเหลือ
     ฉบับนี้ได้กำหนดให้สถานพยาบาลต้อง                         เบื้องต้น
     จ่ า ยเงิ น สมทบเข้ า กองทุ น ตามหลั ก -                           4. คณะอนุกรรมการการประเมินเงินชดเชย
     เกณฑ์วิธีการและอัตราที่คณะกรรมการ                                  5. คณะอนุ ก รรมการด้ า นอื ่ น ๆ ตามที ่ เ ห็ น
     กำหนดโดยต้องคำนึงถึงเรื่องต่าง ๆ ด้วย                    สมควร
     เช่น ขนาดของสถานพยาบาล จำนวน
     ผู้รับบริการ ความถี่และความรุนแรงของ
     การเกิดความเสียหาย เป็นต้น

52      ปีที่ 20 ฉบับที่ 2
เสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้
                                                    บริโภค และผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ (3)
                                                    ผู้แทนสถานพยาบาล จำนวน 3 คน (4) ผู้แทน
                                                    องค์กรพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านคุ้มครองสิทธิ
                                                    ผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ จำนวน 3 คน (5)
                                                    ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง
                                                    จากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ ด้านเศรษฐศาสตร์
                                                    สังคมศาสตร์ สื่อสารมวลชน สิทธิมนุษยชน
            โดยให้กรมสนับสนุนบริการ-                และการเจรจาไกล่เกลี่ยสาธารณสุข ด้านละ
สุขภาพ เป็นสำนักงานเลขานุการของ                     1 คน โดยคณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ต่าง ๆ
คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ                          เช่น กำหนดนโยบายและมาตรการเกี่ยวกับ
ดังกล่าว โดยมีอำนาจหน้าที่ เช่น การ                 การคุ้มครองผู้เสียหาย กำหนดระเบียบการรับ
รับและตรวจสอบคำขอรับเงินค่าเสีย-                    และจ่ายเงินของกองทุน กำหนดระเบียบและ
หายและคำอุทธรณ์ การรับ จ่าย และ                     หลักเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการขอรับเงินค่า
เก็บรักษาเงิน และทรัพย์สินของกอง-                   เสี ย หาย การอุ ท ธรณ์ การทำสั ญ ญาประนี -
ทุ น สร้ า งเสริ ม ความสั ม พั น ธ์ ท ี ่ ด ี ใ น   ประนอมยอมความ การสนั บ สนุ น การไกล่ -
ระบบบริ ก ารสาธารณสุข และงาน                        เกลี่ย และการบริหารงาน เป็นต้น
ทางด้านธุรการต่าง ๆ เป็นต้น                                   จะเห็ น ว่ า คณะกรรมการดั ง กล่ า วมี
                                                    อำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายและ
คณะกรรมการสร้ า ง-                                  หลักเกณฑ์ ต ่ า ง ๆ ไม่ ม ี อ ำนาจหน้ า ที ่ ใ นการ
เสริ ม ความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ฯ                    พิจารณาเกี่ยวกับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น และ
มี ใ ครบ้ า ง และมี อ ำนาจ                          เงินชดเชยแต่อย่างใด องค์ประกอบของคณะ-
หน้าที่อย่างใด
                                     กรรมการคณะนี้ มีบางฝ่ายคัดค้านว่า มีบุค-
         คณะกรรมการสร้ า งเสริ ม                    ลากรทางการแพทย์เป็นคณะกรรมการน้อยไป
ความสั ม พั น ธ์ ท ี ่ ด ี ใ นระบบบริ ก าร          และเป็นกรรมการที่ไม่มีความรู้ความชำนาญ
สาธารณสุข มีจำนวน 18 คน ประ-                        ทางการแพทย์ แต่ ต ้ อ งมาตั ด สิ น การรั ก ษา
กอบด้วย (1) รัฐมนตรีว่าการกระทรวง-                  พยาบาลของแพทย์ มุมมองดังกล่าวอาจมอง
สาธารณสุ ข เป็ น ประธานกรรมการ                      เพียงด้านเดียวและมีความวิตกจนเกินไป ทั้งนี้
(2) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัด-                      องค์ประกอบของคณะกรรมการดังกล่าว จะ
กระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการ-                      เห็นได้ว่ามีความหลากหลายในหลายด้านไม่
พั ฒ นาสั ง คมและความมั ่ น คงของ                   จำกัดเฉพาะแต่ด้านการแพทย์เท่านั้น
มนุษย์ อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและ-

                                                                                                  /กันยายน - ตุลาคม 2553 53
ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร
     พิ จ ารณาให้ เ งิ น ช่ ว ยเหลื อ
     เบื้ อ งต้ น มี ใ ครบ้ า ง และมี
     อำนาจหน้าที่อย่างใด
              คณะอนุกรรมการพิจารณาให้
     เงินช่วยเหลือเบื้องต้น มีจำนวน 5 คน
     ประกอบด้ ว ย ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒ ิ ด ้ า นนิ ต ิ -
     ศาสตร์ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
     และด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านละ
     1 คน และผู้แทนสถานพยาบาลและผู้-
     แทนผู้รับบริการสาธารณสุข ฝ่ายละ 1
     คน มี อ ำนาจหน้ า ที ่ ใ นการพิ จ ารณา              คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์มีใคร
     คำร้องขอรับเงินค่าเสียหายซึ่งเป็นเงิน               บ้าง และอำนาจหน้าที่อย่างใด
     ช่วยเหลือเบื้องต้น คณะอนุกรรมการ                              คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ มีจำนวน 8 คน
     คณะนี้แต่งตั้งโดยคณะกรรมการสร้าง-                   แต่งตั้งโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประกอบ
     เสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการ                  ด้วย ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นซึ่งเป็น
     สาธารณสุข                                           ผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ ด้านการแพทย์และสาธารณ-
                                                         สุข ด้านสังคมสงเคราะห์ ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ และ
     ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร                            ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านละ1 คน และผู้แทนสถาน-
     ประเมิ น เงิ น ชดเชยมี ใ คร                         พยาบาลและผู้แทนผู้รับบริการสาธารณสุข ฝ่ายละ 1 คน
     บ้ า ง แ ล ะ อ ำ น า จ ห น้ า ที่                   มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณ์ (1)
     อย่างใด
                                            กรณีที่คณะอนุกรรมการพิจารณาให้เงินช่วยเหลือเบื้องต้น
                   คณะอนุกรรมการประเมินเงิน-             ไม่รับคำขอของผู้เสียหาย (2) กรณีที่ผู้ยื่นคำขอไม่เห็นด้วย
     ชดเชย มีจำนวน 5 คน ประกอบด้วย                       กั บ จำนวนเงิ น ชดเชยที ่ ค ณะอนุ ก รรมการประเมิ น เงิ น -
     ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒ ิ ด ้ า นนิ ต ิ ศ าสตร์ ด้ า น   ชดเชยได้วินิจฉัย
     สังคมสงเคราะห์ ด้านการแพทย์และ                                ร่าง พ.ร.บ. คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการ
     สาธารณสุข ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ                     สาธารณสุข พ.ศ..... ยังไม่จบเพียงแค่นี้ ยังมีสาระสำคัญ
     และด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านละ                  อื่น ๆ อีก เช่น การใช้สิทธิขอรับค่าเสียหาย กระบวนการ
     1 คน มีอำนาจหน้าที่พิจารณาเกี่ยวกับ                 และขั้นตอนในการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นและ
     เงิ น ชดเชย คณะอนุ ก รรมการคณะนี ้                  เงินชดเชย อายุความในการใช้สิทธิ การไกล่เกลี่ยและ
     แต่ ง ตั ้ ง โดยคณะกรรมการสร้ า งเสริ ม             สร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข
     ความสั ม พั น ธ์ ท ี ่ ด ี ใ นระบบบริ ก ารสา-       การพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกันความเสียหาย
     ธารณสุข                                             การฟ้ อ งผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารทางสาธารณสุ ข เป็ น คดี อ าญาฐาน
     
                                                   กระทำโดยประมาทเกี่ยวเนื่องกับการให้บริการสาธารณสุข
                                                         ซึ่งจะได้นำเสนอในฉบับหน้าต่อไป



54            ปีที่ 20 ฉบับที่ 2

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านthaitrl
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2patientrightsth
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์Utai Sukviwatsirikul
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552puangpaka
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 

Was ist angesagt? (18)

พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 2/2
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
 
Financing for Emergency patients
Financing for Emergency patientsFinancing for Emergency patients
Financing for Emergency patients
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
 
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
 
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ..
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
ตารางปรียบเทียบร่างพรบ.ฉบับเดิมกับฉบับสธ.(ปรับปรุง)
 
กฎหมาย2552
กฎหมาย2552กฎหมาย2552
กฎหมาย2552
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
what
whatwhat
what
 

Ähnlich wie ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2

TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERtaem
 
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาสปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 joansr9
 
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)larnpho
 
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
สิทธิผู้ป่วย
สิทธิผู้ป่วยสิทธิผู้ป่วย
สิทธิผู้ป่วยPreeda Limnontakul
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1thaitrl
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfIjimaruGin
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3thaitrl
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์หมอปอ ขจีรัตน์
 
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2larnpho
 
05 health consumer protection
05 health consumer protection05 health consumer protection
05 health consumer protectionFreelance
 
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรการประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรwanarrom
 

Ähnlich wie ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2 (20)

TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ER
 
ความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
ความเป็นมาพรบ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ
 
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
3 ข้อดีหรือเสีย ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ-ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014
 
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
ถาม- ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 1 (2557)
 
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
 
สิทธิผู้ป่วย
สิทธิผู้ป่วยสิทธิผู้ป่วย
สิทธิผู้ป่วย
 
คำประกาศสิทธิผู้ป่วย
คำประกาศสิทธิผู้ป่วยคำประกาศสิทธิผู้ป่วย
คำประกาศสิทธิผู้ป่วย
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ทำไมต้องมีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
 
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้องผู้ป่วยฉุกเฉิน อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
 
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์ เล่ม 2
 
05 health consumer protection
05 health consumer protection05 health consumer protection
05 health consumer protection
 
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
 
การประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรการประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไร
 

ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2

  • 1. กฎหมายสาธารณสุ ข เสมอ กาฬภักดี samertap@hotmail.com กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้อะไรจาก ร่าง พ.ร.บ. คุ้มครองผู้เสียหายฯ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสีย- หายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย และผ่ า นการพิ จ ารณาของคณะกรรมการ- กฤษฎีกาแล้ว โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็น- ชอบเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 ขณะที่กำลัง จะนำร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่การพิจารณา ของสภาผู้แทนราษฎร ปรากฏว่ามีกลุ่มแพทย์ และเจ้าหน้าที่บางส่วนได้ออกมาคัดค้านร่าง- กฎหมายดังกล่าวปรากฏเป็นข่าวครึกโครม เหตุผลในการร่างกฎหมายฉบับนี้ ทางสื่อมวลชนโดยไม่เห็นด้วย เช่น กล่าวว่า ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจาก จะทำให้มีการฟ้องร้องแพทย์มากขึ้น หรือจะ การรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ได้ระบุเหตุผลไว้ ทำให้งบประมาณที่ต้องใช้จ่ายตามกฎหมาย ว่า ดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น แต่ก็มีแพทย์บางกลุ่ม “โดยที่ปัจจุบันความเสียหายจากการรับ โดยเฉพาะกลุ่มแพทย์ชนบทและกลุ่มองค์กร- บริการสาธารณสุขไม่ได้รับการแก้ไขเยียวยาอย่าง ภาคเอกชน เห็นด้วยกับร่างกฎหมายดังกล่าว เป็ น ระบบให้ ท ั น ท่ ว งที ทำให้ ม ี ก ารฟ้ อ งร้ อ งผู ้ ใ ห้ โดยเห็นว่าจะทำให้การฟ้องร้องแพทย์และเจ้า- บริการสาธารณสุขทั้งทางแพ่งและอาญา และทำให้ หน้าที่ลดลง มีระบบการไกล่เกลี่ยและมีการ ความสั ม พั น ธ์ ท ี ่ ด ี ร ะหว่ า งผู ้ ร ั บ และผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนไข้และผู้ที่ทำ สาธารณสุขเปลี่ยนไปจากเดิม อันส่งผลร้ายมายัง หน้าที่การรักษาพยาบาล ดังนั้น จึงขอเสนอ ผู้รับและผู้ให้บริการสาธารณสุข ตลอดจนกระทบถึง สาระสำคั ญ ของร่ า งกฎหมายดั ง กล่ า วเพื ่ อ การประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุข สร้างความเข้าใจแก่หมออนามัยและผู้อ่านทุก รวมถึงระบบบริการสาธารณสุขด้วย สมควรจะได้แก้ ท่าน /กันยายน - ตุลาคม 2553 49
  • 2. ปั ญ หาดั ง กล่ า วเพื ่ อ ให้ ผู ้ เ สี ย หายจากบริ ก าร สาธารณสุขได้รับการแก้ไขเยียวยาโดยรวดเร็ว และเป็นธรรมโดยการจัดตั้งกองทุนเพื่อชดเชย ความเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย ส่งเสริมให้มีการ ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและเสริมสร้างความสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างผู้รับและผู้ให้บริการสาธารณสุข จัด ให้ ม ี ก ารพั ฒ นาระบบความปลอดภั ย และ ป้องกันความเสียหายจากบริการสาธารณสุข ทั้งให้ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจในการลงโทษหรือ ไม่ลงโทษผู้ให้บริการสาธารณสุขในกรณีที่ถูก ผู้เสียหาย คือใคร ฟ้ อ งคดี อ าญาข้ อ หากระทำการโดยประมาท ผู้เสียหาย ตามร่างกฎหมายฉบับนี้ ด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้” คือ บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการรับ จะเห็นว่าร่างกฎหมายดังกล่าวมีเจต- บริ การสาธารณสุ ขจากสถานพยาบาลตาม นารมณ์ ท ี ่ จ ะสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ท ี ่ ด ี ร ะหว่ า ง กฎหมายว่ า ด้ ว ยสถานพยาบาล สถาน- คนไข้และผู้ให้บริการ เพื่อจะได้ไม่ต้องไปฟ้อง- พยาบาลของรั ฐ และของสภากาชาดไทย ร้ อ งเป็ น คดี ก ั น โดยมี ก องทุ น สำหรั บ ชดเชย และรวมถึ ง สถานบริ ก ารสาธารณสุ ข ตามที ่ ความเสียหาย มาช่วยแก้ไขเยียวยาให้กับผู้ที่ คณะกรรมการสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีใน เสียหายจากการให้บริการสาธารณสุขทุกกลุ่ม ระบบบริการสาธารณสุขประกาศกำหนด ซึ่งปัจจุบันนี้การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตาม จะเห็นว่าเมื่อประชาชนไปรับบริการ มาตรา 41 ของพระราชบัญญัติหลักประกัน- ที่สถานพยาบาลของรัฐและเอกชน เช่น โรง- สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2545 จะครอบคลุ ม พยาบาลของทางราชการ สภากาชาดไทย โรง- แต่เฉพาะคนไข้บัตรทองเท่านั้น ส่วนกลุ่มอื่น พยาบาลเอกชน รวมทั้ง คลินิกเอกชน แล้ว เช่น กลุ่มผู้ใช้สิทธิประกันสังคม กลุ่มผู้ใช้สิทธิ เกิดความเสียหาย ถือว่าเป็นผู้เสียหายที่จะได้ สวัสดิการข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ ยังไม่มี รับความคุ้มครองจากกฎหมายฉบับนี้ทั้งหมด ระบบใด ๆ ที่จะให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ กลุ่มดังกล่าวแต่อย่างใด นอกจากนี้หากมีการ บริการสาธารณสุข คืออะไร ฟ้ อ งคดี อ าญากรณี ท ี ่ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารกระทำโดย บริ ก ารสาธารณสุ ข คื อ บริ ก าร ประมาท ก็ให้ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจไม่ลงโทษ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ซึ่งได้แก่ การ หรือรอลงอาญาก็ได้ เพราะการฟ้องคดีอาญา ประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการ นั้น เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน ที่มีสิทธิ ประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพเวช- ฟ้ อ งร้ อ งได้ ห ากได้ ร ั บ ความเสี ย หายจากการ กรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม รักษาพยาบาลที่ได้กระทำโดยประมาท การประกอบวิ ช าชี พ การพยาบาลและการ ผดุ ง ครรภ์ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยวิ ช าชี พ การ พยาบาลและการผดุ ง ครรภ์ การประกอบ วิชาชีพทันตกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ 50 ปีที่ 20 ฉบับที่ 2
  • 3. ทันตกรรม การประกอบวิชาชีพกายภาพบำบัดตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพกายภาพบำบัด การ ประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ การประกอบ วิชาชีพเภสัชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเภสัชกรรม หรือการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ และสาธารณสุขอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด และให้รวมถึงการให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ กำหนดในกฎกระทรวง จะเห็นว่าบริการสาธารณสุขที่ประชาชนได้รับและอาจเกิดความเสียหายได้นั้นมีความ ครอบคลุมเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการรักษาพยาบาลทั่วไป การพยาบาลและการผดุงครรภ์ ทันตกรรม กายภาพบำบัด เทคนิคการแพทย์ และเภสัชกรรม ผู้เสียหายมีสิทธิได้รับเงินอะไรบ้าง ผู ้ เ สี ย หายจากการรั บ บริ ก ารสาธารณสุ ข จาก สถานพยาบาล มีสิทธิได้รับ “เงินช่วยเหลือเบื้องต้น” และ “เงินชดเชย” จากกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดี ในระบบบริการสาธารณสุข โดยไม่ต้องพิสูจน์ความรับผิด จะเห็นว่าผู้เสียหายมีสิทธิจะได้รับการช่วยเหลือ- เยียวยาความเสียหายอย่างรวดเร็วและเป็นธรรมโดยไม่ต้อง พิสูจน์ความรับผิด ตามหลักการเรื่อง no - fault compen- sation system คือ มีการจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นและเงิน- ชดเชยจากกองทุน ซึ่งจะแตกต่างกับการฟ้องคดีแพ่งทั่วไป ที่มุ่งแต่จะหาตัวผู้ที่ต้องรับผิดชอบ ซึ่งการฟ้องคดีละเมิดต่อ ศาลนั้นต้องใช้เวลายาวนานและเสียค่าใช้จ่ายมาก อีกทั้ง ยังทำให้เกิดความทุกข์ด้วยกันทั้งสองฝ่าย สำหรับแนวคิด เรื่อง no - fault compensation system ปัจจุบันมีหลาย ประเทศที่ออกกฎหมายบังคับใช้ เช่น สวีเดน นิวซีแลนด์ ฟินแลนด์ นอร์เวย์ เดนมาร์ก เป็นต้น เมื่อเกิดความเสียหายจะมีสิทธิได้รับเงิน ทุกกรณีหรือไม่ ผู้เสียหายจะไม่มีสิทธิได้รับเงิน “เงินช่วยเหลือ- เบื้องต้น” และ “เงินชดเชย” หากเป็นกรณี ดังต่อไปนี้ 1. กรณี เ ป็ น ความเสี ย หายที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ตามปกติ - ธรรมดาของโรคแม้จะได้มีการให้บริการสาธารณสุขตาม มาตรฐานวิชาชีพ /กันยายน - ตุลาคม 2553 51
  • 4. 2. กรณี เ ป็ น ความเสี ย หาย จะเห็นว่าเงินกองทุนส่วนใหญ่จะเป็นจากรัฐทั้ง ซึ ่ ง หลี ก เลี ่ ย งมิ ไ ด้ จ ากการให้ บ ริ ก าร ที่มีอยู่เดิมตาม พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. สาธารณสุขตามมาตรฐานวิชาชีพ 2544 และเงินอุดหนุนจากรัฐบาล ส่วนเงินสมทบที่สถาน- 3. กรณีความเสียหายที่เมื่อสิ้น- พยาบาลโดยเฉพาะคลินิกหรือโรงพยาบาลเอกชนจะต้อง สุ ด กระบวนการให้ บ ริ ก ารสาธารณสุ ข จ่ายเข้ากองทุน ซึ่งก็อาจกระทบต่อสถานพยาบาลภาค แล้วไม่มีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตตาม เอกชนบ้าง จากเดิมที่ไม่มีภาระจะต้องจ่ายเงินในส่วนนี้ ปกติ จะเห็ น ว่ า ผู ้ ท ี ่ ม ารั บ บริ ก าร เงินกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ สาธารณสุขแล้วเกิดความเสียหายนั้น ที่ดีฯ จ่ายเป็นค่าอะไรบ้าง ไม่ได้มีสิทธิที่จะได้รับ “เงินช่วยเหลือ- เงินกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบ เบื้องต้น” และ “เงินชดเชย” ทุกกรณี บริการสาธารณสุข มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ แต่อย่างใด การพูดว่าคนที่เจ็บป่วยทุก 1. เพื่อจ่ายเป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นและเงิน- รายจะแห่กันมาขอรับเงินจากกองทุนจน ชดเชยให้แก่ผู้เสียหายหรือทายาท ทำให้เป็นภาระแก่เงินงบประมาณของ 2. เพื่อชำระค่าสินไหมทดแทนตามคำพิพากษา ประเทศนั้น จึงไม่เป็นความจริง 3. เป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ยสนั บ สนุ น หรื อ ส่ ง เสริ ม การ ดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกัน เ งิ น ก อ ง ทุ น ส ร้ า ง เ ส ริ ม ความเสียหายตามแผนงานที่คณะกรรมการอนุมัติ ความสัมพันธ์ที่ดีฯ มาจาก 4. เป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการพัฒนาระบบการไกล่- ไหน เกลี่ยและสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการ เงิ น กองทุ น สร้ า งเสริ ม ความ สาธารณสุข สัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข ได้ ม าจากเงิ น ที ่ โ อนมาจากเงิ น ตาม คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องมีใครบ้าง มาตรา 41 แห่ง พระราชบัญญัติหลัก- ร่างกฎหมายฉบับนี้กำหนดให้มีคณะกรรมการ ประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2544 เงินที่ จำนวน 2 คณะ และคณะอนุกรรมการ จำนวน 3 คณะ สถานพยาบาลจ่ายสมทบ เงินอุดหนุน คือ จากรัฐบาล เงินเพิ่มตามมาตรา 21 วรรค 1. คณะกรรมการสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีใน สอง เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาค และ ระบบบริการสาธารณสุข ดอกผลหรือผลประโยชน์ที่เกิดจากเงิน 2. คณะกรรมการการวินิจฉัยอุทธรณ์ หรือทรัพย์สินของกองทุน ร่างกฎหมาย 3. คณะอนุกรรมการพิจารณาให้เงินช่วยเหลือ ฉบับนี้ได้กำหนดให้สถานพยาบาลต้อง เบื้องต้น จ่ า ยเงิ น สมทบเข้ า กองทุ น ตามหลั ก - 4. คณะอนุกรรมการการประเมินเงินชดเชย เกณฑ์วิธีการและอัตราที่คณะกรรมการ 5. คณะอนุ ก รรมการด้ า นอื ่ น ๆ ตามที ่ เ ห็ น กำหนดโดยต้องคำนึงถึงเรื่องต่าง ๆ ด้วย สมควร เช่น ขนาดของสถานพยาบาล จำนวน ผู้รับบริการ ความถี่และความรุนแรงของ การเกิดความเสียหาย เป็นต้น 52 ปีที่ 20 ฉบับที่ 2
  • 5. เสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้ บริโภค และผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ (3) ผู้แทนสถานพยาบาล จำนวน 3 คน (4) ผู้แทน องค์กรพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านคุ้มครองสิทธิ ผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ จำนวน 3 คน (5) ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง จากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ ด้านเศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ สื่อสารมวลชน สิทธิมนุษยชน โดยให้กรมสนับสนุนบริการ- และการเจรจาไกล่เกลี่ยสาธารณสุข ด้านละ สุขภาพ เป็นสำนักงานเลขานุการของ 1 คน โดยคณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ต่าง ๆ คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ เช่น กำหนดนโยบายและมาตรการเกี่ยวกับ ดังกล่าว โดยมีอำนาจหน้าที่ เช่น การ การคุ้มครองผู้เสียหาย กำหนดระเบียบการรับ รับและตรวจสอบคำขอรับเงินค่าเสีย- และจ่ายเงินของกองทุน กำหนดระเบียบและ หายและคำอุทธรณ์ การรับ จ่าย และ หลักเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการขอรับเงินค่า เก็บรักษาเงิน และทรัพย์สินของกอง- เสี ย หาย การอุ ท ธรณ์ การทำสั ญ ญาประนี - ทุ น สร้ า งเสริ ม ความสั ม พั น ธ์ ท ี ่ ด ี ใ น ประนอมยอมความ การสนั บ สนุ น การไกล่ - ระบบบริ ก ารสาธารณสุข และงาน เกลี่ย และการบริหารงาน เป็นต้น ทางด้านธุรการต่าง ๆ เป็นต้น จะเห็ น ว่ า คณะกรรมการดั ง กล่ า วมี อำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายและ คณะกรรมการสร้ า ง- หลักเกณฑ์ ต ่ า ง ๆ ไม่ ม ี อ ำนาจหน้ า ที ่ ใ นการ เสริ ม ความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ฯ พิจารณาเกี่ยวกับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น และ มี ใ ครบ้ า ง และมี อ ำนาจ เงินชดเชยแต่อย่างใด องค์ประกอบของคณะ- หน้าที่อย่างใด กรรมการคณะนี้ มีบางฝ่ายคัดค้านว่า มีบุค- คณะกรรมการสร้ า งเสริ ม ลากรทางการแพทย์เป็นคณะกรรมการน้อยไป ความสั ม พั น ธ์ ท ี ่ ด ี ใ นระบบบริ ก าร และเป็นกรรมการที่ไม่มีความรู้ความชำนาญ สาธารณสุข มีจำนวน 18 คน ประ- ทางการแพทย์ แต่ ต ้ อ งมาตั ด สิ น การรั ก ษา กอบด้วย (1) รัฐมนตรีว่าการกระทรวง- พยาบาลของแพทย์ มุมมองดังกล่าวอาจมอง สาธารณสุ ข เป็ น ประธานกรรมการ เพียงด้านเดียวและมีความวิตกจนเกินไป ทั้งนี้ (2) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัด- องค์ประกอบของคณะกรรมการดังกล่าว จะ กระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการ- เห็นได้ว่ามีความหลากหลายในหลายด้านไม่ พั ฒ นาสั ง คมและความมั ่ น คงของ จำกัดเฉพาะแต่ด้านการแพทย์เท่านั้น มนุษย์ อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและ- /กันยายน - ตุลาคม 2553 53
  • 6. ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร พิ จ ารณาให้ เ งิ น ช่ ว ยเหลื อ เบื้ อ งต้ น มี ใ ครบ้ า ง และมี อำนาจหน้าที่อย่างใด คณะอนุกรรมการพิจารณาให้ เงินช่วยเหลือเบื้องต้น มีจำนวน 5 คน ประกอบด้ ว ย ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒ ิ ด ้ า นนิ ต ิ - ศาสตร์ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข และด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านละ 1 คน และผู้แทนสถานพยาบาลและผู้- แทนผู้รับบริการสาธารณสุข ฝ่ายละ 1 คน มี อ ำนาจหน้ า ที ่ ใ นการพิ จ ารณา คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์มีใคร คำร้องขอรับเงินค่าเสียหายซึ่งเป็นเงิน บ้าง และอำนาจหน้าที่อย่างใด ช่วยเหลือเบื้องต้น คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ มีจำนวน 8 คน คณะนี้แต่งตั้งโดยคณะกรรมการสร้าง- แต่งตั้งโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประกอบ เสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการ ด้วย ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นซึ่งเป็น สาธารณสุข ผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ ด้านการแพทย์และสาธารณ- สุข ด้านสังคมสงเคราะห์ ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ และ ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านละ1 คน และผู้แทนสถาน- ประเมิ น เงิ น ชดเชยมี ใ คร พยาบาลและผู้แทนผู้รับบริการสาธารณสุข ฝ่ายละ 1 คน บ้ า ง แ ล ะ อ ำ น า จ ห น้ า ที่ มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณ์ (1) อย่างใด กรณีที่คณะอนุกรรมการพิจารณาให้เงินช่วยเหลือเบื้องต้น คณะอนุกรรมการประเมินเงิน- ไม่รับคำขอของผู้เสียหาย (2) กรณีที่ผู้ยื่นคำขอไม่เห็นด้วย ชดเชย มีจำนวน 5 คน ประกอบด้วย กั บ จำนวนเงิ น ชดเชยที ่ ค ณะอนุ ก รรมการประเมิ น เงิ น - ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒ ิ ด ้ า นนิ ต ิ ศ าสตร์ ด้ า น ชดเชยได้วินิจฉัย สังคมสงเคราะห์ ด้านการแพทย์และ ร่าง พ.ร.บ. คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุข ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ สาธารณสุข พ.ศ..... ยังไม่จบเพียงแค่นี้ ยังมีสาระสำคัญ และด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านละ อื่น ๆ อีก เช่น การใช้สิทธิขอรับค่าเสียหาย กระบวนการ 1 คน มีอำนาจหน้าที่พิจารณาเกี่ยวกับ และขั้นตอนในการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นและ เงิ น ชดเชย คณะอนุ ก รรมการคณะนี ้ เงินชดเชย อายุความในการใช้สิทธิ การไกล่เกลี่ยและ แต่ ง ตั ้ ง โดยคณะกรรมการสร้ า งเสริ ม สร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข ความสั ม พั น ธ์ ท ี ่ ด ี ใ นระบบบริ ก ารสา- การพัฒนาระบบความปลอดภัยและป้องกันความเสียหาย ธารณสุข การฟ้ อ งผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารทางสาธารณสุ ข เป็ น คดี อ าญาฐาน กระทำโดยประมาทเกี่ยวเนื่องกับการให้บริการสาธารณสุข ซึ่งจะได้นำเสนอในฉบับหน้าต่อไป 54 ปีที่ 20 ฉบับที่ 2