SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 9
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Drug hypersensitivity syndrome
พ.ญ. พรทิพา อิงคกุล
น.พ. วสุ กําชัยเสถียร
รศ.น.พ. สุวัฒน เบญจพลพิทักษ
วัตถุประสงค
1. สามารถวินิจฉัยภาวะ drug hypersensitivity syndrome
2. อธิบายกลไกการเกิด drug hypersensitivity syndrome
3. ทราบวิธีการตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อหาสาเหตุของ drug hypersensitivity syndrome
ภาวะไมพึงประสงคจากการใชยา (adverse drug reactions, ADR) เปนภาวะที่พบบอยขึ้นใน
ปจจุบัน เนื่องจากมีการใชยา และมียาชนิดใหม ๆ มากขึ้น ภาวะ ADR เปนที่สนใจและเปนปญหาทางสาธารณสุขที่
สําคัญ พบไดถึง 5-15% ของการใชยาทั่วไป ทําใหเกิดทั้งการเจ็บปวยและการเสียชีวิตได องคการอนามัยโลก
(WHO) ใหคําจํากัดความของ ADR คือปฏิกิริยาอันไมพึงประสงคและไมตั้งใจใหเกิดเนื่องจากการใชยาในขนาด
ปรกติที่ใชในการตรวจหรือรักษาโรค
ADR แบงเปน 2 ประเภท (แผนภูมิที่ 1) คือ
1. Type A reactions เปนผลที่เกิดจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยานั้นๆ โดยอาการดังกลาวสามารถคาดการณ
ได และความรุนแรงขึ้นกับขนาดของยาที่ใช พบถึง 80% ของ ADR ทั้งหมด ประกอบดวย
1.1 Pharmacologic side effects เชน ใชยา antihistamine แลวมีปากแหง คอแหง
1.2 Toxic effects เชน hepatotoxicity เมื่อใชยา methotrexate
1.3 Secondary effects เชน ใช broad spectrum antibiotic แลวมี oral thrush
1.4 Drug interactions เชน เมื่อใชยา theophylline คูกับ erythromycin ทําใหมี theophylline
overdose เกิดการชักได
2. Type B reactions เกิดจากปฏิกิริยาไวเกิน (hypersensitivity reaction) ของรางกายที่ตอบสนองตอ
ยา ภาวะนี้ไมสามารถคาดการณไดและไมขึ้นกับขนาดยาที่ใช พบได 15 - 20% ของ ADR แบงเปนกลุม
ยอยตาง ๆ ดังนี้
2.1 Immune mediated (allergic) พบได 5-10% ของ ADR แบงเปน 3 ชนิดตามกลไกทางระบบ
ภูมิคุมกัน คือ
a. IgE-mediated ADR เชน urticaria, anaphylaxis
b. T cell-mediated ADR เชน maculopapular rash, erythema multiforme
c. Other – ยังไมทราบกลไกแทจริงที่ทําใหเกิดโรค เชน drug-induced lupus-like,
anticonvulsant hypersensitivity syndrome, drug reaction with eosinophilia
and systemic symptoms (DRESS)
2.2 Non-immune-mediated (non-allergic) พบได 5-10% ของ ADR แบงเปน
a. Idiosyncratic reaction – มีปจจัยทางกรรมพันธุ หรือเภสัชจลศาสตร
(pharmacokinetics) บางอยางที่ทําใหเกิดปฏิกิริยาไมพึงประสงคที่ไมเกิดในคนทั่วไป เชน
hemolytic anemia ในผูที่มี G-6-PD deficiency เมื่อใชยา primaquine
b. Drug intolerance – เกิด toxicity หรือ side effect ที่ระดับยาต่ํากวาคนปรกติ
c. Pseudoallergic reaction - มีการกระตุน mast cell โดยตรงทําใหมีการหลั่ง
mediators ตางๆ อาการจะเหมือน IgE-mediated hypersensitivity reaction ยาที่
ทําใหมีอาการเชนนี้ เชน ยากลุม opiates, vancomycin และ radiocontrast media
ในที่นี้จะกลาวถึง immune-mediated hypersensitivity syndrome หรือภาวะแพยาเปนสําคัญ
Drug hypersensitivity syndrome (Immune-mediated hypersensitivity
syndrome)
การแพยาเปนสิ่งที่พบไดในเวชปฏิบัติทั่วไป การวินิจฉัยใช clinical diagnosis เปนสําคัญ ภาวะนี้เปน
สาเหตุสําคัญของ iatrogenic illness การวินิจฉัยอาศัยประวัติเปนสําคัญ การตรวจทางหองปฏิบัติการอาจชวย
การสนับสนุนการวินิจฉัยได เชนการทํา skin testing เปนตน
ชนิดของ drug hypersensitivity syndrome สามารถจําแนกไดหลายวิธี ดังนี้
1. กลไกการกระตุนผานระบบภูมคุมกัน แบงเปน 4 ประเภทตาม Gell and Coomb’ classification
2. อาการแสดงที่อวัยวะตาง ๆ เชน hepatotoxic drug reaction, cutaneous drug reaction เปนตน
3. โครงสรางทางเคมีของยา เชน การแพยากลุม phenobarbital
แผนภูมิที่ 1 การแบงประเภทของ adverse drug reaction (from Thien FC. Med J Aust. 2006)
กลไกการเกิด drug hypersensitivity syndrome
1. จากการกระตุนระบบภูมิคุมกัน
I. Type I ( IgE mediated) กระตุนผาน IgE ทําให mast cell หลั่ง mediators ทําใหเกิดอาการตาง
ๆ เชน urticaria, angioedema, bronchospasm และ anaphylaxis อาการดังกลาวมักเกิดขึ้นใน 1
ชั่วโมงหลังจากใชยา ยาที่กระตุนผานกลไกนี้มีหลายชนิด ที่สําคัญคือ ยาปฏิชีวนะกลุม β-lactam
II. Type II – ยาจับกับโปรตีนบนผิวเซลลทําใหเปลี่ยนเปน antigen ใหม กระตุนผานระบบ
complement การกระตุนผานกลไกนี้มักจะรุนแรง และทําใหเกิด life threatening ได เชน การเกิด
immune hemolytic anemia เมื่อใชยา penicillin, immune thrombocytopenia เมื่อใชยา
quinidine หรือ immune neutropenia เมื่อใชยา thiouracils เปนตน
III. Type III - ยาจับกับโปรตีนหรือ antibody ในรางกายเปน immune complex ไปจับที่ tissue ตาง
ๆ เกิด complement activation ทําใหมี inflammation ที่อวัยวะตาง ๆ อาการมักเกิดหลังจากใชยา
1-3 สัปดาห เชน serum sickness เมื่อใช anti-thymocyte globulin, การแพยากลุม penicillin,
sulfonamides, phentytoin
IV. Type IV - ยาจะถูก present ดวยเซลลเชน antigen presenting cell กระตุนผาน cell-mediated
reaction กระตุน cytokine ทําใหมี activation of macrophage เชนอาการแพยาที่แสดงทาง
ผิวหนัง เชน maculopapular morbiliform, bullous reaction, contact dermatitis เปนตน
2. เกิดจาก reactive metabolites ยาสวนใหญจะถูก metabolite ที่ตับเพื่อเปน non-toxic metabolites
ในภาวะบางอยาง เชนการติดเชื้อ การทํางานของตับผิดปรกติ และพันธุกรรมในบางคน จะมีความผิดปกติในการ
metabolite ยา เชน ในผูปวย HIV จะมี glutathione deficiency ทําใหแพยากลุม sulfa ไดงาย การขาด
epoxide hydrolase deficiency ทําใหเกิดการแพยากันชักกลุม phenobarbital
แผนภูมิที่ 2 กลไกการเกิด immune-mediated
drug hypersensitivity syndrome
1. ตัวยาสามารถกระตุนใหเกิด hypersensitivity
โดยตรง
2. ยาหรือ metabolite ของยาจับกับโปรตีนใน
รางกาย (drug-protein conjugate), หรือผิว
เซลล (drug-cell conjugate) กระตุน ระบบ
ภูมิคุมกันโดยตรง หรือเปน hapten ทําใหเกิด
เปน antigen ชนิดใหมและไปกระตุนระบบ
ภูมิคุมกันทําใหเกิด tissue damage
ปจจัยเสี่ยงของการเกิด drug hypersensitivity syndrome
1. Host เชน เพศหญิง โรคประจําตัว เชน โรคหืด SLE การใชยา beta-blocker การติดเชื้อบางอยาง เชน
HIV, human herpes virus type 6
2. โครงสรางของยา ยาที่มีโครงสรางซับซอนจะมี immunogenicity สูง, ยาที่มีโมเลกุลเล็ก (<1,000
dalton) จะมี immunogenicity สูงขึ้นถาจับกับ protein บางชนิด (hapten)
3. วิธีการบริหารยา การใชยาแบบ topical, intramuscular, intravenous จะมีโอการเกิดการแพยามากกวา
การใชยากิน การใชยาขนาดสูง หรือบอยมีโอกาสเกิดการแพยางายกวา
การวินิจฉัย drug hypersensitivity syndrome
ควรคิดถึงภาวะนี้เสมอในผูปวยที่มีอาการ anaphylaxis, urticaria, angioedema, asthma (IgE-
mediated), และอาการอื่นๆ เชน serum sickness, ผื่นผิวหนัง, hepatitis, interstitial nephritis, lupus-
like syndromes การวินิจฉัยโรคนี้อาศัยประวัติและการตรวจรางกายที่เขาไดกับอาการแพยาแตละชนิด (แผนภูมิ
ที่ 3)
การซักประวัติ ควรถามถึงการใชยาแตละชนิด ขนาดยา และการบริหารยาในชวง 1 เดือนที่ผานมา ประวัติการ
แพยา ลักษณะอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น และระยะเวลาที่มีอาการผิดปกติหลังจากเริ่มใชยา
การตรวจรางกาย ควรประเมินภาวะแพยารุนแรง เชน anaphylaxis กอน อาการแสดงที่พบในภาวะแพยา
รุนแรง เชน มีไข mucous membrane lesions, lymphadenopathy, joint tenderness, abnormal
pulmonary examination นอกจากนั้นควรตรวจอาการทางผิวหนังอยางละเอียด เนื่องจากเปนสิ่งที่พบบอย และ
ใชบอกกลไกการแพยาได
การตรวจทางหองปฏิบัติการ จะตรวจหา biological หรือ immunologic marker ที่บอกถึงกลไกของ
การแพยาแตละชนิด จะชวยในการสนับสนุนการวินิจฉัยเทานั้น
การตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัย drug hypersensitivity syndrome
1. Type I hypersensitivity reaction
1.1 ตรวจหา specific IgE ทําได 2 วิธี คือ
a. Skin testing วิธีการทดสอบทําได 2 วิธี คือ skin prick test หรือ intradermal skin test
การทดสอบดังกลาวใชไดผลดีกรณีแพยากลุม penicillin, muscle relaxants, insulin,
biological agents เชน gelofusine, streptokinase
b. Blood for specific IgE test ใชวิธี radioallergosorbent test (RAST) หรือ วิธี
non-radioactive enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) มี specificity สูง
แต sensitivity ต่ําและตรวจไดเฉพาะยาบางประเภทเทานั้น เชน ยากลุม penicilin
1.2 การตรวจหา mast cell activation เชน serum histamine (ระดับสูงสุดที่ 5 นาที และกลับเปน
ปกติภายใน 30 นาทีหลังไดรับยา), serum tryptase (ระดับสูงสุดที่ 1 ชั่วโมง และกลับเปนปกติใน
2-4ชั่วโมง)
2. Type II hypersensitivity reaction กรณี hemolytic anemia จะตรวจ direct หรือ indirect
Coombs’ test
3. Type III hypersensitivity reaction อาจมีการเพิ่มขึ้นของ nonspecific inflammatory marker
เชน erythrocyte sedimentation rate, C-reactive protein อาจตรวจ complement level
(CH50, C3, C4) หรือ circulating immune complex ซึ่งมี specificity สูงกวา
4. Type IV hypersensitivity reaction สามารถทดสอบโดย skin patch test
5. Others เชน
5.1 Lymphocyte transformation test ใชในกรณี T- lymphocyte mediated hypersensitivity
syndrome เชน การแพยากันชัก
5.2 Cytokine measurement เชน การวัด IL-5 ใน DRESS
6.Drug provocation test เปน gold standard ในการวินิจฉัยการแพยา มีขอหามในการทํา คือ
- Severe life-threatening immunocytologic reaction
- Vasculitis syndrome
- Exfoliative dermatitis
- Erythema multiforme major (Steven-Johnson syndrome (SJS)) / Toxic epidermal
necrolysis (TEN)
- Drug reaction with eosinophilia and systemic symptoms (DRESS)
การรักษา drug hypersensitivity syndrome
1. Specific treatment การรักษาที่สําคัญที่สุดคือการหยุดใชยา แตหลังจากหยุดยาแลวอาการอาจเปนตอเนื่องได
อีก 1 – 2 สัปดาห เนื่องจากเปนปฏิกิริยาทางภูมิคุมกัน
2. Supportive and symptomatic treatment มีความสําคัญมาก เชน
2.1 Systemic steroid ยัง controversy มีรายงานวาใชไดผลในบางโรค เชน SJS, Type II
hypersensitivity reaction
2.2 Topical steroid
2.3 Antihistamine
3. ถามีความจําเปนตองใชยา และแพยาไมรุนแรง อาจพิจารณาทํา desensitization ภายใตการดูแลของแพทย
เฉพาะทางอยางใกลชิด
การปองกัน drug hypersensitivity syndrome
1. ประเมินความเสี่ยงในการแพยา เชน โรคประจําตัวของผูปวย (HIV – sulfonamide, EBV -
aminopenicillin) ประวัติคนในครอบครัวที่แพยาบางอยาง เชน phenobarbital
2. หลีกเลี่ยงการใชยาที่มี cross-reactivity เชนผูที่แพยา phenobarbital ควรหลีกเลี่ยงการใชยา phenytoin
และ carbamazepine, ผูปวยที่แพยา penicillins ควรหลีกเลี่ยงยาในกลุมนี้ทั้งหมด
3. กรณีสงสัยอาจทดสอบ skin tests กอนการใชยา เชน penicillins
4. เลือกใชยาเฉพาะที่จําเปน และควรเลือกชนิดรับประทาน
แผนภูมิที่ 3 การวินิจฉัยภาวะ adverse drug reaction (from Riedl MA. Am Fam Physician. 2003)
ตัวอยางผูปวย
เด็กชายอายุ 3 ป มาโรงพยาบาล เนื่องจากมีไขและชักแบบ generalized tonic seizure ไดรับยา
diazepam และ phenobarbital ที่ ER หลังจากที่นอนโรงพยาบาลไดรับการวินิจฉัยเปน acute otitis
media, status epilepticus ไดรับการรักษาดวย phenobarbital, cefotaxime หลังจากอยูโรงพยาบาล 10
วันมีผื่นขึ้นที่ผิวหนังเปนลักษณะ generalized maculopapular rash และมีไขสูง ตรวจรางกายไมพบ source
of infection ผลตรวจทางหองปฏิบัติการ CBC: WBC 4,940/mcL N 49%, L 39%,
M 5%, E 7%, Hct 37%, Plt. 414,000/mcL, LFT: AST 212 IU/L, ALT 197 IU/L,
ALP 221 IU/L, GGT 109 IU/L, Alb 44 mg/dL, TB 0.4 mg/dL DB 0.1 mg/dL
Diagnosis : Drug reaction with eosinophilia and systemic symptoms (DRESS)
Treatment : หยุดยา phenobarbital, ให systemic steroid
Drug reaction with eosinophilia and systemic symptoms (DRESS)
เปน Type B ADR ในกลุม immune-mediated hypersensitivity reaction ที่ไมทราบกลไกที่
ชัดเจน พบอุบัติการณ 1:1,000 - 1:10,000 อาการที่สําคัญมี 3 อยาง (triads) คือ ไข ผื่นผิวหนัง และมีอาการ
ในระบบอื่น ๆ เชน hepatitis, pneumonitis, interstitial nephritis อาการดังกลาวขางตนมักเกิด 1 – 4
สัปดาหหลังจากเริ่มใชยา แตพบไดนานถึง 3 เดือนหลังเริ่มใชยา
อาการของ DRESS
1. ไข พบได 90 – 100% ของผูปวยทั้งหมด มักเปนไขสูง 38-40o
C
2. ผื่น (rash) พบ 90% ของผูปวย มักเกิดพรอมกับไข ลักษณะผื่นพบไดหลายชนิด ดังนี้
- Exanthema with or without pruritus อาการเริ่มจากลําตัว แขนขา และหนา
- Periorbital or facial edema (พบ 25%)
- Exudative tonsillitis, pharyngitis (พบ 10%), oral ulceration, and
conjunctivitis
- Exfoliative dermatitis or erythroderma, erythema multiforme, Stevens-
Johnson syndrome, or toxic epidermal necrolysis
ทํา skin biopsy จะพบ perivascular lymphocytic infiltrates
3. ตอมน้ําเหลืองโต พบ 60% ของผูปวย อาจเปน generalized หรือ localized ก็ได
4. Liver abnormalities พบ 30 – 60% อาจพบเพียงการเพิ่มขึ้นของ transaminases, alkaline
phosphatase, prothrombin time และ bilirubin จนถึง severe hepatitis การตรวจรางกายอาจพบ
ตับโต กดเจ็บ ถาทํา liver biopsy จะพบ periportal inflammation with or without necrosis
ภาวะดังกลาวขางตนสามารถกลับเปนปกติไดหลังจากหยุดใชยาที่เปนสาเหตุ
5. Hematologic abnormalities พบ > 50% ของผูปวย ความผิดปกติที่พบได เชน
- Lymphocytosis (พบ 65%) with atypical lymphocytes
- Leukocytosis
- Marked eosinophilia (พบ 30%)
- Anemia
- Others - leukopenia, thrombocytopenia, and aplastic anemia
6. อาการทางระบบอื่น ๆ เชน myalgias, arthralgia, rhabdomyolysis, renal dysfunction,
pneumonitis, thyroiditis
ยาที่มีรายงานวาทําใหเกิด DRESS
1. Anticonvulsants: Phenytoin, carbamazepine, phenobarbital, lamotrigine
2. Antiviral drugs: Nevirapine, abacavir
3. Antibiotics: Trimethoprim, sulphonamides, dapsone, minocycline
4. Antituberculosis: Isoniazid
5. NSAIDs, Oxicams
6. Antihypertensive: Diltiazem, atenolol, captopril
7. Immunosuppressive: Azathioprine,
8. Others: Allopurinol, gold salts, sulphasalazine, mexiletine
พยาธิกําเนิด ยังไมทราบกลไกการเกิดที่แทจริง แตสันนิษฐานวาอาจเกี่ยวของกับการทํางานของตับในการ
acetylation ไมดี ทําใหมี metabolite ของยาคั่งทําใหมีอาการ หรือมีการติดเชื้อไวรัสเชน Human herpes
virus 6 รวมดวย
การวินิจฉัย อาศัยอาการ (triads) เปนหลัก การตรวจทางหองปฏิบัติการณ เชน lymphocyte toxicity testing
ใชเฉพาะในงานวิจัยเทานั้น
การรักษา หยุดยา เปนสิ่งที่สําคัญที่สุด และให supportive treatment พบวาการใช corticosteroids ยังไมมี
หลักฐานวาชวยในการรักษาโรคนี้
เอกสารอางอิง
1. Gomes ER, Demoly P. Epidemiology of hypersensitivity drug reactions. Curr Opin
Allergy Clin Immunol 2005;5:309-16.
2. Thien FC. Drug hypersensitivity. Med J Aust 2006;185:333-8.
3. Greenberger PA. Drug allergy. J Allergy Clin Immunol 2006;117:S464-70.
4. Syn WK, Naisbitt DJ, Holt AP, Pirmohamed M, Mutimer DJ. Carbamazepine-
induced acute liver failure as part of the DRESS syndrome. Int J Clin Pract
2005;59:988-91.
5. Naisbitt DJ. Drug hypersensitivity reactions in skin: understanding mechanisms and
the development of diagnostic and predictive tests.
Toxicology. 2004;194:179-96.
6. Morkunas AR, Miller MS. Anticonvulsant hypersensitivity syndrome. Crit Care Clin.
1997;13:727-39.
7. Riedl MA., Casillas Am. Adverse drug reactions: types and treatment options.
Am Fam Physician. 2003;68:1781-90.
แบบทดสอบ
1. เด็กชายไทย อายุ 2 ป มีไข เจ็บคอ ไปคลินิกไดยา amoxicillin, paracetamol มากิน หลังกินยา 1 ชั่วโมงมี
ผื่นลักษณะ generalized urticaria ปากบวม ตาบวม ความผิดปรกติดังกลาวเกิดขึ้นโดยผานกลไกใด
A. Type I immune response B. Type II immune response
C. Type III immune response D. Type IV immune response
2. เด็กหญิงอายุ 5 ป เคยไดรับยา penicillin แลวมีอาการแนนหนาอก ผื่นลมพิษ ตองนอนร.พ. เมื่อ 3 ปกอน วันนี้มี
อาการไขสูง เจ็บคอ ตรวจรางกายพบ high fever, tonsil enlarge 3+ with exudate, cervical LN
enlargement with tender จงใหการรักษาที่เหมาะสม
A. ให amoxicillin B. ให erythromycin
C.ไมตองให antibiotics D. ทํา challenge test ดวย penicillin กอนใหยา penicillin
3. เด็กชายอายุ 3 ป มีอาการชัก generalized tonic clonic seizure แพทยใหการรักษาโดยใชยา
phenobarbital หลังกินยา 3 สัปดาหไมมีอาการชักอีก แตมีอาการไขสูง ผื่นทั้งตัว elevation of liver enzyme
ถาทานเปนแพทยที่ทําการรักษาผูปวยรายนี้ ทานจะทําอยางไรตอไป
A. ใหยา phenobarbital ตอ B. เปลี่ยนยาเปน phenytoin
C. เปลี่ยนยาเปน sodium valproate D. หยุดยากันชักไปกอน
4. ภาวะใดเปนขอหามในการทํา drug provacation test
A. Exfoliative dermatitis B. Steven-Johnson syndrome
C. Vasculitis syndrome D. Urticaria and angioedema
5. เด็กชายอายุ 5 ป มีไขสูง ไอ น้ํามูกเขียว ไดยา amoxicillin ไปกิน หลังกินยา 1 สัปดาหมีไข ปวดขอ ผื่น ทานจะ
เลือก investigation ใดเพื่อยืนยันการวินิจฉัย
A. serum IgE B. Skin prick test
C. coombs’ test D. Complement level
คําตอบ
1. A 2. B 3. D 4. B 5. D

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดJettanut Poonlaptavee
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย2077842018
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Goldeneyes ToTo
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัดsaowaluk2556
 

Was ist angesagt? (20)

แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
hepatotoxicity
hepatotoxicityhepatotoxicity
hepatotoxicity
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
Had12may2014 2
Had12may2014  2Had12may2014  2
Had12may2014 2
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย
 
8
88
8
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
N sdis 78_60_9
N sdis 78_60_9N sdis 78_60_9
N sdis 78_60_9
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัด
 

Ähnlich wie 1409adr

หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx pop Jaturong
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย2077842018
 
n2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdf
n2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdfn2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdf
n2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdfSomchaiPt
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementUtai Sukviwatsirikul
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementUtai Sukviwatsirikul
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาUtai Sukviwatsirikul
 
Management of allergic rhinitis reviewed
Management of allergic rhinitis reviewedManagement of allergic rhinitis reviewed
Management of allergic rhinitis reviewedMint Yasmine
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
What is Transfer Factor (TF)?
What is Transfer Factor (TF)?What is Transfer Factor (TF)?
What is Transfer Factor (TF)?4life 4healthy
 

Ähnlich wie 1409adr (20)

หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย
 
n2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdf
n2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdfn2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdf
n2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdf
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
Immune2551
Immune2551Immune2551
Immune2551
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Management of allergic rhinitis reviewed
Management of allergic rhinitis reviewedManagement of allergic rhinitis reviewed
Management of allergic rhinitis reviewed
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in Diabetes
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
Cpg ADHD
Cpg ADHDCpg ADHD
Cpg ADHD
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
 
Allergic rhinitis cpg
Allergic rhinitis cpgAllergic rhinitis cpg
Allergic rhinitis cpg
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
What is Transfer Factor (TF)?
What is Transfer Factor (TF)?What is Transfer Factor (TF)?
What is Transfer Factor (TF)?
 

1409adr

  • 1. Drug hypersensitivity syndrome พ.ญ. พรทิพา อิงคกุล น.พ. วสุ กําชัยเสถียร รศ.น.พ. สุวัฒน เบญจพลพิทักษ วัตถุประสงค 1. สามารถวินิจฉัยภาวะ drug hypersensitivity syndrome 2. อธิบายกลไกการเกิด drug hypersensitivity syndrome 3. ทราบวิธีการตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อหาสาเหตุของ drug hypersensitivity syndrome ภาวะไมพึงประสงคจากการใชยา (adverse drug reactions, ADR) เปนภาวะที่พบบอยขึ้นใน ปจจุบัน เนื่องจากมีการใชยา และมียาชนิดใหม ๆ มากขึ้น ภาวะ ADR เปนที่สนใจและเปนปญหาทางสาธารณสุขที่ สําคัญ พบไดถึง 5-15% ของการใชยาทั่วไป ทําใหเกิดทั้งการเจ็บปวยและการเสียชีวิตได องคการอนามัยโลก (WHO) ใหคําจํากัดความของ ADR คือปฏิกิริยาอันไมพึงประสงคและไมตั้งใจใหเกิดเนื่องจากการใชยาในขนาด ปรกติที่ใชในการตรวจหรือรักษาโรค ADR แบงเปน 2 ประเภท (แผนภูมิที่ 1) คือ 1. Type A reactions เปนผลที่เกิดจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยานั้นๆ โดยอาการดังกลาวสามารถคาดการณ ได และความรุนแรงขึ้นกับขนาดของยาที่ใช พบถึง 80% ของ ADR ทั้งหมด ประกอบดวย 1.1 Pharmacologic side effects เชน ใชยา antihistamine แลวมีปากแหง คอแหง 1.2 Toxic effects เชน hepatotoxicity เมื่อใชยา methotrexate 1.3 Secondary effects เชน ใช broad spectrum antibiotic แลวมี oral thrush 1.4 Drug interactions เชน เมื่อใชยา theophylline คูกับ erythromycin ทําใหมี theophylline overdose เกิดการชักได 2. Type B reactions เกิดจากปฏิกิริยาไวเกิน (hypersensitivity reaction) ของรางกายที่ตอบสนองตอ ยา ภาวะนี้ไมสามารถคาดการณไดและไมขึ้นกับขนาดยาที่ใช พบได 15 - 20% ของ ADR แบงเปนกลุม ยอยตาง ๆ ดังนี้ 2.1 Immune mediated (allergic) พบได 5-10% ของ ADR แบงเปน 3 ชนิดตามกลไกทางระบบ ภูมิคุมกัน คือ a. IgE-mediated ADR เชน urticaria, anaphylaxis b. T cell-mediated ADR เชน maculopapular rash, erythema multiforme c. Other – ยังไมทราบกลไกแทจริงที่ทําใหเกิดโรค เชน drug-induced lupus-like, anticonvulsant hypersensitivity syndrome, drug reaction with eosinophilia and systemic symptoms (DRESS) 2.2 Non-immune-mediated (non-allergic) พบได 5-10% ของ ADR แบงเปน
  • 2. a. Idiosyncratic reaction – มีปจจัยทางกรรมพันธุ หรือเภสัชจลศาสตร (pharmacokinetics) บางอยางที่ทําใหเกิดปฏิกิริยาไมพึงประสงคที่ไมเกิดในคนทั่วไป เชน hemolytic anemia ในผูที่มี G-6-PD deficiency เมื่อใชยา primaquine b. Drug intolerance – เกิด toxicity หรือ side effect ที่ระดับยาต่ํากวาคนปรกติ c. Pseudoallergic reaction - มีการกระตุน mast cell โดยตรงทําใหมีการหลั่ง mediators ตางๆ อาการจะเหมือน IgE-mediated hypersensitivity reaction ยาที่ ทําใหมีอาการเชนนี้ เชน ยากลุม opiates, vancomycin และ radiocontrast media ในที่นี้จะกลาวถึง immune-mediated hypersensitivity syndrome หรือภาวะแพยาเปนสําคัญ Drug hypersensitivity syndrome (Immune-mediated hypersensitivity syndrome) การแพยาเปนสิ่งที่พบไดในเวชปฏิบัติทั่วไป การวินิจฉัยใช clinical diagnosis เปนสําคัญ ภาวะนี้เปน สาเหตุสําคัญของ iatrogenic illness การวินิจฉัยอาศัยประวัติเปนสําคัญ การตรวจทางหองปฏิบัติการอาจชวย การสนับสนุนการวินิจฉัยได เชนการทํา skin testing เปนตน ชนิดของ drug hypersensitivity syndrome สามารถจําแนกไดหลายวิธี ดังนี้ 1. กลไกการกระตุนผานระบบภูมคุมกัน แบงเปน 4 ประเภทตาม Gell and Coomb’ classification 2. อาการแสดงที่อวัยวะตาง ๆ เชน hepatotoxic drug reaction, cutaneous drug reaction เปนตน 3. โครงสรางทางเคมีของยา เชน การแพยากลุม phenobarbital แผนภูมิที่ 1 การแบงประเภทของ adverse drug reaction (from Thien FC. Med J Aust. 2006)
  • 3. กลไกการเกิด drug hypersensitivity syndrome 1. จากการกระตุนระบบภูมิคุมกัน I. Type I ( IgE mediated) กระตุนผาน IgE ทําให mast cell หลั่ง mediators ทําใหเกิดอาการตาง ๆ เชน urticaria, angioedema, bronchospasm และ anaphylaxis อาการดังกลาวมักเกิดขึ้นใน 1 ชั่วโมงหลังจากใชยา ยาที่กระตุนผานกลไกนี้มีหลายชนิด ที่สําคัญคือ ยาปฏิชีวนะกลุม β-lactam II. Type II – ยาจับกับโปรตีนบนผิวเซลลทําใหเปลี่ยนเปน antigen ใหม กระตุนผานระบบ complement การกระตุนผานกลไกนี้มักจะรุนแรง และทําใหเกิด life threatening ได เชน การเกิด immune hemolytic anemia เมื่อใชยา penicillin, immune thrombocytopenia เมื่อใชยา quinidine หรือ immune neutropenia เมื่อใชยา thiouracils เปนตน III. Type III - ยาจับกับโปรตีนหรือ antibody ในรางกายเปน immune complex ไปจับที่ tissue ตาง ๆ เกิด complement activation ทําใหมี inflammation ที่อวัยวะตาง ๆ อาการมักเกิดหลังจากใชยา 1-3 สัปดาห เชน serum sickness เมื่อใช anti-thymocyte globulin, การแพยากลุม penicillin, sulfonamides, phentytoin IV. Type IV - ยาจะถูก present ดวยเซลลเชน antigen presenting cell กระตุนผาน cell-mediated reaction กระตุน cytokine ทําใหมี activation of macrophage เชนอาการแพยาที่แสดงทาง ผิวหนัง เชน maculopapular morbiliform, bullous reaction, contact dermatitis เปนตน 2. เกิดจาก reactive metabolites ยาสวนใหญจะถูก metabolite ที่ตับเพื่อเปน non-toxic metabolites ในภาวะบางอยาง เชนการติดเชื้อ การทํางานของตับผิดปรกติ และพันธุกรรมในบางคน จะมีความผิดปกติในการ metabolite ยา เชน ในผูปวย HIV จะมี glutathione deficiency ทําใหแพยากลุม sulfa ไดงาย การขาด epoxide hydrolase deficiency ทําใหเกิดการแพยากันชักกลุม phenobarbital แผนภูมิที่ 2 กลไกการเกิด immune-mediated drug hypersensitivity syndrome 1. ตัวยาสามารถกระตุนใหเกิด hypersensitivity โดยตรง 2. ยาหรือ metabolite ของยาจับกับโปรตีนใน รางกาย (drug-protein conjugate), หรือผิว เซลล (drug-cell conjugate) กระตุน ระบบ ภูมิคุมกันโดยตรง หรือเปน hapten ทําใหเกิด เปน antigen ชนิดใหมและไปกระตุนระบบ ภูมิคุมกันทําใหเกิด tissue damage
  • 4. ปจจัยเสี่ยงของการเกิด drug hypersensitivity syndrome 1. Host เชน เพศหญิง โรคประจําตัว เชน โรคหืด SLE การใชยา beta-blocker การติดเชื้อบางอยาง เชน HIV, human herpes virus type 6 2. โครงสรางของยา ยาที่มีโครงสรางซับซอนจะมี immunogenicity สูง, ยาที่มีโมเลกุลเล็ก (<1,000 dalton) จะมี immunogenicity สูงขึ้นถาจับกับ protein บางชนิด (hapten) 3. วิธีการบริหารยา การใชยาแบบ topical, intramuscular, intravenous จะมีโอการเกิดการแพยามากกวา การใชยากิน การใชยาขนาดสูง หรือบอยมีโอกาสเกิดการแพยางายกวา การวินิจฉัย drug hypersensitivity syndrome ควรคิดถึงภาวะนี้เสมอในผูปวยที่มีอาการ anaphylaxis, urticaria, angioedema, asthma (IgE- mediated), และอาการอื่นๆ เชน serum sickness, ผื่นผิวหนัง, hepatitis, interstitial nephritis, lupus- like syndromes การวินิจฉัยโรคนี้อาศัยประวัติและการตรวจรางกายที่เขาไดกับอาการแพยาแตละชนิด (แผนภูมิ ที่ 3) การซักประวัติ ควรถามถึงการใชยาแตละชนิด ขนาดยา และการบริหารยาในชวง 1 เดือนที่ผานมา ประวัติการ แพยา ลักษณะอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น และระยะเวลาที่มีอาการผิดปกติหลังจากเริ่มใชยา การตรวจรางกาย ควรประเมินภาวะแพยารุนแรง เชน anaphylaxis กอน อาการแสดงที่พบในภาวะแพยา รุนแรง เชน มีไข mucous membrane lesions, lymphadenopathy, joint tenderness, abnormal pulmonary examination นอกจากนั้นควรตรวจอาการทางผิวหนังอยางละเอียด เนื่องจากเปนสิ่งที่พบบอย และ ใชบอกกลไกการแพยาได การตรวจทางหองปฏิบัติการ จะตรวจหา biological หรือ immunologic marker ที่บอกถึงกลไกของ การแพยาแตละชนิด จะชวยในการสนับสนุนการวินิจฉัยเทานั้น การตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัย drug hypersensitivity syndrome 1. Type I hypersensitivity reaction 1.1 ตรวจหา specific IgE ทําได 2 วิธี คือ a. Skin testing วิธีการทดสอบทําได 2 วิธี คือ skin prick test หรือ intradermal skin test การทดสอบดังกลาวใชไดผลดีกรณีแพยากลุม penicillin, muscle relaxants, insulin, biological agents เชน gelofusine, streptokinase b. Blood for specific IgE test ใชวิธี radioallergosorbent test (RAST) หรือ วิธี non-radioactive enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) มี specificity สูง แต sensitivity ต่ําและตรวจไดเฉพาะยาบางประเภทเทานั้น เชน ยากลุม penicilin 1.2 การตรวจหา mast cell activation เชน serum histamine (ระดับสูงสุดที่ 5 นาที และกลับเปน ปกติภายใน 30 นาทีหลังไดรับยา), serum tryptase (ระดับสูงสุดที่ 1 ชั่วโมง และกลับเปนปกติใน 2-4ชั่วโมง) 2. Type II hypersensitivity reaction กรณี hemolytic anemia จะตรวจ direct หรือ indirect Coombs’ test
  • 5. 3. Type III hypersensitivity reaction อาจมีการเพิ่มขึ้นของ nonspecific inflammatory marker เชน erythrocyte sedimentation rate, C-reactive protein อาจตรวจ complement level (CH50, C3, C4) หรือ circulating immune complex ซึ่งมี specificity สูงกวา 4. Type IV hypersensitivity reaction สามารถทดสอบโดย skin patch test 5. Others เชน 5.1 Lymphocyte transformation test ใชในกรณี T- lymphocyte mediated hypersensitivity syndrome เชน การแพยากันชัก 5.2 Cytokine measurement เชน การวัด IL-5 ใน DRESS 6.Drug provocation test เปน gold standard ในการวินิจฉัยการแพยา มีขอหามในการทํา คือ - Severe life-threatening immunocytologic reaction - Vasculitis syndrome - Exfoliative dermatitis - Erythema multiforme major (Steven-Johnson syndrome (SJS)) / Toxic epidermal necrolysis (TEN) - Drug reaction with eosinophilia and systemic symptoms (DRESS) การรักษา drug hypersensitivity syndrome 1. Specific treatment การรักษาที่สําคัญที่สุดคือการหยุดใชยา แตหลังจากหยุดยาแลวอาการอาจเปนตอเนื่องได อีก 1 – 2 สัปดาห เนื่องจากเปนปฏิกิริยาทางภูมิคุมกัน 2. Supportive and symptomatic treatment มีความสําคัญมาก เชน 2.1 Systemic steroid ยัง controversy มีรายงานวาใชไดผลในบางโรค เชน SJS, Type II hypersensitivity reaction 2.2 Topical steroid 2.3 Antihistamine 3. ถามีความจําเปนตองใชยา และแพยาไมรุนแรง อาจพิจารณาทํา desensitization ภายใตการดูแลของแพทย เฉพาะทางอยางใกลชิด การปองกัน drug hypersensitivity syndrome 1. ประเมินความเสี่ยงในการแพยา เชน โรคประจําตัวของผูปวย (HIV – sulfonamide, EBV - aminopenicillin) ประวัติคนในครอบครัวที่แพยาบางอยาง เชน phenobarbital 2. หลีกเลี่ยงการใชยาที่มี cross-reactivity เชนผูที่แพยา phenobarbital ควรหลีกเลี่ยงการใชยา phenytoin และ carbamazepine, ผูปวยที่แพยา penicillins ควรหลีกเลี่ยงยาในกลุมนี้ทั้งหมด 3. กรณีสงสัยอาจทดสอบ skin tests กอนการใชยา เชน penicillins 4. เลือกใชยาเฉพาะที่จําเปน และควรเลือกชนิดรับประทาน
  • 6. แผนภูมิที่ 3 การวินิจฉัยภาวะ adverse drug reaction (from Riedl MA. Am Fam Physician. 2003)
  • 7. ตัวอยางผูปวย เด็กชายอายุ 3 ป มาโรงพยาบาล เนื่องจากมีไขและชักแบบ generalized tonic seizure ไดรับยา diazepam และ phenobarbital ที่ ER หลังจากที่นอนโรงพยาบาลไดรับการวินิจฉัยเปน acute otitis media, status epilepticus ไดรับการรักษาดวย phenobarbital, cefotaxime หลังจากอยูโรงพยาบาล 10 วันมีผื่นขึ้นที่ผิวหนังเปนลักษณะ generalized maculopapular rash และมีไขสูง ตรวจรางกายไมพบ source of infection ผลตรวจทางหองปฏิบัติการ CBC: WBC 4,940/mcL N 49%, L 39%, M 5%, E 7%, Hct 37%, Plt. 414,000/mcL, LFT: AST 212 IU/L, ALT 197 IU/L, ALP 221 IU/L, GGT 109 IU/L, Alb 44 mg/dL, TB 0.4 mg/dL DB 0.1 mg/dL Diagnosis : Drug reaction with eosinophilia and systemic symptoms (DRESS) Treatment : หยุดยา phenobarbital, ให systemic steroid Drug reaction with eosinophilia and systemic symptoms (DRESS) เปน Type B ADR ในกลุม immune-mediated hypersensitivity reaction ที่ไมทราบกลไกที่ ชัดเจน พบอุบัติการณ 1:1,000 - 1:10,000 อาการที่สําคัญมี 3 อยาง (triads) คือ ไข ผื่นผิวหนัง และมีอาการ ในระบบอื่น ๆ เชน hepatitis, pneumonitis, interstitial nephritis อาการดังกลาวขางตนมักเกิด 1 – 4 สัปดาหหลังจากเริ่มใชยา แตพบไดนานถึง 3 เดือนหลังเริ่มใชยา อาการของ DRESS 1. ไข พบได 90 – 100% ของผูปวยทั้งหมด มักเปนไขสูง 38-40o C 2. ผื่น (rash) พบ 90% ของผูปวย มักเกิดพรอมกับไข ลักษณะผื่นพบไดหลายชนิด ดังนี้ - Exanthema with or without pruritus อาการเริ่มจากลําตัว แขนขา และหนา - Periorbital or facial edema (พบ 25%) - Exudative tonsillitis, pharyngitis (พบ 10%), oral ulceration, and conjunctivitis - Exfoliative dermatitis or erythroderma, erythema multiforme, Stevens- Johnson syndrome, or toxic epidermal necrolysis ทํา skin biopsy จะพบ perivascular lymphocytic infiltrates 3. ตอมน้ําเหลืองโต พบ 60% ของผูปวย อาจเปน generalized หรือ localized ก็ได 4. Liver abnormalities พบ 30 – 60% อาจพบเพียงการเพิ่มขึ้นของ transaminases, alkaline phosphatase, prothrombin time และ bilirubin จนถึง severe hepatitis การตรวจรางกายอาจพบ ตับโต กดเจ็บ ถาทํา liver biopsy จะพบ periportal inflammation with or without necrosis ภาวะดังกลาวขางตนสามารถกลับเปนปกติไดหลังจากหยุดใชยาที่เปนสาเหตุ 5. Hematologic abnormalities พบ > 50% ของผูปวย ความผิดปกติที่พบได เชน - Lymphocytosis (พบ 65%) with atypical lymphocytes - Leukocytosis - Marked eosinophilia (พบ 30%) - Anemia - Others - leukopenia, thrombocytopenia, and aplastic anemia 6. อาการทางระบบอื่น ๆ เชน myalgias, arthralgia, rhabdomyolysis, renal dysfunction, pneumonitis, thyroiditis
  • 8. ยาที่มีรายงานวาทําใหเกิด DRESS 1. Anticonvulsants: Phenytoin, carbamazepine, phenobarbital, lamotrigine 2. Antiviral drugs: Nevirapine, abacavir 3. Antibiotics: Trimethoprim, sulphonamides, dapsone, minocycline 4. Antituberculosis: Isoniazid 5. NSAIDs, Oxicams 6. Antihypertensive: Diltiazem, atenolol, captopril 7. Immunosuppressive: Azathioprine, 8. Others: Allopurinol, gold salts, sulphasalazine, mexiletine พยาธิกําเนิด ยังไมทราบกลไกการเกิดที่แทจริง แตสันนิษฐานวาอาจเกี่ยวของกับการทํางานของตับในการ acetylation ไมดี ทําใหมี metabolite ของยาคั่งทําใหมีอาการ หรือมีการติดเชื้อไวรัสเชน Human herpes virus 6 รวมดวย การวินิจฉัย อาศัยอาการ (triads) เปนหลัก การตรวจทางหองปฏิบัติการณ เชน lymphocyte toxicity testing ใชเฉพาะในงานวิจัยเทานั้น การรักษา หยุดยา เปนสิ่งที่สําคัญที่สุด และให supportive treatment พบวาการใช corticosteroids ยังไมมี หลักฐานวาชวยในการรักษาโรคนี้ เอกสารอางอิง 1. Gomes ER, Demoly P. Epidemiology of hypersensitivity drug reactions. Curr Opin Allergy Clin Immunol 2005;5:309-16. 2. Thien FC. Drug hypersensitivity. Med J Aust 2006;185:333-8. 3. Greenberger PA. Drug allergy. J Allergy Clin Immunol 2006;117:S464-70. 4. Syn WK, Naisbitt DJ, Holt AP, Pirmohamed M, Mutimer DJ. Carbamazepine- induced acute liver failure as part of the DRESS syndrome. Int J Clin Pract 2005;59:988-91. 5. Naisbitt DJ. Drug hypersensitivity reactions in skin: understanding mechanisms and the development of diagnostic and predictive tests. Toxicology. 2004;194:179-96. 6. Morkunas AR, Miller MS. Anticonvulsant hypersensitivity syndrome. Crit Care Clin. 1997;13:727-39. 7. Riedl MA., Casillas Am. Adverse drug reactions: types and treatment options. Am Fam Physician. 2003;68:1781-90. แบบทดสอบ 1. เด็กชายไทย อายุ 2 ป มีไข เจ็บคอ ไปคลินิกไดยา amoxicillin, paracetamol มากิน หลังกินยา 1 ชั่วโมงมี ผื่นลักษณะ generalized urticaria ปากบวม ตาบวม ความผิดปรกติดังกลาวเกิดขึ้นโดยผานกลไกใด A. Type I immune response B. Type II immune response C. Type III immune response D. Type IV immune response 2. เด็กหญิงอายุ 5 ป เคยไดรับยา penicillin แลวมีอาการแนนหนาอก ผื่นลมพิษ ตองนอนร.พ. เมื่อ 3 ปกอน วันนี้มี อาการไขสูง เจ็บคอ ตรวจรางกายพบ high fever, tonsil enlarge 3+ with exudate, cervical LN enlargement with tender จงใหการรักษาที่เหมาะสม
  • 9. A. ให amoxicillin B. ให erythromycin C.ไมตองให antibiotics D. ทํา challenge test ดวย penicillin กอนใหยา penicillin 3. เด็กชายอายุ 3 ป มีอาการชัก generalized tonic clonic seizure แพทยใหการรักษาโดยใชยา phenobarbital หลังกินยา 3 สัปดาหไมมีอาการชักอีก แตมีอาการไขสูง ผื่นทั้งตัว elevation of liver enzyme ถาทานเปนแพทยที่ทําการรักษาผูปวยรายนี้ ทานจะทําอยางไรตอไป A. ใหยา phenobarbital ตอ B. เปลี่ยนยาเปน phenytoin C. เปลี่ยนยาเปน sodium valproate D. หยุดยากันชักไปกอน 4. ภาวะใดเปนขอหามในการทํา drug provacation test A. Exfoliative dermatitis B. Steven-Johnson syndrome C. Vasculitis syndrome D. Urticaria and angioedema 5. เด็กชายอายุ 5 ป มีไขสูง ไอ น้ํามูกเขียว ไดยา amoxicillin ไปกิน หลังกินยา 1 สัปดาหมีไข ปวดขอ ผื่น ทานจะ เลือก investigation ใดเพื่อยืนยันการวินิจฉัย A. serum IgE B. Skin prick test C. coombs’ test D. Complement level คําตอบ 1. A 2. B 3. D 4. B 5. D