SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 40
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ครู อรพรรณ ชานาญ
โรงเรียนท่าแพผดุงวิทย์
ความหมายของข้ อมูล
 ข้อมู ล (Data) คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ ที่
  ยังไม่ผ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการ
  น าไปใช้ ง าน ข้ อ มู ลอาจเป็ นตั ว เลข ตั ว อั ก ษร
  สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลือนไหว
                                        ่
ความหมายของสารสนเทศ

สารสนเทศ คือ ข้อมูลทีผานการประมวลผลแล้ว
                      ่ ่
  สามารถนาไปใช้งานได้ทนที
                      ั
ความหมายของฐานข้ อมูล
 ฐานข้อ มู ล
            (Database) คื อ การจั ด เก็ บ ข้อ มู ล ที่ มี
  ความสัมพัน ธ์ก นมาจัดเก็ บในที่เดีย วกันอย่ างเป็ น
                 ั
  ระบบ เพือนาไปใช้ตามความประสงค์ของผูใช้
          ่                                ้
สาเหตุท่ต้องมีฐานข้ อมูล
        ี

  ระบบงานต่าง ๆ ที่ไม่ได้ เป็ นระบบฐานข้ อมูล แฟ้ มจะ
   ถูกออกแบบเพื่อใช้ ในเฉพาะงานนั้น และพบเสมอ
   ว่ า แฟ้ มข้ อมู ล ของงานที่ อยู่ คนละที่ มี ข้ อมู ล
   เหมือนกัน ซ้าซ้ อนกัน ก่อให้ เกิดปั ญหาต่ าง ๆ ใน
   การทางาน
ระบบจัดการฐานข้ อมูล
 ระบบจัดการฐานข้อมู ล หรือ        DBMS (Data Base
  Management System) คือ ซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่
  สื่ อ กลางระหว่ า งผู ้ใ ช้ แ ละการท างานต่ า งๆ ที่
  เกียวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล ซึ่งช่วยให้เข้าถึงข้อมู ล
      ่
  ได้ง่ า ยสะดวกและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตัว อย่ า งของ
  DBMS ได้แก่ MS-Access 2007 , MySQL, Oracle
  หรือ MS-SQL Server
ข้ อดีของการจัดเก็บข้ อมูลแบบฐานข้ อมูล
 หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ (Inconsistency Can Be
  Avoided)
 ใช้ข้อมูลร่วมกันได้ (The Data Can Be Shared)
 ลดความซาซ้อนของข้อมูล (Redundancy Can Be Reduced)
         ้
 กาหนดความเป็ นมาตรฐานเดียวกันได้ (Standard Can Be Enforced)
 กาหนดระบบรักษาความปลอดภัยให้กบข้อมูลได้ (Security
                               ั
  Restriction Can Be Applied)
 การรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล
 ความอิสระของข้อมูล (Data Independence)
ข้อเสียของการจัดเก็บข้อมูลแบบฐานข้อมูล

  ต้นทุนสูง ทุกองค์ประกอบของระบบฐานข้อมูลมีราคาสูง
  มีความซับซ้อน
  เสี่ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ
ตัวอย่าง
ฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
 เป็ นแนวความคิ ด ของการออกแบบฐานข้อ มู ล ที่ รู ้จั ก กัน
  แพร่หลายและเป็ นที่นิยมใช้ในการจัดเก็บข้อมูลอย่างมาก
 รู ป แบบฐานข้อ มู ลเชิ ง สัม พัน ธ์ การเก็ บข้อมู ล จะเป็ นแบบรู ป
  ตาราง 2 มิติ คื อ แถว และ คอลัมน์ ซึ่ งแต่ ละตารางที่อยู่ ใน
  ฐานข้อมูลเดียวจะมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในลักษณะต่างๆ
 ผูใช้สามารถนาข้อมู ลจากหลายๆ ตารางมาเชื่อมโยงระหว่ าง
     ้
  กันได้ตามที่ตองการโดยอาศัยกฎของความสัมพันธ์
               ้
องค์ประกอบของฐานข้ อมูล
   องค์ ประกอบฐานข้ อมูลโดยพิจารณาจากการสร้ าง
   ฐานข้ อมูล
   1) เอนติตี้ (Entity) เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับบุคคล สถานที่
   สิ่ งของ หรื อเหตุการณ์ที่ตองการเก็บข้อมูล
                               ้
   2) ลักษณะเฉพาะของเอนติตี้ (Data items หรือ
   Attribute) คือลักษณะของเอนติต้ ีที่ตองการเก็บข้อมูล
                                             ้
   เช่น เอนติต้ ีของนักศึกษาประกอบด้วย แอตทริ บิวต์
   attribute คือ รหัสนักศึกษา, ชื่อ, สกุล, คณะ, กลุ่ม ฯลฯ
องค์ประกอบของฐานข้ อมูล
  3) ระเบียนหรือเรคอร์ ด (Records) คือ ชุดของลักษณะเฉพาะที่
  เกี่ยวกับเอนติต้ ีหนึ่ง ๆ ซึ่งจะใช้ในการประมวลผลด้วยกัน
  4) แฟ้ มข้ อมูล (File) ประกอบด้วยเรคอร์ดที่สมพันธ์กน
                                               ั      ั
  หลาย ๆ อันมารวมกัน เช่น แฟ้ มข้อมูลพนักงานจะ
  ประกอบด้วย เรคอร์ดของพนักงานแต่ละคน
  5) ฐานข้ อมูล (Database) ประกอบด้วยแฟ้ มข้อมูลหลาย ๆ
                             ั
  แฟ้ มที่มีความสัมพันธ์กนมารวมกัน
องค์ประกอบของฐานข้ อมูล
  Entity                                 นักศึกษา
  Attribute / Data Item/                 รหัสนักศึกษา, ชื่อ – สกุล, คณะ, กลุ่ม, ทีอยู่, โทรศัพท์
                                                                                  ่
  Field

                                         แฟมข้ อมูลนักศึกษา
                                           ้
  รหัสนักศึกษา          ชื่อ – สกุล                 คณะ         กลุ่ม            ที่อยู่           โทรศัพท์
   46111001      น.ส.หนูนุ้ย คุยดีจง
                                   ั          วิทยาการจัดการ     A      11 ถ.ลูกรัง ต.บ่ อยาง   074-111111
                                                                        อ.เมือง จ.สงขลา
   46111002      นายเท่ ง     เก่งจริง        วิทยาการจัดการ     G      1 หมู่ 5 ต.แป-ระ        09-9999999
                                                                        อ.ท่ าแพ จ.สตูล
   46111003      น.ส.เน่ งน้ อย นุ่มนวล วิทยาการจัดการ           Z      50 หมู่ 1 ต.ละงู อ.ละงู 074-444444
                                                                        เมือง จ.สงขลา
ความสัมพันธ์ของข้ อมูล
 ความสั มพันธ์ ของข้ อมูลแบ่ งเป็ น 3 ประเภทคือ
   1) ความสั มพันธ์ แบบ One to One
   2) ความสั มพันธ์ แบบ One to Many
   3) ความสั มพันธ์ แบบ Many to Many
ความสัมพันธ์ของข้ อมูล
 1) ความสั มพันธ์ แบบ One to One คือความสัมพันธ์
 ของข้อมูล 2 ตัว ที่มีลกษณะ 1 ต่อ 1 หรื อข้อมูลตัว
                       ั
                         ั
 หนึ่ง จะมีความสัมพันธ์กบข้อมูลอีกตัวหนึ่งได้เพียง
 ค่าเดียวเท่านั้น
       นักศึกษา            บัตรประจาตัวนักศึกษา
ความสัมพันธ์ของข้ อมูล
 2) ความสั มพันธ์ แบบ One to Many คือ
                                               ั
 ความสัมพันธ์ซ่ ึงข้อมูลตัวหนึ่งมีความสัมพันธ์กบ
 ข้อมูลตัวอื่นได้หลายอย่าง

         ชื่อลูกค้ า              บัญชีธนาคาร
ความสัมพันธ์ของข้ อมูล
 3) ความสั มพันธ์ แบบ Many to Many คือ
 ความสัมพันธ์ซ่ ึงข้อมูลตัวหนึ่งมีหลายค่า และมี
                 ั
 ความสัมพันธ์กบข้อมูลตัวอื่นได้หลายอย่าง เช่น มีวชา
                                                 ิ
 ที่เปิ ดสอนหลายวิชา แต่ละวิชามีนกศึกษาหลายคน
                                   ั
ความสัมพันธ์ของข้ อมูล
3) ความสั มพันธ์ แบบ Many to Many

วิชาระบบสารสนเทศ   วิชาการจัดการ    วิชาเศรษฐศาสตร์

 สมชาย     สมปอง      สมศักดิ์     สมทรง      สมหมาย
ความสัมพันธ์ตอไปนี ้เป็ นความสัมพันธ์แบบใด
             ่

1. ครู สอน นักเรี ยน
2. สามี สมรส ภรรยา
3. พ่อ เกียวข้ อง ลูก
          ่
4. หมอ รักษา คนไข้
5. รถยนต์ มี อะไหล่รถ
ฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ /ศัพท์ทวไป
                              ั่
 รีเลชั่น (Relation) : ตารางข้ อมูล(Table)
 ทูเพิล(Tuple) : แถว(Row) หรือ เรคอร์ ด (Record)
 แอททริบวต์ (Attribute) : คอลัมน์ (Column) หรือ ฟิ ลด์ (Field)
            ิ
 คาร์ ดินาลลิตี(Cardinality) : จานวนแถว(Number Of Rows)
               ้
 ดีกรี(Degree) : จานวนคอลัมน์ ในตาราง(Number of Column)
 โดเมน(Domain) : ขอบเขตค่ าของข้ อมูล
ฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ /ศัพท์ทวไป
                              ั่
ความสัมพันธ์ของตาราง
ประเภทของคีย์
ประเภทของคีย ์ อาจแบ่งเป็ น 2 ประเภทหลัก คือ
1. คีย์หลัก (Primary Key)
             เป็ นแอททริ บิ วต์ที่ มี คุ ณสมบัติข องข้อ มู ลที่ เป็ นค่ าเอกลักษณ์ ห รื อ มี ค่ าที่ ไ ม่
                                                                 ่
     ซ้ าซ้อนกัน คุณสมบัติดงกล่าวจะสามารถระบุวาข้อมูลนั้นเป็ นข้อมูลของทูเพิล/
                                     ั
    เรคอร์ ดใด แอททริ บิวต์ที่มีคุณสมบัติเป็ นคียหลักอาจประกอบด้ วยหลายแอททริ
                                                               ์
     บิ ว ต์ / คอลั ม น์ / ฟิ ลด์ ร วมกั น เพื่ อ ที่ จ ะก าหนดค่ า ที่ เ ป็ นเอกลัก ษณ์ ไ ด้ คี ย ์ห ลัก ที่
     ประกอบด้วยหลายแอททริ บิวต์น้ ีเรี ยกว่า คียผสม(Composite Key) นั้นคือเมื่อ
                                                             ์
    แอททริ บิวต์แต่ละตัวประกอบกันจึงจะให้ค่าที่เป็ นเอกลักษณ์หรื อไม่ซ้ าซ้อนกันได้
ประเภทของคีย์
Attribute ใดคือ คีย์หลัก (Primary Key) ??
ประเภทของคีย์
2. คีย์นอก (Foreign Key)
         เป็ นแอททริ บิวต์ในรี เลชันหนึ่งที่ใช้ในการอ้างอิงถึง
                                   ่
   แอททริ บิวต์เดียวกันในอีกรี เลชันหนึ่ง โดยที่แอททริ บิวต์
                                     ่
   นี้จะมีคุณสมบัติเป็ นคียหลักในรี เลชันที่ถกอ้างอิงถึง การ
                            ์              ่ ู
                                 ่
   ที่มีแอททริ บิวต์น้ ีปรากฎอยูในรี เลชันทั้งสองก็เพื่อ
                                         ่
   ประโยชน์ในการเชื่อมโยงข้อมูลซึ่งกันและกันนันเอง    ่
ประเภทของคีย์
Attribute ใดคือ คีย์นอก (Foreign Key) ??
กฎที่เกี่ยวข้ องกับคีย์ในระบบฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์

  กฎความบูรณภาพของเอนทิตี้
  (The Entity Integrity Rule) กฎข้ อนีระบุว่า
                                      ้
        1.1 ข้อมูลในแอททริ บิวต์จะต้องเป็ นค่าที่เป็ น
             เอกลักษณ์หรื อไม่มีค่าซ้ า(Unique)
        1.2 เป็ นค่าว่างไม่ได้ (Not Null)
กฎที่เกี่ยวข้ องกับคีย์ในระบบฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์
  กฎความบูรณภาพของการอ้ างอิง
  (The Referential integrity Rule)
  2.1 ใช้คียนอกของรี เลชันหนึ่งไปตรวจสอบกับค่าของแอททริ บิวต์
              ์           ่
     ที่เป็ นคียหลักของอีกรี เลชันหนึ่ ง จึงจะเชื่อมโยงหรื ออ้างอิง
                ์                ่
     ข้อมูลระหว่าง 2 รี เลชันได้ หรื อ
                            ่
  2.2 ค่าของคียนอกต้องสามารถอ้างอิงให้ตรงกับค่าของคียหลักได้
                  ์                                        ์
     จึงจะเชื่อมโยงหรื ออ้างอิงข้อมูลระหว่าง 2 รี เลชันได้
                                                      ่
ใบงานที่ 1 ระบบฐานข้ อมูล (1)


 จากภาพจงหาและอธิบายคาต่ อไปนี้ พร้ อมยกตัวอย่ างโดยอิงจากภาพ
        รีเลชั่น (Relation)
        ทูเพิล (Tuple)
        แอททริบิวต์ (Attribute)
        คาร์ ดนาลลิตี้ (Cardinality)
               ิ
        ดีกรี (Degree)
        โดเมน (Domain)
องค์ประกอบของฐานข้ อมูลในโปรแกรม Access
 ไฟล์ฐานข้อมู ลที่สร้างด้วยโปรแกรม Access จะมีนามสกุลเป็ น
  .mdb
 ในฐานข้อมู ลจะประกอบด้วยวัตถุ (object) ที่มีหน้าที่และการใช้
  งานแตกต่างกัน 7 ประเภท คือ
    ตาราง, แบบสอบถาม, ฟอร์ม, รายงาน, เพจ, มาโคร และ
    โมดู ล
ตาราง (Table)
   ใช้เก็บข้อมูลต่างๆ ตามที่ผูใช้ได้ออกแบบและกาหนดไว้
                              ้
แบบสอบถาม (Query)
  ใช้สาหรับการค้นหาและดึงข้อมูลตามเงือนไขทีเราต้องการออกมา
                                     ่     ่
ฟอร์ม (Form)
  ใช้เรียกดู แก้ไขเพิมเติมและปรับปรุงข้อมูลที่อยู่ภายในตาราง
                     ่
รายงาน (Report)
   ใช้สาหรับแสดงผลข้อมูล ตามรูปแบบที่ได้กาหนดไว้
เพจ (Page)
 ทาให้สามารถเรียกดู ปรับปรุง เพิมเติมข้อมูลผ่านทางเว็บเพจได้
                                ่
มาโคร (Macro)
ชุดคาสังที่เรากาหนดให้โปรแกรมทางานกับข้อมูลอย่างอัตโนมัติได้
       ่
โมดูล (Module)
  เป็ นโปรแกรมย่อยที่ทาให้เราสามารถใช้งานอย่างซับซ้อนได้
ตาราง (Table)
ตาราง (Table)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISsiriporn pongvinyoo
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnprave
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศKaii Eiei
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 

Was ist angesagt? (18)

ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
Mai
MaiMai
Mai
 
คอมมม
คอมมมคอมมม
คอมมม
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศการจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
 

Ähnlich wie การจัดการฐานข้อมูล

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
Chapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูลChapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูลsaisuneesaibit
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนsariya25
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 

Ähnlich wie การจัดการฐานข้อมูล (20)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
Chapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูลChapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูล
 
Entity relationship model
Entity relationship modelEntity relationship model
Entity relationship model
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Lesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_dbLesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_db
 
Lesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_dbLesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_db
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 

Mehr von Orapan Chamnan

ระบบสอบ2557
ระบบสอบ2557ระบบสอบ2557
ระบบสอบ2557Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4 ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4 Orapan Chamnan
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมOrapan Chamnan
 
แนะแนวระบบสอบ2556
แนะแนวระบบสอบ2556แนะแนวระบบสอบ2556
แนะแนวระบบสอบ2556Orapan Chamnan
 
แนะแนวระบบสอบ2555
แนะแนวระบบสอบ2555แนะแนวระบบสอบ2555
แนะแนวระบบสอบ2555Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1Orapan Chamnan
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 
รับครูดนตรี
รับครูดนตรีรับครูดนตรี
รับครูดนตรีOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
Handbook2007%20for%20 print
Handbook2007%20for%20 printHandbook2007%20for%20 print
Handbook2007%20for%20 printOrapan Chamnan
 
3 ประเภทของโครงงานคอม
3 ประเภทของโครงงานคอม3 ประเภทของโครงงานคอม
3 ประเภทของโครงงานคอมOrapan Chamnan
 
การสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlash
การสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlashการสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlash
การสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlashOrapan Chamnan
 
Student อ่านเขียน
Student อ่านเขียนStudent อ่านเขียน
Student อ่านเขียนOrapan Chamnan
 
2 ความหมายและคุณค่าของการทำ
2 ความหมายและคุณค่าของการทำ2 ความหมายและคุณค่าของการทำ
2 ความหมายและคุณค่าของการทำOrapan Chamnan
 
1 โครงงานคอมพิวเตอร์
1 โครงงานคอมพิวเตอร์1 โครงงานคอมพิวเตอร์
1 โครงงานคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 

Mehr von Orapan Chamnan (20)

สอบ LAB 2
สอบ LAB 2สอบ LAB 2
สอบ LAB 2
 
LAB2
LAB2LAB2
LAB2
 
ระบบสอบ2557
ระบบสอบ2557ระบบสอบ2557
ระบบสอบ2557
 
ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4 ใบความรู้ที่ 1.4
ใบความรู้ที่ 1.4
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
แนะแนวระบบสอบ2556
แนะแนวระบบสอบ2556แนะแนวระบบสอบ2556
แนะแนวระบบสอบ2556
 
แนะแนวระบบสอบ2555
แนะแนวระบบสอบ2555แนะแนวระบบสอบ2555
แนะแนวระบบสอบ2555
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1
 
Lab2
Lab2Lab2
Lab2
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
รับครูดนตรี
รับครูดนตรีรับครูดนตรี
รับครูดนตรี
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
Handbook2007%20for%20 print
Handbook2007%20for%20 printHandbook2007%20for%20 print
Handbook2007%20for%20 print
 
Docflash8
Docflash8Docflash8
Docflash8
 
3 ประเภทของโครงงานคอม
3 ประเภทของโครงงานคอม3 ประเภทของโครงงานคอม
3 ประเภทของโครงงานคอม
 
การสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlash
การสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlashการสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlash
การสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlash
 
Student อ่านเขียน
Student อ่านเขียนStudent อ่านเขียน
Student อ่านเขียน
 
2 ความหมายและคุณค่าของการทำ
2 ความหมายและคุณค่าของการทำ2 ความหมายและคุณค่าของการทำ
2 ความหมายและคุณค่าของการทำ
 
1 โครงงานคอมพิวเตอร์
1 โครงงานคอมพิวเตอร์1 โครงงานคอมพิวเตอร์
1 โครงงานคอมพิวเตอร์
 

การจัดการฐานข้อมูล

  • 2. ความหมายของข้ อมูล  ข้อมู ล (Data) คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ ที่ ยังไม่ผ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการ น าไปใช้ ง าน ข้ อ มู ลอาจเป็ นตั ว เลข ตั ว อั ก ษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลือนไหว ่
  • 4. ความหมายของฐานข้ อมูล  ฐานข้อ มู ล (Database) คื อ การจั ด เก็ บ ข้อ มู ล ที่ มี ความสัมพัน ธ์ก นมาจัดเก็ บในที่เดีย วกันอย่ างเป็ น ั ระบบ เพือนาไปใช้ตามความประสงค์ของผูใช้ ่ ้
  • 5. สาเหตุท่ต้องมีฐานข้ อมูล ี ระบบงานต่าง ๆ ที่ไม่ได้ เป็ นระบบฐานข้ อมูล แฟ้ มจะ ถูกออกแบบเพื่อใช้ ในเฉพาะงานนั้น และพบเสมอ ว่ า แฟ้ มข้ อมู ล ของงานที่ อยู่ คนละที่ มี ข้ อมู ล เหมือนกัน ซ้าซ้ อนกัน ก่อให้ เกิดปั ญหาต่ าง ๆ ใน การทางาน
  • 6. ระบบจัดการฐานข้ อมูล  ระบบจัดการฐานข้อมู ล หรือ DBMS (Data Base Management System) คือ ซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ สื่ อ กลางระหว่ า งผู ้ใ ช้ แ ละการท างานต่ า งๆ ที่ เกียวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล ซึ่งช่วยให้เข้าถึงข้อมู ล ่ ได้ง่ า ยสะดวกและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตัว อย่ า งของ DBMS ได้แก่ MS-Access 2007 , MySQL, Oracle หรือ MS-SQL Server
  • 7. ข้ อดีของการจัดเก็บข้ อมูลแบบฐานข้ อมูล  หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ (Inconsistency Can Be Avoided)  ใช้ข้อมูลร่วมกันได้ (The Data Can Be Shared)  ลดความซาซ้อนของข้อมูล (Redundancy Can Be Reduced) ้  กาหนดความเป็ นมาตรฐานเดียวกันได้ (Standard Can Be Enforced)  กาหนดระบบรักษาความปลอดภัยให้กบข้อมูลได้ (Security ั Restriction Can Be Applied)  การรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล  ความอิสระของข้อมูล (Data Independence)
  • 8. ข้อเสียของการจัดเก็บข้อมูลแบบฐานข้อมูล  ต้นทุนสูง ทุกองค์ประกอบของระบบฐานข้อมูลมีราคาสูง  มีความซับซ้อน  เสี่ยงต่อการหยุดชะงักของระบบ
  • 10. ฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)  เป็ นแนวความคิ ด ของการออกแบบฐานข้อ มู ล ที่ รู ้จั ก กัน แพร่หลายและเป็ นที่นิยมใช้ในการจัดเก็บข้อมูลอย่างมาก  รู ป แบบฐานข้อ มู ลเชิ ง สัม พัน ธ์ การเก็ บข้อมู ล จะเป็ นแบบรู ป ตาราง 2 มิติ คื อ แถว และ คอลัมน์ ซึ่ งแต่ ละตารางที่อยู่ ใน ฐานข้อมูลเดียวจะมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในลักษณะต่างๆ  ผูใช้สามารถนาข้อมู ลจากหลายๆ ตารางมาเชื่อมโยงระหว่ าง ้ กันได้ตามที่ตองการโดยอาศัยกฎของความสัมพันธ์ ้
  • 11. องค์ประกอบของฐานข้ อมูล องค์ ประกอบฐานข้ อมูลโดยพิจารณาจากการสร้ าง ฐานข้ อมูล 1) เอนติตี้ (Entity) เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับบุคคล สถานที่ สิ่ งของ หรื อเหตุการณ์ที่ตองการเก็บข้อมูล ้ 2) ลักษณะเฉพาะของเอนติตี้ (Data items หรือ Attribute) คือลักษณะของเอนติต้ ีที่ตองการเก็บข้อมูล ้ เช่น เอนติต้ ีของนักศึกษาประกอบด้วย แอตทริ บิวต์ attribute คือ รหัสนักศึกษา, ชื่อ, สกุล, คณะ, กลุ่ม ฯลฯ
  • 12. องค์ประกอบของฐานข้ อมูล 3) ระเบียนหรือเรคอร์ ด (Records) คือ ชุดของลักษณะเฉพาะที่ เกี่ยวกับเอนติต้ ีหนึ่ง ๆ ซึ่งจะใช้ในการประมวลผลด้วยกัน 4) แฟ้ มข้ อมูล (File) ประกอบด้วยเรคอร์ดที่สมพันธ์กน ั ั หลาย ๆ อันมารวมกัน เช่น แฟ้ มข้อมูลพนักงานจะ ประกอบด้วย เรคอร์ดของพนักงานแต่ละคน 5) ฐานข้ อมูล (Database) ประกอบด้วยแฟ้ มข้อมูลหลาย ๆ ั แฟ้ มที่มีความสัมพันธ์กนมารวมกัน
  • 13. องค์ประกอบของฐานข้ อมูล Entity นักศึกษา Attribute / Data Item/ รหัสนักศึกษา, ชื่อ – สกุล, คณะ, กลุ่ม, ทีอยู่, โทรศัพท์ ่ Field แฟมข้ อมูลนักศึกษา ้ รหัสนักศึกษา ชื่อ – สกุล คณะ กลุ่ม ที่อยู่ โทรศัพท์ 46111001 น.ส.หนูนุ้ย คุยดีจง ั วิทยาการจัดการ A 11 ถ.ลูกรัง ต.บ่ อยาง 074-111111 อ.เมือง จ.สงขลา 46111002 นายเท่ ง เก่งจริง วิทยาการจัดการ G 1 หมู่ 5 ต.แป-ระ 09-9999999 อ.ท่ าแพ จ.สตูล 46111003 น.ส.เน่ งน้ อย นุ่มนวล วิทยาการจัดการ Z 50 หมู่ 1 ต.ละงู อ.ละงู 074-444444 เมือง จ.สงขลา
  • 14. ความสัมพันธ์ของข้ อมูล ความสั มพันธ์ ของข้ อมูลแบ่ งเป็ น 3 ประเภทคือ 1) ความสั มพันธ์ แบบ One to One 2) ความสั มพันธ์ แบบ One to Many 3) ความสั มพันธ์ แบบ Many to Many
  • 15. ความสัมพันธ์ของข้ อมูล 1) ความสั มพันธ์ แบบ One to One คือความสัมพันธ์ ของข้อมูล 2 ตัว ที่มีลกษณะ 1 ต่อ 1 หรื อข้อมูลตัว ั ั หนึ่ง จะมีความสัมพันธ์กบข้อมูลอีกตัวหนึ่งได้เพียง ค่าเดียวเท่านั้น นักศึกษา บัตรประจาตัวนักศึกษา
  • 16. ความสัมพันธ์ของข้ อมูล 2) ความสั มพันธ์ แบบ One to Many คือ ั ความสัมพันธ์ซ่ ึงข้อมูลตัวหนึ่งมีความสัมพันธ์กบ ข้อมูลตัวอื่นได้หลายอย่าง ชื่อลูกค้ า บัญชีธนาคาร
  • 17. ความสัมพันธ์ของข้ อมูล 3) ความสั มพันธ์ แบบ Many to Many คือ ความสัมพันธ์ซ่ ึงข้อมูลตัวหนึ่งมีหลายค่า และมี ั ความสัมพันธ์กบข้อมูลตัวอื่นได้หลายอย่าง เช่น มีวชา ิ ที่เปิ ดสอนหลายวิชา แต่ละวิชามีนกศึกษาหลายคน ั
  • 18. ความสัมพันธ์ของข้ อมูล 3) ความสั มพันธ์ แบบ Many to Many วิชาระบบสารสนเทศ วิชาการจัดการ วิชาเศรษฐศาสตร์ สมชาย สมปอง สมศักดิ์ สมทรง สมหมาย
  • 19. ความสัมพันธ์ตอไปนี ้เป็ นความสัมพันธ์แบบใด ่ 1. ครู สอน นักเรี ยน 2. สามี สมรส ภรรยา 3. พ่อ เกียวข้ อง ลูก ่ 4. หมอ รักษา คนไข้ 5. รถยนต์ มี อะไหล่รถ
  • 20. ฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ /ศัพท์ทวไป ั่ รีเลชั่น (Relation) : ตารางข้ อมูล(Table) ทูเพิล(Tuple) : แถว(Row) หรือ เรคอร์ ด (Record) แอททริบวต์ (Attribute) : คอลัมน์ (Column) หรือ ฟิ ลด์ (Field) ิ คาร์ ดินาลลิตี(Cardinality) : จานวนแถว(Number Of Rows) ้ ดีกรี(Degree) : จานวนคอลัมน์ ในตาราง(Number of Column) โดเมน(Domain) : ขอบเขตค่ าของข้ อมูล
  • 23. ประเภทของคีย์ ประเภทของคีย ์ อาจแบ่งเป็ น 2 ประเภทหลัก คือ 1. คีย์หลัก (Primary Key) เป็ นแอททริ บิ วต์ที่ มี คุ ณสมบัติข องข้อ มู ลที่ เป็ นค่ าเอกลักษณ์ ห รื อ มี ค่ าที่ ไ ม่ ่ ซ้ าซ้อนกัน คุณสมบัติดงกล่าวจะสามารถระบุวาข้อมูลนั้นเป็ นข้อมูลของทูเพิล/ ั เรคอร์ ดใด แอททริ บิวต์ที่มีคุณสมบัติเป็ นคียหลักอาจประกอบด้ วยหลายแอททริ ์ บิ ว ต์ / คอลั ม น์ / ฟิ ลด์ ร วมกั น เพื่ อ ที่ จ ะก าหนดค่ า ที่ เ ป็ นเอกลัก ษณ์ ไ ด้ คี ย ์ห ลัก ที่ ประกอบด้วยหลายแอททริ บิวต์น้ ีเรี ยกว่า คียผสม(Composite Key) นั้นคือเมื่อ ์ แอททริ บิวต์แต่ละตัวประกอบกันจึงจะให้ค่าที่เป็ นเอกลักษณ์หรื อไม่ซ้ าซ้อนกันได้
  • 25. ประเภทของคีย์ 2. คีย์นอก (Foreign Key) เป็ นแอททริ บิวต์ในรี เลชันหนึ่งที่ใช้ในการอ้างอิงถึง ่ แอททริ บิวต์เดียวกันในอีกรี เลชันหนึ่ง โดยที่แอททริ บิวต์ ่ นี้จะมีคุณสมบัติเป็ นคียหลักในรี เลชันที่ถกอ้างอิงถึง การ ์ ่ ู ่ ที่มีแอททริ บิวต์น้ ีปรากฎอยูในรี เลชันทั้งสองก็เพื่อ ่ ประโยชน์ในการเชื่อมโยงข้อมูลซึ่งกันและกันนันเอง ่
  • 27. กฎที่เกี่ยวข้ องกับคีย์ในระบบฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ กฎความบูรณภาพของเอนทิตี้ (The Entity Integrity Rule) กฎข้ อนีระบุว่า ้ 1.1 ข้อมูลในแอททริ บิวต์จะต้องเป็ นค่าที่เป็ น เอกลักษณ์หรื อไม่มีค่าซ้ า(Unique) 1.2 เป็ นค่าว่างไม่ได้ (Not Null)
  • 28. กฎที่เกี่ยวข้ องกับคีย์ในระบบฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ กฎความบูรณภาพของการอ้ างอิง (The Referential integrity Rule) 2.1 ใช้คียนอกของรี เลชันหนึ่งไปตรวจสอบกับค่าของแอททริ บิวต์ ์ ่ ที่เป็ นคียหลักของอีกรี เลชันหนึ่ ง จึงจะเชื่อมโยงหรื ออ้างอิง ์ ่ ข้อมูลระหว่าง 2 รี เลชันได้ หรื อ ่ 2.2 ค่าของคียนอกต้องสามารถอ้างอิงให้ตรงกับค่าของคียหลักได้ ์ ์ จึงจะเชื่อมโยงหรื ออ้างอิงข้อมูลระหว่าง 2 รี เลชันได้ ่
  • 29. ใบงานที่ 1 ระบบฐานข้ อมูล (1) จากภาพจงหาและอธิบายคาต่ อไปนี้ พร้ อมยกตัวอย่ างโดยอิงจากภาพ รีเลชั่น (Relation) ทูเพิล (Tuple) แอททริบิวต์ (Attribute) คาร์ ดนาลลิตี้ (Cardinality) ิ ดีกรี (Degree) โดเมน (Domain)
  • 30. องค์ประกอบของฐานข้ อมูลในโปรแกรม Access  ไฟล์ฐานข้อมู ลที่สร้างด้วยโปรแกรม Access จะมีนามสกุลเป็ น .mdb  ในฐานข้อมู ลจะประกอบด้วยวัตถุ (object) ที่มีหน้าที่และการใช้ งานแตกต่างกัน 7 ประเภท คือ ตาราง, แบบสอบถาม, ฟอร์ม, รายงาน, เพจ, มาโคร และ โมดู ล
  • 31. ตาราง (Table) ใช้เก็บข้อมูลต่างๆ ตามที่ผูใช้ได้ออกแบบและกาหนดไว้ ้
  • 32. แบบสอบถาม (Query) ใช้สาหรับการค้นหาและดึงข้อมูลตามเงือนไขทีเราต้องการออกมา ่ ่
  • 33. ฟอร์ม (Form) ใช้เรียกดู แก้ไขเพิมเติมและปรับปรุงข้อมูลที่อยู่ภายในตาราง ่
  • 34. รายงาน (Report) ใช้สาหรับแสดงผลข้อมูล ตามรูปแบบที่ได้กาหนดไว้
  • 35. เพจ (Page) ทาให้สามารถเรียกดู ปรับปรุง เพิมเติมข้อมูลผ่านทางเว็บเพจได้ ่
  • 37. โมดูล (Module) เป็ นโปรแกรมย่อยที่ทาให้เราสามารถใช้งานอย่างซับซ้อนได้
  • 38.