SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น
ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม


         บทที ่ 1 บทนำ า และการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล
      - ความหมายของสถิติ
      - ข้อมูลและการจำาแนก
      - แหล่งข้อมูลและวิธีการเก็บข้อมูล
      - การสุ่มตัวอย่างและเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง
แบบทดสอบบทที่ 1

1. ความหมายของสถิ ต ิ
    สถิ ต ิ (STATISTICS)
       ขอบข่ายของความหมายของคำาว่า “สถิต” มีหลายประเด็นและได้
                                                 ิ
ขยายกว้างขวางออกไปอย่างรวดเร็วจนถึงศตวรรษที่ 20 จากสถิติที่มี
ความหมายถึงข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารของรัฐแล้ว สถิติได้พัฒนาเป็น
ข้อมูลแสดงสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ข้อมูลที่เป็นตัวชี้วัดให้เห็นถึง
การเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สนใจ แนวทางในการดำาเนินธุรกิจ เช่น ข้อมูล
เกี่ยวกับการอากาศยาน ซึ่งจะมีข้อมูลที่จำาเป็นมากมาย ได้แก่ เกี่ยวกับ
ภูมิอากาศ เกี่ยวกับสภาพภูมิประเทศ เกี่ยวกับสภาพของผู้โดยสาร หรือ
ข้อมูลทางการแพทย์ เหล่านี้เป็นต้น จนกระทั่งถึงปัจจุบัน วิวัฒนาการ
ทางสถิติศาสตร์ก็มีการพัฒนามากยิ่งขึ้นและเกี่ยวข้องกับเรื่องต่าง ๆ
เกือบทั้งหมด สถิติศาสตร์จึงมีความสำาคัญมากขึ้นพร้อม ๆ กับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบันที่มีความสลับซับซ้อน เพราะยิ่งสังคมมี
ความสลับซับซ้อนมากขึ้นเพียงไร ก็ยิ่งมีความจำาเป็นต้องทำาการเก็บ
ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมมากขึ้นนั่นเอง เพื่อทำาความเข้าใจในสังคมนั้นอย่าง
ลึกซึ้ง ด้วยเหตุผลดังกล่าวทำาให้เราต้องทราบข้อเท็จจริง และความเป็น
ไปของสังคม จึงจำาเป็นต้องใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่งช่วยในการ
ตัดสินใจ เครื่องมือนี้ก็คือ สถิติ ตัวอย่างเช่น เทคนิคว่าด้วยการสุ่ม
ตัวอย่าง และการประมาณข้อมูลจากตัวอย่างได้ถูกนำามาใช้อย่างกวาง
ขวางในการเก็บรวบรวมข้อมูลระดับชาติและการรวบรวมข้อมูลเพื่อการ
วิเคราะห์วิจัยในส่วนที่สนใจ
       สถิติจัดได้ว่าเป็นทั้งวิทยาศาสตร์ และศิลปะ เช่นเดียวกับ
คณิตศาสตร์ โดยจะประกอบด้วย กระบวนการที่จะทำาให้ได้ข่าวสารต่าง
ๆ ในเรื่องที่ต้องการจะศึกษา การจัดเป็นหมวดหมู่และการนำาเสนอ ซึ่งมี
ส่วนของศิลปะมาผสมผสานด้วย และในส่วนที่เป็นกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ จะประกอบด้วยขั้นตอนที่จะทำาให้ได้ค่าสังเกตต่าง ๆ ที่เรา
ต้องการศึกษาอย่างเหมาะสม มีเหตุมีผลสามารถตรวจสอบได้ ดังนั้นจึงมี
รูปแบบในการวัด หรือการสังเกตมากมาย
เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น
ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม




       ความหมายของสถิติ
            คำาว่า “สถิต” มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “statistics” ซึ่งมี
                        ิ
รากศัพท์มาจากคำาว่า “state” ดังนั้นตามความหมายดั้งเดิม สถิติ จึง
หมายถึง ข้อมูลหรือข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อรัฐในด้านต่างๆ เช่น
ข้อมูลในการวางแผนกำาลังคน การเก็บภาษีอากร การประกันสังคม การ
จัดการศึกษา และการสาธารณสุข เป็นต้น ต่อมาคำาว่า สถิติ มีความ
หมายกว้างขวางขึ้น ซึ่งในปัจจุบัน สถิติมีความหมายต่างๆ ดังนี้
            1. สถิติ ในความหมายของ “ข้อมูลสถิต” หมายถึง ตัวเลขที่
                                                   ิ
ใช้แทนข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ เช่น สถิติการเข้าชั้นเรียน ปริมาณการ
ขายสินค้า สถิติจำานวนบุคลากรของหน่วยงานต่างๆ เป็นต้น
            2. สถิติ ในความหมายของ “ระเบียบวิธีการทางสถิต”    ิ
หมายถึง ระเบียบวิธีการทางสถิติ ซึ่งประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล
การนำาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการแปลความหมายข้อมูล
ดังนั้นสถิติตามความหมายนี้จึงเป็นเครื่องมือสำาคัญของนักวิจัย นัก
วิชาการ และนักบริหาร
           3. สถิติ ในความหมายของ “ค่าสถิต” หมายถึง ค่าตัวเลขที่
                                              ิ
คำานวณได้จาก ข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง (Sample data) เช่น ค่าเฉลี่ย
เลขคณิต ( X ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เป็นต้น
            4. สถิติ ในความหมายของ “วิชาสถิต” หมายถึงวิชา
                                                 ิ
วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งซึ่งมีเนื้อหาและรากฐานมาจากวิชาคณิตศาสตร์
(Mathematics) และตรรกวิทยา (logic) โดยสถิติเป็นศาสตร์ของการ
ตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่ยังไม่แน่นอน

     สถิติ หมายถึง ข้อมูลตัวเลขที่ใช้แทนข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ
หรืออาจหมายถึงวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แปลความหมายของข้อมูล
การเปรียบเทียบ การจัดลำาดับและนำาเสนอข้อมูล

ป      ร    ะ    เ    ภ      ท      ข     อ     ง    ส      ถิ      ติ
      นักคณิตศาสตร์ได้แบ่งสถิติในฐานะที่เป็นศาสตร์ออกเป็นสาขา
ใหญ่ ๆ 2 สาขาด้วยกัน คือ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
และการอนุมานเชิงสถิติ หรือ สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)
ซึ่งแต่ละสาขามีรายละเอียดดังนี้
เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น
ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

     1.สถิ ต ิ พ รรณนา (Descriptive Statistics) หมายถึง การ
บรรยายลักษณะของข้อมูล (Data) ที่ผู้วิจัยเก็บรวบรวมจากประชากร
หรือกลุ่มตัวอย่างที่สนใจ ซึ่งอาจจะแสดงในรูป ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน
ฐานนิยม ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน เป็นต้น
     2.สถิ ต ิ เ ชิ ง อนุ ม าน (Inferential Statistics) หมายถึง สถิติที่ว่า
ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่าง เพื่ออธิบายสรุป
ลักษณะบางประการของประชากร โดยมีการนำาทฤษฎีความน่าจะเป็นมา
ประยุกต์ใช้ สถิติสาขานี้ ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ การทดสอบ
สมมุติฐานทางสถิติ การวิเคราะห์การถดถอยและสหสัมพันธ์ เป็นต้น

2. ข้ อ มู ล และการจำ า แนก
                                   ข้         อ       มู             ล
     ข้อมูล(Data) หมายถึง ข้อมูลหรือตัวเลขที่แสดงคุณสมบัติที่ผู้วิจัย
ต้องการศึกษา เช่น อายุ รายได้ ยอดขาย เป็นต้น

ป    ร     ะ      เ   ภ   ท      ข     อ   ง     ข้     อ    มู     ล
     ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมา ไม่ว่าจะใช้ในงานวิจัย หรือวัตถุประสงค์อื่น
ใดก็ตาม ย่อมมีลักษณะแตกต่างกันไป โดยการจำาแนกข้อมูล อาจ
จำาแนกตามเกณฑ์ใหญ่ ๆ ได้ 3 ประการ คือ จำาแนกตามแหล่งข้อมูล
จำาแนกตามลักษณะของข้อมูล และจำาแนกตามมาตรการวัด เป็นต้น

      จำ า แนกตามแหล่ ง ข้ อ มู ล
      1. ข้ อ มู ล ปฐมภู ม ิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ผู้วิจัยเป็นผู้
เก็บรวบรวมข้อมูลที่สนใจเอง โดยที่อาจจะใช้วิธีเก็บแบบสอบถาม แบบ
สัมภาษณ์ การทดลอง เป็นต้น
      2. ข้ อ มู ล ทุ ต ิ ย ภู ม ิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ผู้วิจัย
ไม่ได้เป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลที่สนใจเอง โดยนำาข้อมูลที่ผู้อื่น ๆ เก็บมา
ใช้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับการจ้างงานที่กระทรวงแรงงานรวบรวมไว้
เป็นต้น

      จำ า แนกตามลั ก ษณะของข้ อ มู ล
      1.ข้ อ มู ล เชิ ง ปริ ม าณ (Quantitative Data) หมายถึง ข้อมูลที่
สามารถแสดงในรูปตัวเลขได้ เช่น นำ้าหนัก อายุ คะแนน จำานวนสินค้า
งบประมาณ จำานวนพนักงานในบริษัท เป็นต้น ข้อมูลเชิงปริมาณยังแบ่ง
ได้ ๒ ประเภท คือ
เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น
ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

              1.1 ข้ อ มู ล แบบต่ อ เนื ่ อ ง (Continuous Data) หมายถึง
ข้อมูลที่มีค่าต่าง ๆ ทุกค่าต่อเนื่องกัน โดยแสดงได้ทั้งเศษส่วนหรือตัวเลข
ที่เป็นจำานวนเต็ม เช่น ส่วนสูง นำ้าหนัก ความยาวของโต๊ะ
              1.2 ข้ อ มู ล แบบไม่ ต ่ อ เนื ่ อ ง (Discrete Data) หมายถึง
       ข้อมูลที่มีค่าเป็นจำานวน
เต็มหรือจำานวนนับ เช่น ค่าใช้จ่าย จำานวนสินค้า งบประมาณ จำานวน
พนักงานในบริษัท
       2.ข้ อ มู ล เชิ ง คุ ณ ภาพ (Qualitative Data) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่
สามารถแสดงในรูปตัวเลขได้ หรือ อาจจะแสดงในรูปตัวเลขได้แต่ไม่
สามารถคำานวณในเชิงปริมาณได้ เนื่องจากตัวเลขเหล่านั้นไม่สามารถ
อธิบายได้ เช่น เพศ สถานภาพ วุฒิการศึกษา เป็นต้น

      จำ า แนกตามมาตรการวั ด
      1. นามบั ญ ญั ต ิ (Nominal Scales) คือระดับของข้อมูลที่เป็นการ
กำาหนดชื่อหรือแบ่งแยกประเภทของสิ่งต่าง ๆ เช่น เบอร์โทรศัพท์
ห้องเรียน อาคารเรียน บ้านเลขที่ เป็นต้น
      2. เรี ย งลำ า ดั บ (Ordinal Scales) คือระดับของข้อมูลที่สามารถ
จัดลำาดับความสำาคัญของข้อมูลตามความแตกต่างได้ เช่น ชอบมาก
ชอบปานกลาง ชอบน้อย ไม่ชอบ เป็นต้น
      3. อั น ตรภาค (Interval Scales) คือระดับของข้อมูลที่สามารถ
บอกถึงปริมาณของความแตกต่างของข้อมูลได้ แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น
อุณหภูมิ คะแนนสอบวัดความรู้ ความสูง เป็นต้น
      4. อั ต ราส่ ว น (Ratio Scales) คือระดับของข้อมูลที่เป็นการบอก
ถึงปริมาณความแตกต่างของข้อมูลที่มีรายละเอียดมากที่สุดและมีศูนย์
แท้ เช่น ระยะทาง นำ้าหนัก ความเร็ว เป็นต้น

      ลักษณะของข้อมูลที่เก็บแบ่งเป็น 2 ลักษณะ
      1. ข้ อ มู ล ที ่ ไ ม่ ไ ด้ แ บ่ ง กลุ ่ ม (ungrouped Data) เป็นข้อมูลที่
เก็บจากลักษณะของแต่ละหน่วยประชากร หรือ หน่วยตัวอย่าง เช่น
ข้อมูลอายุของคนกลุ่มหนึ่ง 15 , 18 , 20 , 25 , 23 , 14 , 22 ปี เป็นต้น
      2. ข้ อ มู ล ที ่ แ บ่ ง กลุ ่ ม (grouped Data) เป็นข้อมูลที่จัดแบ่ง
เป็นกลุ่ม ๆ เป็นอันตรภาคชั้น เช่น อายุของคนกลุ่มหนึ่ง คือ
15-20,21-26,27-32 ปี เป็นต้น

3. แหล่ ง ข้ อ มู ล และวิ ธ ี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล
   แหล่ ง ที ่ ม าของข้ อ มู ล (Source of Data)
เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น
ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

ข้อมูลสถิติอาจจำาแนกตามแหล่งที่มาได้ 2 ทาง คือ
• ข้ อ มู ล ปฐมภู ม ิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้หรือหน่วยงานที่
ใช้เป็นผู้ทำาการเก็บข้อมูลด้วยตนเอง ซึ่งวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลอาจ
ใช้วิธีการสัมภาษณ์ การทดลอง หรือการสังเกตการณ์ ข้อมูลปฐมภูมิเป็น
ข้อมูลที่มีรายละเอียดตรงตามที่ผู้ใช้ต้องการ แต่มักจะเสียเวลาในการ
จัดหาและมีค่าใช้จ่ายสูง
• ข้ อ มู ล ทุ ต ิ ย ภู ม ิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ได้เก็บ
รวบรวมเอง แต่มีผู้อื่นหรือ หน่วยงานอื่นๆ ทำาการเก็บรวบรวมไว้แล้ว
เช่น จากรายงาน ที่พิมพ์แล้ว หรือยังไม่ได้พิมพ์ของ หน่วยงานของ
รัฐบาล สมาคม บริษัท สำานักงานวิจัย นักวิจัย วารสาร หนังสือพิมพ์
เป็นต้น การนำาเอาข้อมูลเหล่านี้มาใช้เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้
จ่าย แต่ในบางครั้งข้อมูลอาจจะไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ หรือมี
รายละเอียดไม่เพียงพอที่จะนำาไปวิเคราะห์ นอกจากนี้ในบางครั้ง ข้อมูล
นั้นอาจมีความผิดพลาดและผู้ใช้มักจะไม่ทราบข้อผิดพลาดดังกล่าว ซึ่ง
อาจมีผลกระทบต่อการสรุปผล ดังนั้น ผู้ที่จะนำาข้อมูลทุติยภูมิมาใช้ควร
ระมัดระวังและตรวจสอบคุณภาพข้อมูลก่อนที่จะนำาไปวิเคราะห์




วิ ธ ี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล
        วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ ในทางปฏิบัติอาจทำาได้หลายวิธี คือ
1. วิธีการสัมภาษณ์จากผู้ให้คำาตอบโดยตรง (Personal interview
หรือ Face to face interview) เป็นวิธีการที่ส่งเจ้าหน้าที่หรือพนักงาน
ออกไปสัมภาษณ์ผู้ให้คำาตอบ และบันทึกคำาตอบลงในแบบข้อถาม วิธีนี้
นิยมใช้กันมากในการทำาสำามะโนและสำารวจ โดยเฉพาะอย่างยิงกับ      ่
สภาพการณ์ของประเทศไทย เป็นวิธีการที่จะทำาให้ได้ข้อมูลที่ละเอียด
พนักงานสัมภาษณ์สามารถชี้แจงหรืออธิบายให้ ผู้ตอบเข้าใจในคำาถาม
ได้ ทำาให้ได้รับคำาตอบตรงตามวัตถุประสงค์ แต่การที่จะให้ได้คำาตอบที่
ดี ก็ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ เช่น วิสัยสามารถของผู้ตอบที่จะเข้าใจ
คำาถาม ความตั้งใจของผู้ตอบและความสุจริตใจที่จะให้คำาตอบ ความ
สามารถของพนักงาน ทีจะสัมภาษณ์ได้อย่างละเอียดครบถ้วน และ
                           ่
บันทึกคำาตอบอย่างถูกต้อง และที่สำาคัญที่สุดคือ ความซื่อสัตย์สุจริต
ของพนักงานสัมภาษณ์ที่จะไม่กรอกข้อมูลเอง ซึ่งในทางปฏิบัติก่อนที่
จะส่งเจ้าหน้าที่หรือพนักงานออกไปปฏิบัติงาน จะต้องทำาการอบรม
ชี้แจงให้เข้าใจถึงขั้นตอนการสัมภาษณ์ ตลอดจนวัตถุประสงค์ของ
เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น
ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

โครงการ คำาจำากัดความหรือความหมายของคำาต่างๆ ที่ใช้ในแบบข้อ
ถาม การกรอกแบบข้อถาม ซึ่งรายละเอียดต่างๆ เหล่านี้ ได้กำาหนดไว้ใน
คู่มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูล
2. วิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ (Enumeration by telephone)
เป็นวิธีการที่อาจทำาได้อย่างรวดเร็ว และทุ่นค่าใช้จ่าย เพราะไม่ต้องเดิน
ทาง แต่มีขอบเขตจำากัด คือใช้ได้เฉพาะผู้ที่มีโทรศัพท์เท่านั้น คำาถามที่
ถามจะต้องสั้นและเข้าใจง่าย วิธีนี้จึงใช้ในการเก็บรวบรวมทีรายการข้อ
                                                              ่
ถามไม่มากนัก ประมาณ 1 – 2 รายการ จึงมักใช้รวมกับวิธีอื่น หรือใช้ใน
                                                   ่
การทวงถามใบแบบข้อถาม หรือสอบถามเพิ่มเติมเมื่อมีข้อสงสัย เกี่ยว
กับคำาตอบ หรือไม่ได้รับคำาตอบในบางรายการ หรืออาจใช้ในการตรวจ
สอบการทำางานของพนักงาน
3. วิธีการให้พนักงานไปทอดแบบไว้ให้ผู้ตอบกรอกข้อมูลเอง
(Self enumeration) วิธีนี้พนักงานจะนำาแบบข้อถามไปมอบไว้ให้กับผู้
ตอบ โดยอธิบายถึงวิธีการกรอกเท่าที่จำาเป็น ผู้ตอบจะต้องกรอกแบบ
ข้อถามเอง พนักงานจะกลับไปรับแบบข้อถามที่กรอกข้อมูลแล้วในวันที่
กำาหนด ในขณะเดียวกันพนักงานจะต้องทำาการตรวจสอบความถูกต้อง
และความครบถ้วนของข้อมูลที่กรอกแล้ว ถ้าผิดพลาดหรือ ไม่ครบถ้วน
จะต้องสัมภาษณ์เพิ่มเติม วิธีนี้เหมาะที่จะใช้กับผู้ที่ มีการศึกษาพอที่จะ
อ่าน เขียน เข้าใจคำาถามได้ สำาหรับประเทศไทยระดับการศึกษาและการ
ให้ความร่วมมือของประชากรยังแตกต่างกันมาก ฉะนั้นจึงเหมาะสมที่จะ
ใช้กับงานบางโครงการเท่านั้น แบบข้อถามที่จะใช้วิธีนี้จะต้องมีคำาถามที่
เข้าใจง่าย มีคำาอธิบายอย่างชัดเจน และการกรอกแบบข้อถามต้องไม่ยง          ุ่
ยาก
4. วิธีการส่งแบบข้อถามให้ผู้ตอบทางไปรษณีย์ (Mailed
questionnaire) เป็นวิธีที่ส่งแบบข้อถาม ให้ผู้ตอบทางไปรษณีย์ และให้
ผู้ตอบส่งแบบข้อถามที่กรอกข้อมูลแล้วกลับคืนมาทางไปรษณีย์เช่น
เดียวกัน วิธีนี้คล้ายกับการทอดแบบ แต่ต่างกันตรงที่ส่งแบบทาง
ไปรษณีย์ เป็นวิธีการที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด เพราะเสียเพียงค่า
แสตมป์แทนค่าใช้จ่ายของพนักงานสนาม โดยเฉพาะในกรณีที่ผู้ที่จะให้
คำาตอบอยู่กระจัดกระจายกันมาก ซึ่งไม่อยู่ในวิสัยที่จะส่งพนักงานสนาม
ไปทำาการสัมภาษณ์ได้ ในกรณีที่ผู้ตอบเห็นความสำาคัญของข้อมูล
ข้อมูลทีได้อาจมีคุณภาพดีกว่าข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เพราะผู้ตอบ
         ่
มีเวลาคิด ก่อนตอบ และไม่ต้องตอบภายใต้สภาวะการณ์เร่งรีบของ
พนักงานสัมภาษณ์ แต่วิธีนี้ก็มีข้อเสียที่มักจะมีอัตราการไม่ตอบ (non-
response rate) สูง วิธีนี้มีข้อจำากัดในการใช้คือ
เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น
ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

• แบบต้องไม่ยากและไม่ยาวเกินไป
• ใช้ในประเทศทีมีบริการไปรษณีย์ดี
                  ่
• ผู้ตอบต้องสามารถอ่านคำาถาม และข้อสั่งชี้แจงได้เข้าใจ
• ต้องใช้เวลาคอยจนกว่าจะได้รับแบบครบจำานวนที่ต้องการ และบางที
ต้องมีการทวงถามหลายครั้ง
• ถ้าคำาตอบไม่ชัดเจน ต้องเสียเวลาถามซำ้าโดยวิธีการอื่น
5. วิธีการสังเกตการณ์ (Observation) เป็นวิธีเก็บข้อมูลโดยการ
สังเกตโดยตรงจากปฏิกิริยา ท่าทาง หรือเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ ที่
เกิดขึ้นในขณะใดขณะหนึ่ง และจดบันทึกไว้โดยไม่มีการสัมภาษณ์ วิธีนี้
ใช้กันอย่างกว้างขวางในการวิจย เช่น จะศึกษาดูปฏิกิริยาของผู้ขับ
                               ั
รถยนต์บนท้องถนนภายใต้ สภาพการณ์จราจรต่าง ๆ กัน ก็อาจจะส่งเจ้า
หน้าที่ไปยืนสังเกตการณ์ได้ การสังเกตจำานวนลูกค้าและบันทึกปริมาณ
การขายของสถานประกอบการ โดยพนักงานเก็บภาษีของกรมสรรพากร
เพราะการไปสัมภาษณ์ผู้ประกอบการถึงปริมาณการขาย ย่อมไม่ได้
ข้อมูลทีแท้จริง
         ่
6. วิธีการบันทึกข้อมูลจากการวัดหรือนับ วิธีนี้จะมีอุปกรณ์เพื่อใช้ใน
การวัดหรือนับตามความจำาเป็นและความเหมาะสม เช่น การนับจำานวน
รถยนต์ที่แล่นผ่านที่จุดใดจุดหนึ่ง ก็อาจใช้เครื่องนับโดยให้รถ แล่นผ่าน
เครื่องดังกล่าว หรือ การเก็บข้อมูลด้วยการวัด เช่น การเก็บข้อมูลเกี่ยว
กับขนาดของ แปลงเพาะปลูก พืช ทำาได้โดยการวัดความยาวของแต่ละ
ด้าน เพื่อคำานวณหาพื้นที่ตามหลักเกณฑ์การหาพื้นที่ เป็นต้น


การรวบรวมข้อมูล        (   Data Compilation       )
หมายถึง การนำาเอาข้อมูลต่าง ๆ ที่ผู้อื่นได้ทำาการเก็บรวบรวมมาแล้ว
และได้รายงานหรือมาทำาการศึกษาวิเคราะห์ต่อ

4. การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งและเทคนิ ค การสุ ่ ม ตั ว อย่ า ง
การวิจัยทางสังคมศาสตร์จำาเป็นต้องอาศัยวิธีวิทยาศาสตร์ในการคัด
เลือกกลุ่มเป้าหมายที่จะทำาการศึกษาซึ่งสามารถทำาได้โดยการอาศัยการ
สุ่มตัวอย่าง (Sampling) การสุ่มตัวอย่างเป็นการคัดเลือกจากประชากร
ทั้งหมด โดยสุ่มตัวอย่างมาเพียงส่วนหนึ่ง เป็นตัวแทนของประชากร
ทั้งหมดเพื่อนำามาศึกษา

องค์ ค วามรู ้ ใ นการสุ ่ ม ตั ว อย่ า ง
เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น
ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

١. ข้ อ มู ล ประชากร (Population) หมายถึง กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการ
ศึกษาทั้งหมด ซึ่งอาจจะเป็น คน สัตว์ พืช วัตถุ หรือปรากฎการณ์ต่างๆ
เช่น ในการศึกษาความรู้ในการประกอบอาชีพด้านหม่อนไหมของ
เกษตรกรผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหมในเขต ภาคอีสานตอนบน ประชากรในที่
นี้คือ เกษตรกร ที่มีภูมิลำาเนาอยู่ในเขตจังหวัดต่างๆ ของภาคอีสานตอน
บนในการวิจัยเชิงสังคมศาสตร์ ประชากรแบ่งออกได้ ٢ ประเภทดังนี้
        ١.١ ประชากรที ่ ม ี จ ำ า นวนจำ า กั ด (Finite population)
หมายถึงประชากรที่มีปริมาณซึ่งสามารถนับออกมาเป็นตัวเลขได้ครบ
ถ้วนเช่น ประชากรนิสิต หรือนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยทุกแห่ง
ประชากรของเกษตรกรในภาคกลาง ฯลฯ
        ١.٢ ประชากรที ่ ม ี จ ำ า นวนไม่ จ ำ า กั ด (Infinite population)
หมายถึงประชากรที่มีปริมาณซึ่งไม่สามารถนับจำานวนออกมาเป็นตัวเลข
ได้ครบถ้วน เช่น ประชากรเมล็ดถั่วเหลืองที่จำาหน่ายในจังหวัดขอนแก่น
ฯลฯ
٢. ขนาดตั ว อย่ า ง (Sample size) ขนาดตัวอย่างต้องมากพอที่จะเป็น
ตัวแทนได้ วิธีการประมาณขนาดตัวอย่าง
โดยใช้สูตรของ TARO YAMANE ดังนี้
                  n= N
                                        1+Nd2

     เมื่อ       n = ขนาดของหน่วยตัวอย่างกลุ่มเป้าหมาย
                 N = ประชากรทั้งหมด
                 D = ระดับความมีนัยสำาคัญ
     ตัวอย่างเช่น   N = ١,٠٠٠ คน
                D = 0.05
     แทนค่า                n = 1,000
                     1+1,000(0.05)2
      n = 285.7
      n = 286
3. ประเภทและวิ ธ ี ก ารสุ ่ ม ตั ว อย่ า ง
ทฤษฎีการสุ่มตัวอย่าง ได้แบ่งประเภทการสุ่มตัวอย่างออกเป็น ٢ ประเภท
ใหญ่ๆ คือ
 1. การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งในเชิ ง เป็ น ไปได้ (Probability sampling)
    การสุ่มตัวอย่างแบบนี้เราสามารถกำาหนดได้ว่าทุกภาคส่วนของ
เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น
ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

   ประชากรมีโอกาสได้รับเลือกเป็นตัวอย่างเท่ากัน การสุ่มแบบนี้มี
   หลายวิธีดังนี้
  1.1 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบง่ า ย (Simple random sampling)
      หมายถึง การสุ่มตัวอย่างที่ประชากรทุกภาคส่วนมีโอกาสเท่าเทียม
      กันที่จะได้รับการคัดเลือกเป็นตัวอย่างโดยวิธีการใช้
      (1)ตารางเลขสุ่ม นำาจำานวนขนาดตัวอย่างไปสุ่มในตาราง
          สำาเร็จรูปที่นักสถิติจัดทำาไว้แล้ว เพียงแต่นักวิจัยกำาหนดหลักที่
          จะใช้ว่ามีกี่หลัก และจะนับไปซ้ายขวา ขึนบน ลงล่างอย่างไร
                                                     ้
          ต้องกำาหนดไว้และปฏิบัติอย่างนั้นตลอด สุ่มโดยการชี้ตัวเลขเริ่ม
          ต้น เมื่อชี้ตรงไหนก็บอกว่าเป็นเลขประจำาตัวของประชากรหรือ
          ไม่ถ้าไม่ใช่ให้ข้ามไป ทำาการคัดเลือกไปเรื่อยๆ จนได้ตาม
          จำานวนที่ต้องการ
      (2) โดยวิธีการจับฉลากโดยการเขียนหมายเลขกำากับประชากร
          ตัวอย่าง แต่ละรายการก่อนแล้วจึงจับฉลากขึ้นมา ซึ่งวิธีการจับ
          ฉลากอาจใช้ ٢ แบบคือ
             1. ไม่สุ่มประชากรที่ถูกสุ่มแล้วขึ้นมาอีก (Simple Random
                 Sampling with out Replacement) คือหยิบแล้วเอาออก
                 ได้เลยไม่ต้องใส่กลับลงไปอีก
             2. สุ่มประชากรที่ถูกสุ่มแล้วขึ้นมาได้อีก (Sample Random
                 Sampling with Replacement) คือ หยิบขึ้นมาแล้วก็ใส่
                 ลงไปใหม่เพื่อให้โอกาสแก่ประชากรทุกหน่วย มีโอกาส
                 ถูกเลือกขึ้นมาเท่าเดิม
  1.2 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบมี ร ะบบ (Systematic Sampling)
      การสุ่มแบบนี้นักวิจัยจะต้องอาศัยบัญชีรายชื่อ เกี่ยวกับประชากร
      กลุ่มเป้าหมาย โดยเลือกตามเลขที่ที่กำาหนดไว้ เช่น ประชากร
      จำานวน ١,٠٠٠ นักวิจัยต้องการตัวอย่างจำานวน ١٠٠ นักวิจัยจะต้อง
      คัดเลือกทุกหน่วยที่ ١٠ เป็นต้น
  1.3 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบแบ่ ง ชั ้ น (Stratified Random
      Sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบนี้ต้องแยกประเภทของประชากร
      เป็นกลุ่มย่อยหรือชั้นก่อน แล้วจึงสุ่มตัวอย่างแยกกันคนและกลุ่ม
      โดยวิธี Simple Random Sampling หรือ Systematic Sampling
      ก็ได้ กลุ่มย่อยที่มีลักษณะเป็น Homegeneous คือมีลักษณะเหมือน
      กันภายในกลุ่มเช่น การแยกประเภทของประชากรตาม
      สถานการณ์เป็นสมาชิกของกลุ่มเกษตรกร
  1.4 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบกลุ ่ ม (Cluster Sampling) คือการสุ่ม
      ตัวอย่างประชากรโดยแบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มๆ ให้แต่ละกลุ่มมี
เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น
ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

        ความเป็น Heterogeneous กัน คือมีความแตกต่างกันภายในกลุ่ม
        เช่น การสุ่มตัวอย่างโดยการแบ่งตามเขตการปกครอง
    1.5 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งในทุ ก ขั ้ น ตอน (Multi Stage Sampling)
        เช่น ต้องการจะทำาการวิจัยโดยการสุ่มตัวอย่างประชากร โดย
        ทำาการสุ่มจังหวัดที่เป็นตัวอย่างก่อน ต่อไปก็สุ่มอำาเภอ ตำาบล
        หมู่บ้าน และครัวเรือนที่เป็นตัวอย่างตามลำาดับ
 2. การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งในเชิ ง เป็ น ไปไม่ ไ ด้ (Non-probability
     sampling) คือ การสุ่มตัวอย่างโดยไม่อาจกำาหนดได้ว่าทุกส่วนของ
     ประชากรมีโอกาสได้รับการคัดเลือกโดยเท่ากัน ซึ่งทำาให้ไม่สามารถ
     จะคาดคะเนหรือคำานวณหาความผิดพลาดในการสุ่มเลือกตัวอย่างได้
     การสุ่มแบบนี้มีหลายวิธีคือ
    2.1 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบบั ง เอิ ญ (Accidental Sampling) เช่น
        พบใครก็สัมภาษณ์ตามความพอใจของผู้วิจัย เช่น สุ่มนักท่องเที่ยว
        ที่จะเข้าประเทศไทยที่สนามบินดอนเมือง
    2.2 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งโดยวิ ธ ี ก ารจั ด สรรโควตา (Quota
        Sampling) การสุ่มตัวอย่างเหล่านี้ต้องแบ่งกลุ่มของประชากรแล้ว
        จัดสรรโควตาตัวอย่างไปให้แต่ละกลุ่มตามสัดส่วนของปริมาณ
        ประชากรในกลุ่มนั้นๆ ที่มอยู่จากนั้นก็ทำาการสุ่มจากแต่ละกลุ่มตาม
                                     ี
        โควตาที่จัดสรร ทั้งนี้เพื่อให้ได้ตัวแทนจากกลุ่มต่างๆ อย่างเหมาะ
        สม เช่น ชาย ٨٠ คน หญิง ٨٠ คน
    2.3 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดย
        จะเลือกศึกษาจากประชากรที่มีลักษณะตรงตามวัตถุประสงค์ที่จะ
        ศึกษาเช่น เกษตรกรที่ปลูกหม่อน บร.٦٠ เป็นต้น
    2.4 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งพิ จ ารณาตามความสะดวก
        (Convenience Sampling) โดยจะเลือกศึกษากลุ่มประชากรที่
        เห็นว่าง่ายต่อการศึกษา เช่น ไม่อยู่ในแดนของผู้ก่อการร้าย หรือ
        เลือกเฉพาะผู้เป็นสมาชิกของกลุ่มทางการเกษตร กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
ปัจจัยที่ทำาให้สำาเร็จในการสุ่มตัวอย่าง (Key success factor)
        ١. ฐานข้อมูล/ประชากรต้องเป็นปัจจุบัน (update population)
        ٢. วิธีการสุ่ม ต้องมีความน่าเชื่อถือ (มีแหล่งที่มาอ้างอิงได้)
        ٣. ขนาดตัวอย่างต้องมีการกระจายตัวและครอบคลุมประชากรเพื่อ
ให้มีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกาไชยยา มะณี
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติNumber Utopie
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1wilailukseree
 
สถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลสถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลpeesartwit
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432CUPress
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nattanan Rassameepak
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลpeesartwit
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปีanutree pankulab
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นParn Parai
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศKaii Eiei
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5Tonkaow Jb
 

Was ist angesagt? (20)

มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
 
statistics
statisticsstatistics
statistics
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
วิจัย1
วิจัย1วิจัย1
วิจัย1
 
sta
stasta
sta
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติ
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
 
Info 001
Info 001Info 001
Info 001
 
สถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลสถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูล
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง175 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูล
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปี
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5
 

Andere mochten auch

Introduction to Statistics: Descriptive Statistics
Introduction to Statistics: Descriptive StatisticsIntroduction to Statistics: Descriptive Statistics
Introduction to Statistics: Descriptive StatisticsThana Chirapiwat
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)noinasang
 
สถิติและข้อมูลเตรียมอบรม (1)
สถิติและข้อมูลเตรียมอบรม (1)สถิติและข้อมูลเตรียมอบรม (1)
สถิติและข้อมูลเตรียมอบรม (1)Esperando El Viento
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบวิธีทางสถิติ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบวิธีทางสถิติความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบวิธีทางสถิติ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบวิธีทางสถิติAkkradet Keawyoo
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตRungdawan Rungrattanachai
 

Andere mochten auch (7)

Introduction to Statistics: Descriptive Statistics
Introduction to Statistics: Descriptive StatisticsIntroduction to Statistics: Descriptive Statistics
Introduction to Statistics: Descriptive Statistics
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
สถิติและข้อมูลเตรียมอบรม (1)
สถิติและข้อมูลเตรียมอบรม (1)สถิติและข้อมูลเตรียมอบรม (1)
สถิติและข้อมูลเตรียมอบรม (1)
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบวิธีทางสถิติ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบวิธีทางสถิติความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบวิธีทางสถิติ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบวิธีทางสถิติ
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 

Ähnlich wie เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1

เทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูเทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูnarongsak promwang
 
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศWnida Krs
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นRattana Tosasom
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnutty_npk
 
ข้อมูลและสารสนเทศ123
ข้อมูลและสารสนเทศ123ข้อมูลและสารสนเทศ123
ข้อมูลและสารสนเทศ123jongjang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศonthicha1993
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 

Ähnlich wie เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1 (20)

เทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูเทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครู
 
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ123
ข้อมูลและสารสนเทศ123ข้อมูลและสารสนเทศ123
ข้อมูลและสารสนเทศ123
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Data analysis
Data analysisData analysis
Data analysis
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
Unit03
Unit03Unit03
Unit03
 
Unit033
Unit033Unit033
Unit033
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1

  • 1. เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม บทที ่ 1 บทนำ า และการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล - ความหมายของสถิติ - ข้อมูลและการจำาแนก - แหล่งข้อมูลและวิธีการเก็บข้อมูล - การสุ่มตัวอย่างและเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง แบบทดสอบบทที่ 1 1. ความหมายของสถิ ต ิ สถิ ต ิ (STATISTICS) ขอบข่ายของความหมายของคำาว่า “สถิต” มีหลายประเด็นและได้ ิ ขยายกว้างขวางออกไปอย่างรวดเร็วจนถึงศตวรรษที่ 20 จากสถิติที่มี ความหมายถึงข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารของรัฐแล้ว สถิติได้พัฒนาเป็น ข้อมูลแสดงสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ข้อมูลที่เป็นตัวชี้วัดให้เห็นถึง การเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สนใจ แนวทางในการดำาเนินธุรกิจ เช่น ข้อมูล เกี่ยวกับการอากาศยาน ซึ่งจะมีข้อมูลที่จำาเป็นมากมาย ได้แก่ เกี่ยวกับ ภูมิอากาศ เกี่ยวกับสภาพภูมิประเทศ เกี่ยวกับสภาพของผู้โดยสาร หรือ ข้อมูลทางการแพทย์ เหล่านี้เป็นต้น จนกระทั่งถึงปัจจุบัน วิวัฒนาการ ทางสถิติศาสตร์ก็มีการพัฒนามากยิ่งขึ้นและเกี่ยวข้องกับเรื่องต่าง ๆ เกือบทั้งหมด สถิติศาสตร์จึงมีความสำาคัญมากขึ้นพร้อม ๆ กับการ เปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบันที่มีความสลับซับซ้อน เพราะยิ่งสังคมมี ความสลับซับซ้อนมากขึ้นเพียงไร ก็ยิ่งมีความจำาเป็นต้องทำาการเก็บ ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมมากขึ้นนั่นเอง เพื่อทำาความเข้าใจในสังคมนั้นอย่าง ลึกซึ้ง ด้วยเหตุผลดังกล่าวทำาให้เราต้องทราบข้อเท็จจริง และความเป็น ไปของสังคม จึงจำาเป็นต้องใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่งช่วยในการ ตัดสินใจ เครื่องมือนี้ก็คือ สถิติ ตัวอย่างเช่น เทคนิคว่าด้วยการสุ่ม ตัวอย่าง และการประมาณข้อมูลจากตัวอย่างได้ถูกนำามาใช้อย่างกวาง ขวางในการเก็บรวบรวมข้อมูลระดับชาติและการรวบรวมข้อมูลเพื่อการ วิเคราะห์วิจัยในส่วนที่สนใจ สถิติจัดได้ว่าเป็นทั้งวิทยาศาสตร์ และศิลปะ เช่นเดียวกับ คณิตศาสตร์ โดยจะประกอบด้วย กระบวนการที่จะทำาให้ได้ข่าวสารต่าง ๆ ในเรื่องที่ต้องการจะศึกษา การจัดเป็นหมวดหมู่และการนำาเสนอ ซึ่งมี ส่วนของศิลปะมาผสมผสานด้วย และในส่วนที่เป็นกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ จะประกอบด้วยขั้นตอนที่จะทำาให้ได้ค่าสังเกตต่าง ๆ ที่เรา ต้องการศึกษาอย่างเหมาะสม มีเหตุมีผลสามารถตรวจสอบได้ ดังนั้นจึงมี รูปแบบในการวัด หรือการสังเกตมากมาย
  • 2. เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ความหมายของสถิติ คำาว่า “สถิต” มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “statistics” ซึ่งมี ิ รากศัพท์มาจากคำาว่า “state” ดังนั้นตามความหมายดั้งเดิม สถิติ จึง หมายถึง ข้อมูลหรือข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อรัฐในด้านต่างๆ เช่น ข้อมูลในการวางแผนกำาลังคน การเก็บภาษีอากร การประกันสังคม การ จัดการศึกษา และการสาธารณสุข เป็นต้น ต่อมาคำาว่า สถิติ มีความ หมายกว้างขวางขึ้น ซึ่งในปัจจุบัน สถิติมีความหมายต่างๆ ดังนี้ 1. สถิติ ในความหมายของ “ข้อมูลสถิต” หมายถึง ตัวเลขที่ ิ ใช้แทนข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ เช่น สถิติการเข้าชั้นเรียน ปริมาณการ ขายสินค้า สถิติจำานวนบุคลากรของหน่วยงานต่างๆ เป็นต้น 2. สถิติ ในความหมายของ “ระเบียบวิธีการทางสถิต” ิ หมายถึง ระเบียบวิธีการทางสถิติ ซึ่งประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล การนำาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการแปลความหมายข้อมูล ดังนั้นสถิติตามความหมายนี้จึงเป็นเครื่องมือสำาคัญของนักวิจัย นัก วิชาการ และนักบริหาร 3. สถิติ ในความหมายของ “ค่าสถิต” หมายถึง ค่าตัวเลขที่ ิ คำานวณได้จาก ข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง (Sample data) เช่น ค่าเฉลี่ย เลขคณิต ( X ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เป็นต้น 4. สถิติ ในความหมายของ “วิชาสถิต” หมายถึงวิชา ิ วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งซึ่งมีเนื้อหาและรากฐานมาจากวิชาคณิตศาสตร์ (Mathematics) และตรรกวิทยา (logic) โดยสถิติเป็นศาสตร์ของการ ตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่ยังไม่แน่นอน สถิติ หมายถึง ข้อมูลตัวเลขที่ใช้แทนข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ หรืออาจหมายถึงวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แปลความหมายของข้อมูล การเปรียบเทียบ การจัดลำาดับและนำาเสนอข้อมูล ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ส ถิ ติ นักคณิตศาสตร์ได้แบ่งสถิติในฐานะที่เป็นศาสตร์ออกเป็นสาขา ใหญ่ ๆ 2 สาขาด้วยกัน คือ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) และการอนุมานเชิงสถิติ หรือ สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ซึ่งแต่ละสาขามีรายละเอียดดังนี้
  • 3. เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม 1.สถิ ต ิ พ รรณนา (Descriptive Statistics) หมายถึง การ บรรยายลักษณะของข้อมูล (Data) ที่ผู้วิจัยเก็บรวบรวมจากประชากร หรือกลุ่มตัวอย่างที่สนใจ ซึ่งอาจจะแสดงในรูป ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน เป็นต้น 2.สถิ ต ิ เ ชิ ง อนุ ม าน (Inferential Statistics) หมายถึง สถิติที่ว่า ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่าง เพื่ออธิบายสรุป ลักษณะบางประการของประชากร โดยมีการนำาทฤษฎีความน่าจะเป็นมา ประยุกต์ใช้ สถิติสาขานี้ ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ การทดสอบ สมมุติฐานทางสถิติ การวิเคราะห์การถดถอยและสหสัมพันธ์ เป็นต้น 2. ข้ อ มู ล และการจำ า แนก ข้ อ มู ล ข้อมูล(Data) หมายถึง ข้อมูลหรือตัวเลขที่แสดงคุณสมบัติที่ผู้วิจัย ต้องการศึกษา เช่น อายุ รายได้ ยอดขาย เป็นต้น ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ข้ อ มู ล ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมา ไม่ว่าจะใช้ในงานวิจัย หรือวัตถุประสงค์อื่น ใดก็ตาม ย่อมมีลักษณะแตกต่างกันไป โดยการจำาแนกข้อมูล อาจ จำาแนกตามเกณฑ์ใหญ่ ๆ ได้ 3 ประการ คือ จำาแนกตามแหล่งข้อมูล จำาแนกตามลักษณะของข้อมูล และจำาแนกตามมาตรการวัด เป็นต้น จำ า แนกตามแหล่ ง ข้ อ มู ล 1. ข้ อ มู ล ปฐมภู ม ิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ผู้วิจัยเป็นผู้ เก็บรวบรวมข้อมูลที่สนใจเอง โดยที่อาจจะใช้วิธีเก็บแบบสอบถาม แบบ สัมภาษณ์ การทดลอง เป็นต้น 2. ข้ อ มู ล ทุ ต ิ ย ภู ม ิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ผู้วิจัย ไม่ได้เป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลที่สนใจเอง โดยนำาข้อมูลที่ผู้อื่น ๆ เก็บมา ใช้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับการจ้างงานที่กระทรวงแรงงานรวบรวมไว้ เป็นต้น จำ า แนกตามลั ก ษณะของข้ อ มู ล 1.ข้ อ มู ล เชิ ง ปริ ม าณ (Quantitative Data) หมายถึง ข้อมูลที่ สามารถแสดงในรูปตัวเลขได้ เช่น นำ้าหนัก อายุ คะแนน จำานวนสินค้า งบประมาณ จำานวนพนักงานในบริษัท เป็นต้น ข้อมูลเชิงปริมาณยังแบ่ง ได้ ๒ ประเภท คือ
  • 4. เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม 1.1 ข้ อ มู ล แบบต่ อ เนื ่ อ ง (Continuous Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีค่าต่าง ๆ ทุกค่าต่อเนื่องกัน โดยแสดงได้ทั้งเศษส่วนหรือตัวเลข ที่เป็นจำานวนเต็ม เช่น ส่วนสูง นำ้าหนัก ความยาวของโต๊ะ 1.2 ข้ อ มู ล แบบไม่ ต ่ อ เนื ่ อ ง (Discrete Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีค่าเป็นจำานวน เต็มหรือจำานวนนับ เช่น ค่าใช้จ่าย จำานวนสินค้า งบประมาณ จำานวน พนักงานในบริษัท 2.ข้ อ มู ล เชิ ง คุ ณ ภาพ (Qualitative Data) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่ สามารถแสดงในรูปตัวเลขได้ หรือ อาจจะแสดงในรูปตัวเลขได้แต่ไม่ สามารถคำานวณในเชิงปริมาณได้ เนื่องจากตัวเลขเหล่านั้นไม่สามารถ อธิบายได้ เช่น เพศ สถานภาพ วุฒิการศึกษา เป็นต้น จำ า แนกตามมาตรการวั ด 1. นามบั ญ ญั ต ิ (Nominal Scales) คือระดับของข้อมูลที่เป็นการ กำาหนดชื่อหรือแบ่งแยกประเภทของสิ่งต่าง ๆ เช่น เบอร์โทรศัพท์ ห้องเรียน อาคารเรียน บ้านเลขที่ เป็นต้น 2. เรี ย งลำ า ดั บ (Ordinal Scales) คือระดับของข้อมูลที่สามารถ จัดลำาดับความสำาคัญของข้อมูลตามความแตกต่างได้ เช่น ชอบมาก ชอบปานกลาง ชอบน้อย ไม่ชอบ เป็นต้น 3. อั น ตรภาค (Interval Scales) คือระดับของข้อมูลที่สามารถ บอกถึงปริมาณของความแตกต่างของข้อมูลได้ แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ คะแนนสอบวัดความรู้ ความสูง เป็นต้น 4. อั ต ราส่ ว น (Ratio Scales) คือระดับของข้อมูลที่เป็นการบอก ถึงปริมาณความแตกต่างของข้อมูลที่มีรายละเอียดมากที่สุดและมีศูนย์ แท้ เช่น ระยะทาง นำ้าหนัก ความเร็ว เป็นต้น ลักษณะของข้อมูลที่เก็บแบ่งเป็น 2 ลักษณะ 1. ข้ อ มู ล ที ่ ไ ม่ ไ ด้ แ บ่ ง กลุ ่ ม (ungrouped Data) เป็นข้อมูลที่ เก็บจากลักษณะของแต่ละหน่วยประชากร หรือ หน่วยตัวอย่าง เช่น ข้อมูลอายุของคนกลุ่มหนึ่ง 15 , 18 , 20 , 25 , 23 , 14 , 22 ปี เป็นต้น 2. ข้ อ มู ล ที ่ แ บ่ ง กลุ ่ ม (grouped Data) เป็นข้อมูลที่จัดแบ่ง เป็นกลุ่ม ๆ เป็นอันตรภาคชั้น เช่น อายุของคนกลุ่มหนึ่ง คือ 15-20,21-26,27-32 ปี เป็นต้น 3. แหล่ ง ข้ อ มู ล และวิ ธ ี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล แหล่ ง ที ่ ม าของข้ อ มู ล (Source of Data)
  • 5. เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ข้อมูลสถิติอาจจำาแนกตามแหล่งที่มาได้ 2 ทาง คือ • ข้ อ มู ล ปฐมภู ม ิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้หรือหน่วยงานที่ ใช้เป็นผู้ทำาการเก็บข้อมูลด้วยตนเอง ซึ่งวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลอาจ ใช้วิธีการสัมภาษณ์ การทดลอง หรือการสังเกตการณ์ ข้อมูลปฐมภูมิเป็น ข้อมูลที่มีรายละเอียดตรงตามที่ผู้ใช้ต้องการ แต่มักจะเสียเวลาในการ จัดหาและมีค่าใช้จ่ายสูง • ข้ อ มู ล ทุ ต ิ ย ภู ม ิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ได้เก็บ รวบรวมเอง แต่มีผู้อื่นหรือ หน่วยงานอื่นๆ ทำาการเก็บรวบรวมไว้แล้ว เช่น จากรายงาน ที่พิมพ์แล้ว หรือยังไม่ได้พิมพ์ของ หน่วยงานของ รัฐบาล สมาคม บริษัท สำานักงานวิจัย นักวิจัย วารสาร หนังสือพิมพ์ เป็นต้น การนำาเอาข้อมูลเหล่านี้มาใช้เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้ จ่าย แต่ในบางครั้งข้อมูลอาจจะไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ หรือมี รายละเอียดไม่เพียงพอที่จะนำาไปวิเคราะห์ นอกจากนี้ในบางครั้ง ข้อมูล นั้นอาจมีความผิดพลาดและผู้ใช้มักจะไม่ทราบข้อผิดพลาดดังกล่าว ซึ่ง อาจมีผลกระทบต่อการสรุปผล ดังนั้น ผู้ที่จะนำาข้อมูลทุติยภูมิมาใช้ควร ระมัดระวังและตรวจสอบคุณภาพข้อมูลก่อนที่จะนำาไปวิเคราะห์ วิ ธ ี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ ในทางปฏิบัติอาจทำาได้หลายวิธี คือ 1. วิธีการสัมภาษณ์จากผู้ให้คำาตอบโดยตรง (Personal interview หรือ Face to face interview) เป็นวิธีการที่ส่งเจ้าหน้าที่หรือพนักงาน ออกไปสัมภาษณ์ผู้ให้คำาตอบ และบันทึกคำาตอบลงในแบบข้อถาม วิธีนี้ นิยมใช้กันมากในการทำาสำามะโนและสำารวจ โดยเฉพาะอย่างยิงกับ ่ สภาพการณ์ของประเทศไทย เป็นวิธีการที่จะทำาให้ได้ข้อมูลที่ละเอียด พนักงานสัมภาษณ์สามารถชี้แจงหรืออธิบายให้ ผู้ตอบเข้าใจในคำาถาม ได้ ทำาให้ได้รับคำาตอบตรงตามวัตถุประสงค์ แต่การที่จะให้ได้คำาตอบที่ ดี ก็ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ เช่น วิสัยสามารถของผู้ตอบที่จะเข้าใจ คำาถาม ความตั้งใจของผู้ตอบและความสุจริตใจที่จะให้คำาตอบ ความ สามารถของพนักงาน ทีจะสัมภาษณ์ได้อย่างละเอียดครบถ้วน และ ่ บันทึกคำาตอบอย่างถูกต้อง และที่สำาคัญที่สุดคือ ความซื่อสัตย์สุจริต ของพนักงานสัมภาษณ์ที่จะไม่กรอกข้อมูลเอง ซึ่งในทางปฏิบัติก่อนที่ จะส่งเจ้าหน้าที่หรือพนักงานออกไปปฏิบัติงาน จะต้องทำาการอบรม ชี้แจงให้เข้าใจถึงขั้นตอนการสัมภาษณ์ ตลอดจนวัตถุประสงค์ของ
  • 6. เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม โครงการ คำาจำากัดความหรือความหมายของคำาต่างๆ ที่ใช้ในแบบข้อ ถาม การกรอกแบบข้อถาม ซึ่งรายละเอียดต่างๆ เหล่านี้ ได้กำาหนดไว้ใน คู่มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูล 2. วิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ (Enumeration by telephone) เป็นวิธีการที่อาจทำาได้อย่างรวดเร็ว และทุ่นค่าใช้จ่าย เพราะไม่ต้องเดิน ทาง แต่มีขอบเขตจำากัด คือใช้ได้เฉพาะผู้ที่มีโทรศัพท์เท่านั้น คำาถามที่ ถามจะต้องสั้นและเข้าใจง่าย วิธีนี้จึงใช้ในการเก็บรวบรวมทีรายการข้อ ่ ถามไม่มากนัก ประมาณ 1 – 2 รายการ จึงมักใช้รวมกับวิธีอื่น หรือใช้ใน ่ การทวงถามใบแบบข้อถาม หรือสอบถามเพิ่มเติมเมื่อมีข้อสงสัย เกี่ยว กับคำาตอบ หรือไม่ได้รับคำาตอบในบางรายการ หรืออาจใช้ในการตรวจ สอบการทำางานของพนักงาน 3. วิธีการให้พนักงานไปทอดแบบไว้ให้ผู้ตอบกรอกข้อมูลเอง (Self enumeration) วิธีนี้พนักงานจะนำาแบบข้อถามไปมอบไว้ให้กับผู้ ตอบ โดยอธิบายถึงวิธีการกรอกเท่าที่จำาเป็น ผู้ตอบจะต้องกรอกแบบ ข้อถามเอง พนักงานจะกลับไปรับแบบข้อถามที่กรอกข้อมูลแล้วในวันที่ กำาหนด ในขณะเดียวกันพนักงานจะต้องทำาการตรวจสอบความถูกต้อง และความครบถ้วนของข้อมูลที่กรอกแล้ว ถ้าผิดพลาดหรือ ไม่ครบถ้วน จะต้องสัมภาษณ์เพิ่มเติม วิธีนี้เหมาะที่จะใช้กับผู้ที่ มีการศึกษาพอที่จะ อ่าน เขียน เข้าใจคำาถามได้ สำาหรับประเทศไทยระดับการศึกษาและการ ให้ความร่วมมือของประชากรยังแตกต่างกันมาก ฉะนั้นจึงเหมาะสมที่จะ ใช้กับงานบางโครงการเท่านั้น แบบข้อถามที่จะใช้วิธีนี้จะต้องมีคำาถามที่ เข้าใจง่าย มีคำาอธิบายอย่างชัดเจน และการกรอกแบบข้อถามต้องไม่ยง ุ่ ยาก 4. วิธีการส่งแบบข้อถามให้ผู้ตอบทางไปรษณีย์ (Mailed questionnaire) เป็นวิธีที่ส่งแบบข้อถาม ให้ผู้ตอบทางไปรษณีย์ และให้ ผู้ตอบส่งแบบข้อถามที่กรอกข้อมูลแล้วกลับคืนมาทางไปรษณีย์เช่น เดียวกัน วิธีนี้คล้ายกับการทอดแบบ แต่ต่างกันตรงที่ส่งแบบทาง ไปรษณีย์ เป็นวิธีการที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด เพราะเสียเพียงค่า แสตมป์แทนค่าใช้จ่ายของพนักงานสนาม โดยเฉพาะในกรณีที่ผู้ที่จะให้ คำาตอบอยู่กระจัดกระจายกันมาก ซึ่งไม่อยู่ในวิสัยที่จะส่งพนักงานสนาม ไปทำาการสัมภาษณ์ได้ ในกรณีที่ผู้ตอบเห็นความสำาคัญของข้อมูล ข้อมูลทีได้อาจมีคุณภาพดีกว่าข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เพราะผู้ตอบ ่ มีเวลาคิด ก่อนตอบ และไม่ต้องตอบภายใต้สภาวะการณ์เร่งรีบของ พนักงานสัมภาษณ์ แต่วิธีนี้ก็มีข้อเสียที่มักจะมีอัตราการไม่ตอบ (non- response rate) สูง วิธีนี้มีข้อจำากัดในการใช้คือ
  • 7. เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม • แบบต้องไม่ยากและไม่ยาวเกินไป • ใช้ในประเทศทีมีบริการไปรษณีย์ดี ่ • ผู้ตอบต้องสามารถอ่านคำาถาม และข้อสั่งชี้แจงได้เข้าใจ • ต้องใช้เวลาคอยจนกว่าจะได้รับแบบครบจำานวนที่ต้องการ และบางที ต้องมีการทวงถามหลายครั้ง • ถ้าคำาตอบไม่ชัดเจน ต้องเสียเวลาถามซำ้าโดยวิธีการอื่น 5. วิธีการสังเกตการณ์ (Observation) เป็นวิธีเก็บข้อมูลโดยการ สังเกตโดยตรงจากปฏิกิริยา ท่าทาง หรือเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ ที่ เกิดขึ้นในขณะใดขณะหนึ่ง และจดบันทึกไว้โดยไม่มีการสัมภาษณ์ วิธีนี้ ใช้กันอย่างกว้างขวางในการวิจย เช่น จะศึกษาดูปฏิกิริยาของผู้ขับ ั รถยนต์บนท้องถนนภายใต้ สภาพการณ์จราจรต่าง ๆ กัน ก็อาจจะส่งเจ้า หน้าที่ไปยืนสังเกตการณ์ได้ การสังเกตจำานวนลูกค้าและบันทึกปริมาณ การขายของสถานประกอบการ โดยพนักงานเก็บภาษีของกรมสรรพากร เพราะการไปสัมภาษณ์ผู้ประกอบการถึงปริมาณการขาย ย่อมไม่ได้ ข้อมูลทีแท้จริง ่ 6. วิธีการบันทึกข้อมูลจากการวัดหรือนับ วิธีนี้จะมีอุปกรณ์เพื่อใช้ใน การวัดหรือนับตามความจำาเป็นและความเหมาะสม เช่น การนับจำานวน รถยนต์ที่แล่นผ่านที่จุดใดจุดหนึ่ง ก็อาจใช้เครื่องนับโดยให้รถ แล่นผ่าน เครื่องดังกล่าว หรือ การเก็บข้อมูลด้วยการวัด เช่น การเก็บข้อมูลเกี่ยว กับขนาดของ แปลงเพาะปลูก พืช ทำาได้โดยการวัดความยาวของแต่ละ ด้าน เพื่อคำานวณหาพื้นที่ตามหลักเกณฑ์การหาพื้นที่ เป็นต้น การรวบรวมข้อมูล ( Data Compilation ) หมายถึง การนำาเอาข้อมูลต่าง ๆ ที่ผู้อื่นได้ทำาการเก็บรวบรวมมาแล้ว และได้รายงานหรือมาทำาการศึกษาวิเคราะห์ต่อ 4. การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งและเทคนิ ค การสุ ่ ม ตั ว อย่ า ง การวิจัยทางสังคมศาสตร์จำาเป็นต้องอาศัยวิธีวิทยาศาสตร์ในการคัด เลือกกลุ่มเป้าหมายที่จะทำาการศึกษาซึ่งสามารถทำาได้โดยการอาศัยการ สุ่มตัวอย่าง (Sampling) การสุ่มตัวอย่างเป็นการคัดเลือกจากประชากร ทั้งหมด โดยสุ่มตัวอย่างมาเพียงส่วนหนึ่ง เป็นตัวแทนของประชากร ทั้งหมดเพื่อนำามาศึกษา องค์ ค วามรู ้ ใ นการสุ ่ ม ตั ว อย่ า ง
  • 8. เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ١. ข้ อ มู ล ประชากร (Population) หมายถึง กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการ ศึกษาทั้งหมด ซึ่งอาจจะเป็น คน สัตว์ พืช วัตถุ หรือปรากฎการณ์ต่างๆ เช่น ในการศึกษาความรู้ในการประกอบอาชีพด้านหม่อนไหมของ เกษตรกรผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหมในเขต ภาคอีสานตอนบน ประชากรในที่ นี้คือ เกษตรกร ที่มีภูมิลำาเนาอยู่ในเขตจังหวัดต่างๆ ของภาคอีสานตอน บนในการวิจัยเชิงสังคมศาสตร์ ประชากรแบ่งออกได้ ٢ ประเภทดังนี้ ١.١ ประชากรที ่ ม ี จ ำ า นวนจำ า กั ด (Finite population) หมายถึงประชากรที่มีปริมาณซึ่งสามารถนับออกมาเป็นตัวเลขได้ครบ ถ้วนเช่น ประชากรนิสิต หรือนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยทุกแห่ง ประชากรของเกษตรกรในภาคกลาง ฯลฯ ١.٢ ประชากรที ่ ม ี จ ำ า นวนไม่ จ ำ า กั ด (Infinite population) หมายถึงประชากรที่มีปริมาณซึ่งไม่สามารถนับจำานวนออกมาเป็นตัวเลข ได้ครบถ้วน เช่น ประชากรเมล็ดถั่วเหลืองที่จำาหน่ายในจังหวัดขอนแก่น ฯลฯ ٢. ขนาดตั ว อย่ า ง (Sample size) ขนาดตัวอย่างต้องมากพอที่จะเป็น ตัวแทนได้ วิธีการประมาณขนาดตัวอย่าง โดยใช้สูตรของ TARO YAMANE ดังนี้ n= N 1+Nd2 เมื่อ n = ขนาดของหน่วยตัวอย่างกลุ่มเป้าหมาย N = ประชากรทั้งหมด D = ระดับความมีนัยสำาคัญ ตัวอย่างเช่น N = ١,٠٠٠ คน D = 0.05 แทนค่า n = 1,000 1+1,000(0.05)2 n = 285.7 n = 286 3. ประเภทและวิ ธ ี ก ารสุ ่ ม ตั ว อย่ า ง ทฤษฎีการสุ่มตัวอย่าง ได้แบ่งประเภทการสุ่มตัวอย่างออกเป็น ٢ ประเภท ใหญ่ๆ คือ 1. การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งในเชิ ง เป็ น ไปได้ (Probability sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบนี้เราสามารถกำาหนดได้ว่าทุกภาคส่วนของ
  • 9. เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ประชากรมีโอกาสได้รับเลือกเป็นตัวอย่างเท่ากัน การสุ่มแบบนี้มี หลายวิธีดังนี้ 1.1 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบง่ า ย (Simple random sampling) หมายถึง การสุ่มตัวอย่างที่ประชากรทุกภาคส่วนมีโอกาสเท่าเทียม กันที่จะได้รับการคัดเลือกเป็นตัวอย่างโดยวิธีการใช้ (1)ตารางเลขสุ่ม นำาจำานวนขนาดตัวอย่างไปสุ่มในตาราง สำาเร็จรูปที่นักสถิติจัดทำาไว้แล้ว เพียงแต่นักวิจัยกำาหนดหลักที่ จะใช้ว่ามีกี่หลัก และจะนับไปซ้ายขวา ขึนบน ลงล่างอย่างไร ้ ต้องกำาหนดไว้และปฏิบัติอย่างนั้นตลอด สุ่มโดยการชี้ตัวเลขเริ่ม ต้น เมื่อชี้ตรงไหนก็บอกว่าเป็นเลขประจำาตัวของประชากรหรือ ไม่ถ้าไม่ใช่ให้ข้ามไป ทำาการคัดเลือกไปเรื่อยๆ จนได้ตาม จำานวนที่ต้องการ (2) โดยวิธีการจับฉลากโดยการเขียนหมายเลขกำากับประชากร ตัวอย่าง แต่ละรายการก่อนแล้วจึงจับฉลากขึ้นมา ซึ่งวิธีการจับ ฉลากอาจใช้ ٢ แบบคือ 1. ไม่สุ่มประชากรที่ถูกสุ่มแล้วขึ้นมาอีก (Simple Random Sampling with out Replacement) คือหยิบแล้วเอาออก ได้เลยไม่ต้องใส่กลับลงไปอีก 2. สุ่มประชากรที่ถูกสุ่มแล้วขึ้นมาได้อีก (Sample Random Sampling with Replacement) คือ หยิบขึ้นมาแล้วก็ใส่ ลงไปใหม่เพื่อให้โอกาสแก่ประชากรทุกหน่วย มีโอกาส ถูกเลือกขึ้นมาเท่าเดิม 1.2 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบมี ร ะบบ (Systematic Sampling) การสุ่มแบบนี้นักวิจัยจะต้องอาศัยบัญชีรายชื่อ เกี่ยวกับประชากร กลุ่มเป้าหมาย โดยเลือกตามเลขที่ที่กำาหนดไว้ เช่น ประชากร จำานวน ١,٠٠٠ นักวิจัยต้องการตัวอย่างจำานวน ١٠٠ นักวิจัยจะต้อง คัดเลือกทุกหน่วยที่ ١٠ เป็นต้น 1.3 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบแบ่ ง ชั ้ น (Stratified Random Sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบนี้ต้องแยกประเภทของประชากร เป็นกลุ่มย่อยหรือชั้นก่อน แล้วจึงสุ่มตัวอย่างแยกกันคนและกลุ่ม โดยวิธี Simple Random Sampling หรือ Systematic Sampling ก็ได้ กลุ่มย่อยที่มีลักษณะเป็น Homegeneous คือมีลักษณะเหมือน กันภายในกลุ่มเช่น การแยกประเภทของประชากรตาม สถานการณ์เป็นสมาชิกของกลุ่มเกษตรกร 1.4 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบกลุ ่ ม (Cluster Sampling) คือการสุ่ม ตัวอย่างประชากรโดยแบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มๆ ให้แต่ละกลุ่มมี
  • 10. เอกสารประกอบการสอน วิชา 905-101 สถิติเบื้องต้น ผู้สอน อ.สุนิสา สายอุปราช สำานักสามัญศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ความเป็น Heterogeneous กัน คือมีความแตกต่างกันภายในกลุ่ม เช่น การสุ่มตัวอย่างโดยการแบ่งตามเขตการปกครอง 1.5 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งในทุ ก ขั ้ น ตอน (Multi Stage Sampling) เช่น ต้องการจะทำาการวิจัยโดยการสุ่มตัวอย่างประชากร โดย ทำาการสุ่มจังหวัดที่เป็นตัวอย่างก่อน ต่อไปก็สุ่มอำาเภอ ตำาบล หมู่บ้าน และครัวเรือนที่เป็นตัวอย่างตามลำาดับ 2. การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งในเชิ ง เป็ น ไปไม่ ไ ด้ (Non-probability sampling) คือ การสุ่มตัวอย่างโดยไม่อาจกำาหนดได้ว่าทุกส่วนของ ประชากรมีโอกาสได้รับการคัดเลือกโดยเท่ากัน ซึ่งทำาให้ไม่สามารถ จะคาดคะเนหรือคำานวณหาความผิดพลาดในการสุ่มเลือกตัวอย่างได้ การสุ่มแบบนี้มีหลายวิธีคือ 2.1 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบบั ง เอิ ญ (Accidental Sampling) เช่น พบใครก็สัมภาษณ์ตามความพอใจของผู้วิจัย เช่น สุ่มนักท่องเที่ยว ที่จะเข้าประเทศไทยที่สนามบินดอนเมือง 2.2 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งโดยวิ ธ ี ก ารจั ด สรรโควตา (Quota Sampling) การสุ่มตัวอย่างเหล่านี้ต้องแบ่งกลุ่มของประชากรแล้ว จัดสรรโควตาตัวอย่างไปให้แต่ละกลุ่มตามสัดส่วนของปริมาณ ประชากรในกลุ่มนั้นๆ ที่มอยู่จากนั้นก็ทำาการสุ่มจากแต่ละกลุ่มตาม ี โควตาที่จัดสรร ทั้งนี้เพื่อให้ได้ตัวแทนจากกลุ่มต่างๆ อย่างเหมาะ สม เช่น ชาย ٨٠ คน หญิง ٨٠ คน 2.3 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดย จะเลือกศึกษาจากประชากรที่มีลักษณะตรงตามวัตถุประสงค์ที่จะ ศึกษาเช่น เกษตรกรที่ปลูกหม่อน บร.٦٠ เป็นต้น 2.4 การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งพิ จ ารณาตามความสะดวก (Convenience Sampling) โดยจะเลือกศึกษากลุ่มประชากรที่ เห็นว่าง่ายต่อการศึกษา เช่น ไม่อยู่ในแดนของผู้ก่อการร้าย หรือ เลือกเฉพาะผู้เป็นสมาชิกของกลุ่มทางการเกษตร กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ปัจจัยที่ทำาให้สำาเร็จในการสุ่มตัวอย่าง (Key success factor) ١. ฐานข้อมูล/ประชากรต้องเป็นปัจจุบัน (update population) ٢. วิธีการสุ่ม ต้องมีความน่าเชื่อถือ (มีแหล่งที่มาอ้างอิงได้) ٣. ขนาดตัวอย่างต้องมีการกระจายตัวและครอบคลุมประชากรเพื่อ ให้มีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด