SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 60
แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ١٠
กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ คณิตศาสตร์                     ช่ ว งชั ้ น ที ่ ٣
         สาระที ่ ٢ : การวัด
หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ٢        เรื ่ อ ง การวัด           ชั ้ น
มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ٢ ปี ก ารศึ ก ษา ٢٥٥١
เรื ่ อ ง ความเป็นมาของการวัด        เวลาที ่ ใ ช้ ส อน ١ ชั ่ ว โมง            ผู ้
สอน นางสาววารีรัตน์ รุมาคม

มาตรฐานการเรี ย นรู ้ ช ่ ว งชั ้ น
    มาตรฐาน ค ٢.١ : เข้าใจพื้นที่เกี่ยวกับการวัดความยาว
    มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣
      ١. เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่างๆเกี่ยวกับความยาว พื้นที่ และ
ปริมาตรได้อย่างเหมาะสม
สาระสำ า คั ญ
      การพัฒนาหน่วยการวัดและเครื่องมือที่ใช้วัด ให้มีความเที่ยงตรง
เป็นมาตรฐานเพียงใดก็ตามค่าที่ได้จากการวัดก็เป็นเพียง ค่าประมาณ ที่
ได้จากการวัดตามหน่วยการวัดที่เหมาะสมเท่านั้นและในชีวิตประจำาวัน
เราไม่อาจนำาเครื่องวัดที่ใช้วัดไปใช้ในทุกสถานที่ ทุกเวลาได้ จำาเป็น
ต้องประมาณความยาวหรือปริมาณของสิ่งต่างๆที่ต้องการทราบ การบอก
ค่าประมาณของปริมาณสิ่งต่างๆ โดยไม่ได้วัดจริงเรียกว่า การคาดคะเน
ผลการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ค าดหวั ง / จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้
      ด้ า นความรู ้
      ١. ตระหนักว่าค่าที่ได้จากการวัดเป็นค่าประมาณ และเข้าใจ
แนวคิดเกี่ยวกับการคาดคะเน
      ด้ า นทั ก ษะและกระบวนการ
      ١. การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
      ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะ
      ١. มีความรับผิดชอบ
สาระการเรี ย นรู ้
      ความเป็นมาของการวัด
กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้
      1. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับวิวัฒนาการความเป็นมา
ของการวัดที่นักเรียนเรียนมาแล้ว
      ٢. ครูอธิบายและใช้การถามตอบเกี่ยวกับหน่วยการวัดความยาว
ตามมาตราไทยโบราณจากวรรณกรรมต่างๆ เช่น
              นิ้วข้าว               เท่ากับ           ٨ เมล็ดข้าว
              เมล็ดข้าวหนึ่ง         เท่ากับ           ٨ ตัวเหา
              ตัวเหาหนึ่ง      เท่ากับ          ٨ ไข่เหา
              ไข่เหาหนึ่ง      เท่ากับ          ٨ ธุลี
              ธุลีหนึ่ง              เท่ากับ           ٨ อณู
              อณูหนึ่ง               เท่ากับ           ٨ ปรมาณู
      มาตราวัดแบบไทยในสมัยโบราณ นิยมใช้ขนาดของมือเป็นเครื่อง
มือวัดความยาว ซึ่งความยาวที่ได้จะไม่แน่นอน เช่น ความยาว ١ คืบ คือ
ความยาวตั้งแต่ปลายนิ้วหัวแม่มือถึงปลายนิ้วก้อยเมื่อเหยียดนิ้วทุกนิ้วให้
กางออกเต็มที่ ความยาว ١ ศอก คือ ความยาวจากจุดกึ่งกลางของข้อพับ
ถึงปลายนิ้วกลาง ถ้าเทียบกับความยาวมาตรฐานแล้ว
              ١ คืบ =     ٢٥ เซนติเมตร
              ١ ศอก       =    ٢ คืบ       =    ٥٠ เซนติเมตร
              ١ วา =      ٤ ศอก            =    ٢٠٠ เซนติเมตร            =
      ٢ เมตร
      ٣. ครูอธิบายหน่วยของการวัดที่เป็นสากลเรียกว่า หน่วย SI
(System International d’ Unit) หน่วยที่ใช้วัดเป็นมาตรฐานได้เก็บ
รักษาไว้ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส หน่วยที่ใช้วัดได้แก่
      เมตร (Meter : m)                     เป็นหน่วยวัดความยาว
      กิโลกรัม (Kilogram me : kg)               เป็นหน่วยวัดนำ้าหนัก
      วินาที (Second : s)                  เป็นหน่วยเวลา
      แอมแปร์ (Ampere : A)                      เป็นหน่วยวัดกระแสไฟฟ้า
      เคลวิน (Kelvin : K)                  เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิที่เริ่มต้น
จากศูนย์สัมบูรณ์
      แคนดลา (Candela : cd)                     เป็นหน่วยวัดแสง
      โมล (Mole : mol)                     เป็นหน่วยวัดขนาดของสาร
      ٤. ครูแนะนำาให้นักเรียนสังเกตและจำาความยาวของระยะใดระยะ
หนึ่งไว้ เพื่อใช้เปรียบเทียบกับระยะอื่นที่ต้องการคาดคะเน แล้วให้
นักเรียนลองคาดคะเนและวัดระยะทางมา ٥-٤ อย่าง แล้วให้นักเรียนทำา
ใบกิจกรรม
٥. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่าการใช้ส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น นิ้ว
คืบ ศอก และวา แบบโบราณนั้นไม่ใช่หน่วยการวัดที่มาตรฐานข้อตกลง
เกี่ยวกับการวัดมาตราไทย ที่ทำาสืบต่อกันมาโดยใช้ส่วนต่างๆของ
ร่างกายเหล่านี้ ใช้เป็นการประมาณความยาวเพื่อเป็นการสื่อสารให้
เข้าใจได้ใกล้เคียงกันอย่างหยาบๆ
        ٦. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปว่าค่าต่างๆที่ได้จากการวัด
ทุกครั้ง เป็นค่าประมาณ และการบอกค่าประมาณของปริมาณสิ่งต่างๆ
โดยไม่ได้วัดจริง เรียกว่า การคาดคะเน
        ٧. นักเรียนทำาแบบฝึกหัดเพิ่มเติม “เคยคิดบ้างไหม” ในหนังสือ
เรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม ١
สื ่ อ / อุ ป กรณ์ แ ละแหล่ ง การเรี ย นรู ้
         สื ่ อ / อุ ป กรณ์
         1. ใบกิจกรรม
         ٢. ไม้บรรทัด
         ٣. สายวัด
         ٤. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ٢ เล่ม ١
        แหล่ ง การเรี ย นรู ้
         ห้องเรียน
การวั ด ผลและประเมิ น ผล
ผลการเรียนรู้ที่คาด       วิธีวัด   เครื่องมือวัด     เกณฑ์การ
        หวัง                                           ประเมิน
นักเรียนสามารถ        การตรวจใบ     แบบตรวจใบ       นักเรียนทุก
ตระหนักว่าค่าที่ได้   กิจกรรม         กิจกรรม       คนมีผลการ
จากการวัดเป็นค่า                                    ประเมินอยู่ใน
ประมาณ และเข้าใจ                                    ระดับ ٣ ขึ้นไป
แนวคิดเกี่ยวกับการ
คาดคะเน
การเชื่อมโยงความรู้   การตรวจแบบ    แบบตรวจแบบ      นักเรียนทุก
ต่างๆทาง              ฝึกหัด           ฝึกหัด       คนมีผลการ
คณิตศาสตร์และ                                       ประเมินอยู่ใน
เชื่อมโยง                                           ระดับ ٣ ขึ้นไป
คณิตศาสตร์กับ
ศาสตร์อื่นๆ
มีความรับผิดชอบ       การตรวจใบ     แบบตรวจใบ       นักเรียนทุก
                      กิจกรรม         กิจกรรม       คนมีผลการ
                                                    ประเมินอยู่ใน
                                                    ระดับ ٣ ขึ้นไป
เกณฑ์ ก ารประเมิ น
                                        เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน
ประเด็ น การ
                        ٤                  ٣              ٢             ١
 ประเมิ น
                    (ดีมาก)               (ดี)         (พอใช้)   (ควรปรับปรุง)
ตระหนักว่า       ผลการคาด          ผลการคาด        ผลการคาด      ผลการคาด
ค่าที่ได้จาก     คะเนและการ        คะเนและการ คะเนและการ         คะเนและการ
การวัดเป็นค่า    วัดมีความ         วัดมีความ       วัดมีความ     วัดไม่มีความ
ประมาณ และ       เหมาะสม           เหมาะสม         เหมาะสม       เหมาะสม
เข้าใจแนวคิด     ประมาณได้         ประมาณได้       ประมาณได้     ประมาณได้
เกี่ยวกับการ     ใกล้เคียงที่สุด   ใกล้เคียงบาง ใกล้เคียงเล็ก    ใกล้เคียงน้อย
คาดคะเน                            ส่วน            น้อย          ที่สุด
การเชื่อมโยง     นำาความรู้        นำาความรู้      นำาความรู้    นำาความรู้
ความรู้ต่างๆ     หลักการและ        หลักการและ หลักการและ         หลักการและ
ทาง              วิธีการทาง        วิธีการทาง      วิธีการทาง    วิธีการทาง
คณิตศาสตร์       คณิตศาสตร์        คณิตศาสตร์      คณิตศาสตร์    คณิตศาสตร์
และเชื่อมโยง     ในการเชื่อม       ในการเชื่อม     ในการเชื่อม   ในการเชื่อม
คณิตศาสตร์       โยงกับสาระ        โยงกับสาระ      โยงกับสาระ    โยงไม่เหมาะ
กับศาสตร์อื่นๆ   คณิตศาสตร์/       คณิตศาสตร์/ คณิตศาสตร์        สม หรือไม่มี
                 สาระอื่น/ใน       สาระอื่น/ใน     ได้บางส่วน    การเชื่อมโยง
                 ชีวิตประจำาวัน    ชีวิตประจำาวัน                กับสาระอื่นใด
                 เพื่อช่วยใน       เพื่อช่วยใน
                 การแก้ปัญหา       การแก้ปัญหา
                 หรือประยุกต์      หรือประยุกต์
                 ใช้ได้อย่าง       ใช้ได้อย่าง
                 สอดคล้องและ       สอดคล้องและ
                 เหมาะสม           เหมาะสม
มีความรับผิด     - ส่งผลงาน        - ส่งผลงาน      นำาความรู้    นำาความรู้หลัก
ชอบ              ก่อนหรือตรง       ช้ากว่า         หลักการและ    การและวิธี
                 กำาหนด            กำาหนด แต่ได้ วิธีการทาง      การทาง
                 เวลานัดหมาย       มีการติดต่อ     คณิตศาสตร์    คณิตศาสตร์
                 - รับผิดชอบ       ชี้แจงครูผู้    ในการเชื่อม   ในการเชื่อม
                 ในงานที่ได้       สอน มีเหตุผล โยงกับสาระ       โยงไม่เหมาะ
                 รับมอบหมาย        ที่รับฟังได้    คณิตศาสตร์    สม หรือไม่มี
                 และ               - รับผิดชอบ     ได้บางส่วน    การเชื่อมโยง
                 งานปฏิบัติเอง     ในงานที่ได้                   กับสาระอื่นใด
                 จนเป็นนิสัย       รับมอบหมาย
                 แก่ผู้อื่นและ     ปฏิบติเองจน
                 แนะนำา            เป็นนิสัย
                 ชักชวนให้
ผู้อื่นปฏิบัติ




               แบบประเมิ น การปฏิ บ ั ต ิ ง านเป็ น รายบุ ค คล
                    แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ 10
                     เรื่อง ความเป็นมาของการวัด

               การเชื่อมโยงความรู้       มีความรับ
               ต่างๆทาง                  ผิดชอบ
               คณิตศาสตร์และ                            คะแน       ระดับ
      ชื่อ -
ที่            เชื่อมโยง                                นรวม      คุณภาพ
      สกุล
               คณิตศาสตร์กับ
               ศาสตร์อื่นๆ
                         ٤                    ٤           ٨           ٤




       ระดับคุณภาพ            ٤ หมายถึง      ดีมาก                คะแนนรวม ٨ - ٧
       ระดับคุณภาพ            ٣ หมายถึง      ดี                   คะแนนรวม ٦ - ٥
       ระดับคุณภาพ            ٢ หมายถึง      พอใช้                คะแนนรวม ٤ - ٣
       ระดับคุณภาพ            ١ หมายถึง      ควรปรับปรุง              คะแนนรวม ١
٢–

กิ จ กรรมเสนอแนะ
       ......................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
............




บั น ทั ก ผลหลั ง การสอน
         ผลการเรียนรู้
                ด้านความ
รู้............................................................................................
................................       ........................................................
.............................................................................................
.......
         ......................................................................................
......................................................................
                ด้านทักษะและ
กระบวนการ.............................................................................
..................... .......................................................................
.....................................................................................
         ......................................................................................
......................................................................
                ด้าน
คุณลักษณะ..............................................................................
......................................        .................................................
.............................................................................................
..............
         ......................................................................................
......................................................................
         ปัญหาและอุปสรรค
......................................................................................
........................................................
       ......................................................................................
......................................................................
       ......................................................................................
......................................................................
       ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

       ......................................................................................
........................................................
       ......................................................................................
......................................................................
       ......................................................................................
......................................................................

ลงชื่อ……………………………….
                                                                         ( น.ส.วารีรัตน์
รุมาคม )
                                                              นักศึกษาฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู

ข้ อ เสนอแนะของอาจารย์ น ิ เ ทศก์ โ รงเรี ย นร่ ว มพั ฒ นาวิ ช าชี พ
ครู
       ......................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
...........................

     ลงชื่อ..................................................
                                 ( นางนงลักษณ์ พรหมสิทธิ์ )
                                                อาจารย์นิเทศก์โรงเรียนร่วมพัฒนา
วิชาชีพครู
ใบกิ จ กรรม
                              เรื ่ อ ง วั ด จริ ง
จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ ตระหนักว่าค่าที่ได้จากการวัดนั้นเป็นค่า
ประมาณ และเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับการ
                   คาดคะเน
คำ า ชี ้ แ จง ให้นักเรียนคาดคะเนแล้วใช้ส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น นิ้ว
คืบ ศอกและวาแบบโบราณ
                วัดความยาวของสิ่งต่างๆแล้วเปรียบเทียบดูว่าการวัดของ
นักเรียนคลาดเคลื่อนจากที่วัดจริง
                มากหรือไม่แล้วบันทึกผลลงในตาราง
      กำ า หนด            วั ด โดยใช้ ส ่ ว น    วั ด โดยใช้ เ ครื ่ อ ง
                         ต่ า งๆของร่ า งกาย     มื อ การวั ด (ซม.)
1. ความยาวของศอก
٢. ความยาวของแขน
٣. ความสูงของประตู
٤. ความสูงของ
กระดาน
٥. ความยาวรอบเอว
٦. ความกว้างของ
หน้าต่าง
แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ١١
กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ คณิตศาสตร์                     ช่ ว งชั ้ น ที ่ ٣
         สาระที ่ ٢ : การวัด
หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ٢        เรื ่ อ ง การวัด           ชั ้ น
มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ٢ ปี ก ารศึ ก ษา ٢٥٥١
เรื ่ อ ง การวัดความยาว        เวลาที ่ ใ ช้ ส อน ٢ ชั ่ ว โมง              ผู ้ ส อน
นางสาววารีรัตน์ รุมาคม

มาตรฐานการเรี ย นรู ้ ช ่ ว งชั ้ น
    มาตรฐาน ค ٢.١ : เข้าใจพื้นที่เกี่ยวกับการวัดความยาว
    มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣
      ١. เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่างๆเกี่ยวกับความยาว พื้นที่ และ
ปริมาตรได้อย่างเหมาะสม
    มาตรฐาน ค ٢.٢ : วัดและคาดคะเนของสิ่งที่ต้องการวัดได้
    มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣
      ١. คาดคะเนเวลา ระยะทาง ขนาด และนำ้าหนักอย่างใกล้เคียง และ
อธิบายวิธีการที่ใช้การคาดคะเนได้
      ٢. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดในการแก้ปัญหาในสถานการณ์
ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
สาระสำ า คั ญ
      การเปลี่ยนหน่วยหรือระบบในมาตราเดียวกันจากหน่วยย่อยเป็น
หน่วยใหญ่จะต้องใช้การหาร และจากหน่วยใหญ่เป็นหน่วยย่อยจะต้อง
ใช้การคูณ และเปรียบเทียบหน่วยการวัดความยาวต่างระบบให้เป็นระ
เดียวกันก่อน
      ค่าที่ได้จากการวัดนั้นเป็นเพียง ค่าประมาณ ที่ได้จากการวัดความ
ยาวตามหน่วยการวัดที่เหมาะสมเท่านั้นและ การบอกค่าประมาณของ
ปริมาณของสิ่งต่างๆ โดยไม่ได้วัดจริง เรียกว่า การคาดคะเน
ผลการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ค าดหวั ง / จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้
      ด้ า นความรู ้
      1. เปรียบเทียบหน่วยการวัดความยาว ในระบบเดียวกันและต่าง
ระบบได้
      ٢. เลือกใช้หน่วยการวัดความยาวได้อย่างเหมาะสม
      ٣. คาดคะเน ความยาวของสิ่งที่กำาหนดให้ได้อย่างใกล้เคียง และ
สามารถอธิบายวิธีการที่ใช้คาดคะเนได้
      ด้ า นทั ก ษะและกระบวนการ
١. ในการให้เหตุผล
     ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะ
     ١. มีระเบียบวินัย



สาระการเรี ย นรู ้
     ١. การเปรียบเทียบหน่วยการวัดความยาวในระบบเดียวกันและ
ต่างระบบ
     2. การเลือกใช้หน่วยการวัดความยาว
     ٣. การคาดคะเนความยาว
กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้
     1. ครูทบทวนหน่วยการวัดความยาวต่างๆ พร้อมทั้งให้นักเรียนยก
ตัวอย่างหน่วยการวัดความยาวที่นักเรียนรู้จัก
     2. ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่องหน่วยการวัดความยาวในระบบต่าง ๆ
                หน่ ว ยการวั ด ความยาวระบบเมตริ ก
ซึ่งมีหน่วยรากฐานความยาวเป็น เมตร เป็นหน่วยความยาวที่นิยมแพร่
หลายเป็นสากล
            ١٠ มิลลิเมตร เท่ากับ          ١    เซนติเมตร
            ١٠٠ เซนติเมตร เท่ากับ         ١    เมตร
            ١,٠٠٠      เมตร       เท่ากับ      ١    กิโลเมตร
               หน่ ว ยการวั ด ความยาวระบบอั ง กฤษ
            ١٢ นิ้ว         เท่ากับ       ١    ฟุต
            ٣    ฟุต        เท่ากับ       ١    หลา
            ١,٧٦٠      หลา        เท่ากับ      ١    ไมล์
                หน่ ว ยการวั ด ความยาวมาตราไทย
            ١٢ นิ้ว         เท่ากับ       ١    คืบ
            ٢    คืบ        เท่ากับ       ١    ศอก
            ٤    ศอก        เท่ากับ       ١    วา
            ٢٠ วา           เท่ากับ       ١    เส้น
            ٤٠٠ เส้น        เท่ากับ       ١    โยชน์
    กำาหนด ١     วา         เท่ากับ       ٢    เมตร
หน่ ว ยการวั ด ความยาวระบบอั ง กฤษเที ย บกั บ ระบบเมตริ ก (โดย
                               ประมาณ)
            ١    นิ้ว       เท่ากับ       ٢.٥٤ เซนติเมตร
            ١    หลา        เท่ากับ       ٠.٩١٤٤    เมตร
١    ไมล์       เท่ากับ             ١.٦٠٣٩   กิโลเมตร



      ٣. ครูยกตัวอย่างโจทย์เกี่ยวกับหน่วยความยาวในระบบต่าง ๆ และ
ให้นักเรียนทำาใบกิจกรรม       เรื่อง การวัดความยาว
ตัวอย่าง          นัทสูง ١٧٥ เซนติเมตร อยากทราบว่านัทสูงกี่เมตร
            เนื่องจาก ١٠٠ เซนติเมตร เท่ากับ ١ เมตร และนัทสูง ١٧٥
เซนติเมตร
                                 175
     ดังนั้น    นัทสูง           100
                                     = 1.75   เมตร
        ตอบ ١.٧٥ เมตร
        4. ครูสนทนาและยกตัวอย่างเกี่ยวกับการคาดคะเนสิ่งของต่าง ๆ
และให้นักเรียนในห้องช่วยกันคาดคะเนสิ่งของที่ครูกำาหนดให้ว่ายาว
เท่าใด
        5. ครูให้นักเรียนนำาอุปกรณ์หรือเครื่องมือ เช่น ไม้บรรทัด ตลับ
เมตร สายวัด มาวัดสิ่งของที่นักเรียนคาดคะเนกันว่าใครคาดคะเนได้ใกล้
เคียงที่สุด และนำาผลที่ได้จากการปฏิบัติของนักเรียนมาอภิปรายร่วมกัน
ในห้องเรียนเพื่อยืนยันแนวคิดที่ว่าค่าที่ได้จากการวัดเป็นค่าประมาณ
        ٦. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป ในการเปลี่ยนหน่วยในระบบหรือ
มาตราเดียวกันจากหน่วยย่อยเป็นหน่วยใหญ่จะต้องใช้การหาร และจาก
หน่วยใหญ่เป็นหน่วยย่อยจะต้องใช้การคูณ และเปรียบเทียบหน่วยการ
วัดความยาวต่างระบบต้องทำาเป็นระบบเดียวกันก่อน
        ٧. ครูให้นักเรียนทำาแบบทดสอบ เรื่อง การวัดความยาว และ
        แบบฝึกหัดที่ ٢.١ ในหนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
คณิตศาสตร์ เล่ม ١
สื ่ อ / อุ ป กรณ์ แ ละแหล่ ง การเรี ย นรู ้
         สื ่ อ / อุ ป กรณ์
         ١. ใบกิจกรรม
         ٢. แบบทดสอบ
         ٣. เฉลยใบกิจกรรม
         ٤. เฉลยแบบทดสอบ
         ٥. สายวัด , ไม้บรรทัด , ตลับเมตร
         ٦. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ٢ เล่ม ١
        แหล่ ง การเรี ย นรู ้
         ١. ห้องเรียน
٢. อาคารสถานที่ภายในโรงเรียน




การวั ด ผลและประเมิ น ผล
ผลการเรียนรู้ที่คาด       วิธีวัด   เครื่องมือวัด     เกณฑ์การ
       หวัง                                            ประเมิน
เปรียบเทียบหน่วย      การตรวจใบ     แบบตรวจใบ       นักเรียนทุก
การวัดความยาว ใน      กิจกรรม         กิจกรรม       คนมีผลการ
ระบบเดียวกันและ                                     ประเมินอยู่ใน
ต่างระบบได้                                         ระดับ ٣ ขึ้นไป
เลือกใช้หน่วยการ      การตรวจใบ     แบบตรวจใบ       นักเรียนทุก
วัดความยาวได้         กิจกรรม         กิจกรรม       คนมีผลการ
อย่างเหมาะสม                                        ประเมินอยู่ใน
                                                    ระดับ ٣ ขึ้นไป
คาดคะเน ความยาว การตรวจแบบ          แบบตรวจแบบ      นักเรียนทุก
ของสิ่งที่กำาหนดให้ ฝึกหัด             ฝึกหัด       คนมีผลการ
ได้อย่างใกล้เคียง                                   ประเมินอยู่ใน
และสามารถอธิบาย                                     ระดับ ٣ ขึ้นไป
วิธีการที่ใช้คาด
คะเนได้
ในการให้เหตุผล      การตรวจใบ       แบบตรวจใบ       นักเรียนทุก
                    กิจกรรม           กิจกรรม       คนมีผลการ
                                                    ประเมินอยู่ใน
                                                    ระดับ ٣ ขึ้นไป
มีระเบียบวินัย        การตรวจแบบ    แบบตรวจแบบ      นักเรียนทุก
                      ฝึกหัด           ฝึกหัด       คนมีผลการ
                                                    ประเมินอยู่ใน
                                                    ระดับ ٣ ขึ้นไป
เกณฑ์ ก ารประเมิ น
                                        เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน
ประเด็ น การ
                          ٤                 ٣             ٢                    ١
 ประเมิ น
                      (ดีมาก)              (ดี)       (พอใช้)           (ควรปรับปรุง)
เปรียบเทียบ        ทำาได้ถูกต้อง     ทำาได้ถูกต้อง ทำาได้ถูกต้อง        ทำาได้ ٤ - ٠
หน่วยการวัด        ١٥ – ١٣ ข้อ       ١٢ - ٩ ข้อ    ٨ – ٥ ข้อ            ข้อ
ความยาว ใน
ระบบเดียวกัน
และต่างระบบ
ได้
เลือกใช้หน่วย      ผลการวัดและ       บอกวิธีการใช้    เลือกเครื่องมือ   เลือกและใช้
การวัดความ         ระบุหน่วยการ      เครื่องมือได้    ได้เหมาะสม        เครื่องวัดไม่
ยาวได้อย่าง        วัดที่ได้จาก      ถูกต้องดำาเนิน   กับสิ่งที่วัด     ถูกต้อง
เหมาะสม            การวัดถูกต้อง     การวัดได้ถูก     และบอก
                                     ต้อง             เหตุผลในการ
                                                      เลือกเครื่องวัด
                                                      ได้
คาดคะเน            ผลการคาด          ผลการคาด         ผลการคาด          ผลการคาด
ความยาวของ         คะเนและการ        คะเนและการ       คะเนและการ        คะเนและการ
สิ่งที่กำาหนดให้   วัดมีความ         วัดมีความ        วัดมีความ         วัดมีความ
ได้อย่างใกล้       เหมาะสม           เหมาะสม          เหมาะสม           เหมาะสม
เคียง และ          ประมาณได้         ประมาณได้        ประมาณได้         ประมาณได้
สามารถอธิบาย       ใกล้เคียงที่สุด   ใกล้เคียงบาง     ใกล้เคียงเล็ก     ใกล้เคียงน้อย
วิธีการที่ใช้                        ส่วน             น้อย              ที่สุด
คาดคะเนได้
ในการให้           มีการอ้างอิง  มีการอ้างอิง         เสนอแนวคิด        มีความ
เหตุผล             เสนอแนวคิด    ถูกต้องบาง           ไม่สมเหตุสม       พยายามเสนอ
                   ประกอบการ     ส่วนและเสนอ          ผลในการ           แนวคิด
                   ตัดสินใจอย่าง แนวคิด               ประกอบ            ประกอบการ
                   สมเหตุสมผล    ประกอบการ            การตัตสินใจ       ตัดสินใจ
                                 ตัดสินใจ
มีระเบียบวินัย     มีการอ้างอิง  มีการอ้างอิงที่      เสนอแนวคิด        สมุดงาน ชิ้น
                   เสนอแนวคิด ถูกต้องบาง              ไม่สมเหตุสม       งานไม่ค่อย
                   ประกอบการ     ส่วนและเสนอ          ผลในการ           เรียบร้อย
                   ตัดสินใจอย่าง แนวคิด               ประกอบการ         ปฏิบัติอยู่ใน
สมเหตุสมผล   ประกอบการ     ตัดสินใจ      ข้อตกลงที่
                                 ตัดสินใจ                    กำาหนดให้
                                                             ร่วมกันเป็น
                                                             บางครั้ง ต้อง
                                                             อาศัยการ
                                                             แนะนำาอยู่
                                                             บ่อยครั้ง




            แบบประเมิ น การปฏิ บ ั ต ิ ง านเป็ น รายบุ ค คล
                แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ 11
                      เรื่อง การวัดความยาว

                      ในการให้     มีระเบียบ              ระดับ
                                                คะแนน
           ชื่อ -     เหตุผล       วินัย                  คุณภา
     ที่                                         รวม
           สกุล                                             พ
                           ٤            ٤          ٨        ٤




     ระดับคุณภาพ          ٤ หมายถึง   ดีมาก            คะแนนรวม ٨ - ٧
     ระดับคุณภาพ          ٣ หมายถึง   ดี               คะแนนรวม ٦ - ٥
     ระดับคุณภาพ          ٢ หมายถึง   พอใช้            คะแนนรวม ٤ - ٣
     ระดับคุณภาพ          ١ หมายถึง   ควรปรับปรุง          คะแนนรวม ١
٢–

กิ จ กรรมเสนอแนะ
......................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
............




บั น ทั ก ผลหลั ง การสอน
         ผลการเรียนรู้
                ด้านความ
รู้............................................................................................
................................       ........................................................
.............................................................................................
.......
         ......................................................................................
......................................................................
                ด้านทักษะและ
กระบวนการ.............................................................................
..................... .......................................................................
.....................................................................................
         ......................................................................................
......................................................................
                ด้าน
คุณลักษณะ..............................................................................
......................................        .................................................
.............................................................................................
..............
......................................................................................
......................................................................
       ปัญหาและอุปสรรค

       ......................................................................................
........................................................
       ......................................................................................
......................................................................
       ......................................................................................
......................................................................
       ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

       ......................................................................................
........................................................
       ......................................................................................
......................................................................
       ......................................................................................
......................................................................

ลงชื่อ……………………………….
                                                                          ( น.ส.วารีรัตน์
รุมาคม )
                                                                  นักศึกษาฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู

ข้ อ เสนอแนะของอาจารย์ น ิ เ ทศก์ โ รงเรี ย นร่ ว มพั ฒ นาวิ ช าชี พ
ครู
       ......................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
...........................

       ลงชื่อ..................................................
( นางนงลักษณ์ พรหมสิทธิ์ )
                                 อาจารย์นิเทศก์โรงเรียนร่วมพัฒนา
วิชาชีพครู

                                     ใบกิ จ กรรม
                           เรื ่ อ ง การวั ด ความยาว
จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ เปรียบเทียบหน่วยความยาวในระบบเดียวกัน
และต่างระบบได้
 คำ า ชี ้ แ จง ให้นักเรียนปฏิบัติดังต่อไปนี้
١. จงเติมคำาตอบลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
     ١) เชือกเส้นนี้ยาว ٥ เมตร คิดเป็น ................... เซนติเมตร
     ٢) บ้านก้อยอยู่ห่างจากบ้านนุ้ย ١.٢ กิโลเมตร คิดเป็น
..................... เมตร
     ٣) ด้านหน้าของที่ดินแปลงนี้กว้าง ٤٠ เมตร คิดเป็น
..................... วา
     ٤) ถนนเลียบคลองสายนี้ยาว ٢,٥٠٠ เมตร คิดเป็น .....................
กิโลเมตร
٢. จงเปรียบเทียบความยาวในแต่ละข้อและระบุความยาวที่มากกว่า
   ١) สุดาสูง ٦ ฟุต กับดวงใจสูง ١٧٥ เซนติเมตร
   ٢) เรือบดยาว ٣ วา กับเรือพายยาว ٥ เมตร
   ٣) ระยะทางจากกรุงเทพมหานคร ถึงจังหวัดนครราชสีมาประมาณ ٢
٥٤ กิโลเมตร กับ
        ระยะทางจากกรุงเทพมหานคร ถึงเกาะช้าง จังหวัดตราด
ประมาณ ٢٠٥ ไมล์
  ٤) ไม้ยาว ٥ ฟุต ٧ นิ้ว กับ ไม้ยาว ١٧٠ เซนติเมตร
แบบทดสอบ
                           เรื ่ อ ง การวั ด ความยาว
จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ เปรียบเทียบหน่วยความยาวในระบบเดียวกัน
และต่างระบบได้
 คำ า ชี ้ แ จง ให้นักเรียนปฏิบัติดังต่อไปนี้
١. จงเปลี่ยนหน่วยความยาว เติมลงในช่องว่างให้เป็นไปตามหน่วยที่
กำาหนด
      ١.١ ٥ เซนติเมตร         =      ...................... มิลลิเมตร
      ١.٢ ١٧ เซนติเมตร        =      ...................... มิลลิเมตร
      ١.٣ ٣.٢ เซนติเมตร       =      ...................... มิลลิเมตร
      ١.٤ ٢٥.٦ เซนติเมตร      =      ...................... มิลลิเมตร
      ١.٥ ٥,٠٠٠ มิลลิเมตร     =      ...................... เซนติเมตร
      ١.٦ ٢٣ เมตร         =   ...................... เซนติเมตร
      ١.٧ ٢,٠٠٠ เมตร          =      ...................... กิโลเมตร
      ١.٨ ٢.٣٥ เมตร       =   ...................... เซนติเมตร
      ١.٩ ١.٢ กิโลเมตร        =      ...................... เมตร
      ١.١٠ ٦٣٠ มิลิเมตร       =      ...................... เมตร
٢. ให้นักเรียนเติมเครื่องหมาย = , >      หรือ < ในช่องว่าง
    ٢.١ ٠.٥ ม.             ...........         ٥ มม.
    ٢.٢ ٦٥٠ มม. ...........              ٦٠ ซม.
    ٢.٣ ٧٥٠ ซม. ...........              ٠.٧٥ กม.
    ٢.٤ ١٢.٥ ซม. ...........             ١.٢٥ มม.
    ٢.٥ ١٠ ซม.             ...........         ٠.٠١ กม.
ใบเฉลยใบกิ จ กรรม
                     เรื ่ อ ง การวั ด ความยาว
١. จงเติมคำาตอบลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
    ١) เชือกเส้นนี้ยาว ٥ เมตร คิดเป็น 500 เซนติเมตร
    ٢) บ้านก้อยอยู่ห่างจากบ้านนุ้ย ١.٢ กิโลเมตร คิดเป็น 1,٢٠٠ เมตร
    ٣) ด้านหน้าของที่ดินแปลงนี้กว้าง ٤٠ เมตร คิดเป็น ٢٠ วา
    ٤) ถนนเลียบคลองสายนี้ยาว ٢,٥٠٠ เมตร คิดเป็น ٢.٥ กิโลเมตร
٢. จงเปรียบเทียบความยาวในแต่ละข้อและระบุความยาวที่มากกว่า
   ١) สุดาสูง ٦ ฟุต กับดวงใจสูง ١٧٥ เซนติเมตร
         ∴ ความยาวที่มากกว่าคือ ٦ ฟุต
   ٢) เรือบดยาว ٣ วา กับเรือพายยาว ٥ เมตร
       ∴ ความยาวที่มากกว่าคือ 3 วา
   ٣) ระยะทางจากกรุงเทพมหานคร ถึงจังหวัดนครราชสีมาประมาณ ٢
٥٤ กิโลเมตร กับ
        ระยะทางจากกรุงเทพมหานคร ถึงเกาะช้าง จังหวัดตราด
ประมาณ ٢٠٥ ไมล์
       ∴ ความยาวที่มากกว่าคือ ٢٠٥ ไมล์
  ٤) ไม้ยาว ٥ ฟุต ٧ นิ้ว กับ ไม้ยาว ١٧٠ เซนติเมตร
       ∴ ความยาวที่มากกว่าคือ ٥ ฟุต ٧ นิ้ว
ใบเฉลยแบบทดสอบ
                     เรื ่ อ ง การวั ด ความยาว
١. จงเปลี่ยนหน่วยความยาว เติมลงในช่องว่างให้เป็นไปตามหน่วยที่
กำาหนด
      ١.١ ٥ เซนติเมตร         =    ٥٠ มิลลิเมตร
      ١.٢ ١٧ เซนติเมตร        =    ١٧٠ มิลลิเมตร
      ١.٣ ٣.٢ เซนติเมตร       =    ٣٢ มิลลิเมตร
      ١.٤ ٢٥.٦ เซนติเมตร      =    ٢٥٦ มิลลิเมตร
      ١.٥ ٥,٠٠٠ มิลลิเมตร     =    ٥٠٠ เซนติเมตร
      ١.٦ ٢٣ เมตร         =   ٢,٣٠٠ เซนติเมตร
      ١.٧ ٢,٠٠٠ เมตร          =    ٢ กิโลเมตร
      ١.٨ ٢.٣٥ เมตร       =   ٢٣٥ เซนติเมตร
      ١.٩ ١.٢ กิโลเมตร        =    ١,٢٠٠ เมตร
      ١.١٠ ٦٣٠ มิลิเมตร       =    ٠.٦٣ เมตร
٢. ให้นักเรียนเติมเครื่องหมาย =   , > หรือ < ในช่องว่าง
    ٢.١ ٠.٥ ม.             >           ٥ มม.
    ٢.٢ ٦٥٠ มม. >                 ٦٠ ซม.
    ٢.٣ ٧٥٠ ซม. <                 ٠.٧٥ กม.
    ٢.٤ ١٢.٥ ซม. >                ١.٢٥ มม.
    ٢.٥ ١٠ ซม.             <           ٠.٠١ กม.
แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ١٢
กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ คณิตศาสตร์                       ช่ ว งชั ้ น ที ่ ٣
         สาระที ่ ٢ : การวัด
หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ٢             เรื ่ อ ง การวัด        ชั ้ น
มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ٢ ปี ก ารศึ ก ษา ٢٥٥١
เรื ่ อ ง การวัดพื้นที่     เวลาที ่ ใ ช้ ส อน ٢ ชั ่ ว โมง         ผู ้ ส อน
นางสาววารีรัตน์ รุมาคม

มาตรฐานการเรี ย นรู ้ ช ่ ว งชั ้ น
    มาตรฐาน ค ٢.١ : เข้าใจพื้นที่เกี่ยวกับการวัดความยาว
    มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣
      ١. เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่างๆเกี่ยวกับความยาว พื้นที่ และ
ปริมาตรได้อย่างเหมาะสม
    มาตรฐาน ค ٢.٣ : แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดได้
    มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣
      ١. ใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาว พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการ
แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้
สาระสำ า คั ญ
      การเปลี่ยนหน่วยการวัดพื้นที่ในระบบหรือมาตราเดียวกัน สามารถ
คำานวณได้จากการเปลี่ยนหน่วยการวัดความยาวตามความสัมพันธ์ของ
หน่วยในระบบหรือมาตรานั้น
            ١ ตารางเมตร                =         ١٠,٠٠٠ ตารางเซนติเมตร
            ١ ตารางกิโลเมตร            =         ١,٠٠٠,٠٠٠ ตารางเมตร
            ١ ตารางฟุต                 =         ١٤٤ ตารางนิ้ว
            ٩ ตารางฟุต                 =         ١ ตารางหลา
            ١ ไร่               =          ٤ งาน
            ١ งาน                      =         ١٠٠ ตารางวา
            ١ ไร่               =          ٤٠٠ ตารางวา
            ١ ตารางวา           =          ٤ ตารางเมตร
            ١ ตารางกิโลเมตร            =         ٦٢٥ ไร่
ผลการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ค าดหวั ง / จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้
      ด้ า นความรู ้
      ١. เปรียบเทียบหน่วยการวัดพื้นที่ ในระบบเดียวกันและต่างระบบ
ได้
      ٢. เลือกใช้หน่วยการวัดพื้นที่ ได้อย่างเหมาะ
      ด้ า นทั ก ษะและกระบวนการ
١. การแก้ปัญหา
      ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะ
      ١. ทำางานอย่างเป็นระบบ
สาระการเรี ย นรู ้
      1. การเปรียบเทียบหน่วยการวัดพื้นที่ ในระบบเดียวกันและต่าง
ระบบได้
      2. เลือกใช้หน่วยการวัดพื้นที่
กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้
      1. ครูเฉลยและให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายแก้ไขข้อผิดพลาดใน
แบบฝึกหัดที่ 2.2
      2. ครูกับนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการวัดความยาวของสิ่งต่าง ๆ
และซักถามนักเรียนดังนี้
          - หน่วยการวัดความยาวที่นักเรียนรู้จักมีหน่วยอะไรบ้าง และ
เป็นระบบใด
          - นักเรียนสามารถเปลี่ยนหน่วยการวัดที่ได้จากหน่วยต่างๆ ให้
เป็นหน่วยเดียวกันได้หรือไม่
          - นักเรียนสามารถเปลี่ยนหน่วยการวัดที่ได้จากหน่วยต่างๆ ให้
เป็นหน่วยเดียวกันได้อย่างไร
      ٣. ครูอธิบายและให้นักเรียนศึกษาถึงหน่วยการวัดพื้นที่
          การเปลี่ยนหน่วยการวัดพื้นที่ในระบบหรือมาตราเดียวกัน
สามารถคำานวณได้จาก การเปลี่ยนหน่วยการวัดความยาวตามความ
สัมพันธ์ของหน่วยในระบบหรือมาตรานั้น ดังนี้
               รูป ก และ  รูป ข เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีพื้นที่เท่ากับ ١
ตารางเมตร เมื่อต้องการเปลี่ยนหน่วยเป็นตารางเซนติเมตรทำาได้ดังนี้

             รูป ก          ١ เมตร          รูป ข            ١٠٠ เซนติเมตร


               ١ เมตร                                 ١٠٠ เซนติเมตร



      เนื่องจาก ١ เมตร      =                 ١٠٠ เซนติเมตร
      ∴ พื้นที่รูป ก        =                 พื้นที่รูป ข
      ١ เมตร × ١ เมตร =                  ١٠٠ เซนติเมตร × ١٠٠ เซนติเมตร
      ดังนั้น      1 ตารางเมตร           =    ١٠,٠٠٠ ตารางเซนติเมตร


             รูป ก          ١ กิโลเมตร      รูป ข   ١,٠٠٠ เมตร


               ١ กิโลเมตร                             ١,٠٠٠ เมตร
เนื่องจาก ١ กม.        =        ١,٠٠٠ เมตร
     ∴ พื้นที่รูป ก         =        พื้นที่รูป ข
     ١ กม. × ١ กม. =            ١,٠٠٠ เมตร × ١,٠٠٠ เมตร
     ดังนั้น      1 ตารางกิโลเมตร    =       ١,٠٠٠,٠٠٠ ตารางเมตร

      4. ครูให้นักเรียนศึกษา เรื่อง หน่วยการวัดพื้นที่
                 หน่ ว ยการวั ด พื ้ น ที ่ ใ นระบบเมตริ ก
      ١ ตารางเซนติเมตร เท่ากับ                    ١٠٠ หรือ 10 2 ตาราง
มิลลิเมตร
      ١ ตารางเมตร           เท่ากับ             ١٠,٠٠٠ หรือ 10 4 ตาราง
เซนติเมตร
      ١ ตารางกิโลเมตร       เท่ากับ             ١,٠٠٠,٠٠٠ หรือ 10 6
ตารางเมตร
               หน่ ว ยการวั ด พื ้ น ที ่ ใ นระบบอั ง กฤษ
     ١ ตารางฟุต             เท่ากับ              ١٤٤ หรือ 12 2 ตารางนิ้ว
     ١ ตารางหลา             เท่ากับ                  ٩ หรือ 32 ตารางฟุต
     ١ เอเคอร์        เท่ากับ               ٤,٨٤٠        ตารางหลา
     ١ ตารางไมล์            เท่ากับ              ٦٤٠ เอเคอร์
หรือ ١ ตารางไมล์            เท่ากับ              1,760 2 ตารางหลา

           หน่ ว ยการวั ด พื ้ น ที ่ ใ นระบบมาตราไทย
     ١٠٠ ตารางวา เท่ากับ                  ١ งาน
     ٤   งาน       เท่ากับ                ١ ไร่
หรือ ٤٠٠ ตารางวา เท่ากับ                  ١ ไร่
      หน่ ว ยการวั ด พื ้ น ที ่ ใ นมาตราไทยเที ย บกั บ ระบบเมตริ ก
        ١     ตารางวา เท่ากับ              ٤ ตารางเมตร
        ١     งาน          เท่ากับ           ٤٠٠ ตารางเมตร
หรือ ١        ไร่          เท่ากับ      ١,٦٠٠ ตารางเมตร
        ١     ตารางกิโลเมตร เท่ากับ               ٦٢٥ ไร่
        ٥. ครูให้นักเรียนทำาใบกิจกรรมเรื่อง การวัดพื้นที่
        ٦. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่าในการทำาใบกิจกรรมเกี่ยวกับการเปลี่ยน
หน่วยการวัดพื้นที่จากหน่วยหนึ่งเป็นอีกหน่วยหนึ่งนั้นควรสังเกตการ
เปลี่ยนหน่วยการวัดความยาวของแต่ละด้าน เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน
ระหว่างการเปลี่ยนหน่วยการวัดความยาวและการเปลี่ยนหน่วยการวัด
พื้นที่
٧. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปการเปลี่ยนหน่วยการวัดพื้นที่ในระบบ
มาตราเดียวกัน สามารถคำานวณได้จากการเปลี่ยนหน่วยการวัดความ
ยาวตามความสัมพันธ์ของหน่วยในระบบหรือมาตรานั้น
      ٨. ครูให้นักเรียนทำาแบบทดสอบ เรื่อง การวัดพื้นที่ และ ทำาแบบ
ฝึกหัดในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม ١ หน้า ٧
٦


สื ่ อ / อุ ป กรณ์ แ ละแหล่ ง การเรี ย นรู ้
         สื ่ อ / อุ ป กรณ์
         ١. ใบกิจกรรม
         2. ใบเฉลยใบกิจกรรม
         ٣. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ٢ เล่ม ١
        แหล่ ง การเรี ย นรู ้
         ١. ห้องเรียน
         ٢. อาคารสถานที่ภายในโรงเรียน
การวั ด ผลและประเมิ น ผล
ผลการเรียนรู้ที่คาด       วิธีวัด   เครื่องมือวัด     เกณฑ์การ
          หวัง                                         ประเมิน
เปรียบเทียบหน่วย      การตรวจใบ     แบบตรวจใบ       นักเรียนทุก
การวัดพื้นที่ ใน      กิจกรรม         กิจกรรม       คนมีผลการ
ระบบเดียวกันและ                                     ประเมินอยู่ใน
ต่างระบบได้                                         ระดับ ٣ ขึ้นไป
เลือกใช้หน่วยการ      การตรวจแบบ    แบบตรวจแบบ      นักเรียนทุก
วัดพื้นที่ ได้อย่าง   ฝึกหัด           ฝึกหัด       คนมีผลการ
เหมาะ                                               ประเมินอยู่ใน
                                                    ระดับ ٣ ขึ้นไป
การแก้ปัญหา           การตรวจใบ     แบบตรวจใบ       นักเรียนทุก
                      กิจกรรม         กิจกรรม       คนมีผลการ
                                                    ประเมินอยู่ใน
                                                    ระดับ ٣ ขึ้นไป
ทำางานอย่างเป็น       การตรวจแบบ    แบบตรวจแบบ      นักเรียนทุก
ระบบ                  ฝึกหัด           ฝึกหัด       คนมีผลการ
                                                    ประเมินอยู่ใน
                                                    ระดับ ٣ ขึ้นไป
เกณฑ์ ก ารประเมิ น
                                    เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน
ประเด็ น การ
                        ٤               ٣             ٢                 ١
 ประเมิ น
                    (ดีมาก)           (ดี)        (พอใช้)        (ควรปรับปรุง)
เปรียบเทียบ      ทำาได้ถูกต้อง   ทำาได้ถูกต้อง ทำาได้ถูกต้อง     ทำาได้ ٢ – ٠
หน่วยการวัด      ١٠ – ٨ ข้อ      ٧ – ٦ ข้อ     ٥ – ٣ ข้อ         ข้อ
พื้นที่ ในระบบ
เดียวกันและ
ต่างระบบได้
เลือกใช้หน่วย    ผลการวัดและ     บอกวิธีการใช้เลือกเครื่องมือ    เลือกและใช้
การวัดพื้นที่    ระบุหน่วยการ    เครื่องมือได้ได้เหมาะสม         เครื่องวัดไม่
ได้อย่างเหมาะ    วัดที่ได้จาก    ถูกต้องดำาเนิน
                                              กับสิ่งที่วัดและ   ถูกต้อง
                 การวัดถูกต้อง   การวัดได้ถูก บอกเหตุผล
                                 ต้อง         ในการเลือก
                                              เครื่องวัดได้
การแก้ปัญหา      ใช้ยุทธวิธีใน ใช้ยุทธวิธี    ใช้ยุทธวิธี        ทำาได้ไม่ถึง
                 การดำาเนิน     ดำาเนินการแก้ ดำาเนินการแก้      เกณฑ์ข้างต้น
                 การแก้ปัญหา ปัญหาสำาเร็จ ปัญหาสำาเร็จ           หรือไม่มีร่อง
                 สำาเร็จอย่างมี อธิบายถึง     บางส่วน            รอยการ
                 ประสิทธิภาพ เหตุผลในการ อธิบายถึง               ดำาเนินการแก้
                 อธิบายถึง      ใช้วิธีการดัง เหตุผลในการ        ปัญหา
                 เหตุผลในการ กล่าว ได้ดี      ใช้วิธีการดัง
                 ใช้วิธีการดัง  กว่านี้       กล่าวได้บาง
                 กล่าวได้                     ส่วน
                 เข้าใจชัดเจน
ทำางานอย่าง      - มีการ        - มีการ       - ไม่มีการ         ไม่มีชิ้นงาน
เป็นระบบ         วางแผนการ      วางแผนการ     วางแผนการ
                 ดำาเนินงาน     ดำาเนินงาน    ดำาเนินงาน
                 เป็นระบบ       - จัดเรียง    - ไม่จัดเรียง
                 - จัดเรียง     ลำาดับความ    ลำาดับความ
                 ลำาดับความ     สำาคัญก่อน    สำาคัญ
                 สำาคัญก่อน     หลัง ได้บาง
                 หลัง ถูกต้อง   ส่วน
                 ครบถ้วน
แบบประเมิ น การปฏิ บ ั ต ิ ง านเป็ น รายบุ ค คล
                   แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ 12
                            เรื่อง การวัดพื้นที่

               เปรียบเทียบ    การแก้               ทำางานอย่าง
               หน่วยการวัด ปัญหา                   เป็นระบบ                        ระดับ
                                                                       คะแนน
      ชื่อ -   พื้นที่ ในระบบ                                                      คุณภา
ที่                                                                     รวม
      สกุล     เดียวกันและ                                                           พ
               ต่างระบบได้
                        ٤         ٤                        ٤              ١٢          ٤




       ระดับคุณภาพ           ٤ หมายถึง       ดีมาก                คะแนนรวม ١٢ - ١٠
       ระดับคุณภาพ           ٣ หมายถึง       ดี                   คะแนนรวม ٩ - ٧
       ระดับคุณภาพ           ٢ หมายถึง       พอใช้                คะแนนรวม ٦ - ٤
       ระดับคุณภาพ           ١ หมายถึง       ควรปรับปรุง              คะแนนรวม ١
٣–

กิ จ กรรมเสนอแนะ
       ......................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
............




บั น ทั ก ผลหลั ง การสอน
         ผลการเรียนรู้
                ด้านความ
รู้............................................................................................
................................       ........................................................
.............................................................................................
.......
         ......................................................................................
......................................................................
                ด้านทักษะและ
กระบวนการ.............................................................................
..................... .......................................................................
.....................................................................................
         ......................................................................................
......................................................................
                ด้าน
คุณลักษณะ..............................................................................
......................................        .................................................
.............................................................................................
..............
         ......................................................................................
......................................................................
         ปัญหาและอุปสรรค

       ......................................................................................
........................................................
......................................................................................
......................................................................
       ......................................................................................
......................................................................
       ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

       ......................................................................................
........................................................
       ......................................................................................
......................................................................
       ......................................................................................
......................................................................

ลงชื่อ……………………………….
                                                                         ( น.ส.วารีรัตน์
รุมาคม )
                                                                นักศึกษาฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู

ข้ อ เสนอแนะของอาจารย์ น ิ เ ทศก์ โ รงเรี ย นร่ ว มพั ฒ นาวิ ช าชี พ
ครู
       ......................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
...........................

     ลงชื่อ..................................................
                                 ( นางนงลักษณ์ พรหมสิทธิ์ )
                                                อาจารย์นิเทศก์โรงเรียนร่วมพัฒนา
วิชาชีพครู

                                       ใบกิ จ กรรม
                                เรื ่ อ ง การวั ด พื ้ น ที ่
จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ เปรียบเทียบหน่วยความยาวในระบบเดียวกัน
และต่างระบบได้
 คำ า ชี ้ แ จง จงเปรียบเทียบหน่วยการวัดพื้นที่มาตราต่าง ๆของสิ่งที่
กำาหนดให้แล้วเติมในตารางให้ถูกต้อง
           สิ ่ ง ที ่ ก ำ า หนดให้                    พื ้ น ที ่
١. พื้นที่ ٥ ตารางกิโลเมตร               ....................... ตารางเมตร
٢. พื้นที่ ١,٢٠٠ ตารางเซนติเมตร          ....................... ตารางเมตร
٣. พื้นที่ ١٢ ไร่                          ....................... ตารางวา
٤. พื้นที่ ٢.٥٦ ไร่                         ................ ไร่................
                                           งาน.................. ตารางวา
٥. พื้นที่ ٣ ตารางไมล์                       ....................... เอเคอร์
٦. พื้นที่ ١٢,٠٠٠ เอเคอร์                 ....................... ตารางไมล์
٧. พื้นที่ ١,٨٧٥ ไร่                  ....................... ตารางกิโลเมตร
٨. พื้นที่ ٥,٦٠٠ ตารางเมตร                       ....................... ไร่
٩. พื้นที่ ٢٠ ตารางฟุต                   ....................... ตารางเมตร
   ( ١ ตารางฟุต เท่ากับ ٠.٠٩
ตารางเมตร )
١٠. พื้นที่ ٨,٤٠٠ ตารางเมตร              ....................... ตารางหลา
     ( ١ ตารางหลา เท่ากับ ٠.٨٤
ตารางเมตร )
ใบเฉลยใบกิ จ กรรม
                            เรื ่ อ ง การวั ด พื ้ น ที ่
           สิ ่ ง ที ่ ก ำ า หนดให้                         พื ้ น ที ่
١. พื้นที่ ٥ ตารางกิโลเมตร                         ٥,٠٠٠,٠٠٠ ตารางเมตร
٢. พื้นที่ ١,٢٠٠ ตารางเซนติเมตร                        ١.٢ ตารางเมตร
٣. พื้นที่ ١٢ ไร่                                      ٤,٨٠٠ ตารางวา
٤. พื้นที่ ٢.٥٦ ไร่                                ٢ ไร่ ٢ งาน٢٤ ตารางวา
٥. พื้นที่ ٣ ตารางไมล์                                   ١,٩٢٠ เอเคอร์
٦. พื้นที่ ١٢,٠٠٠ เอเคอร์                               ٢٠ ตารางไมล์
٧. พื้นที่ ١,٨٧٥ ไร่                                  ٣ ตารางกิโลเมตร
٨. พื้นที่ ٥,٦٠٠ ตารางเมตร                                  ٣.٥ ไร่
٩. พื้นที่ ٢٠ ตารางฟุต                                 ١.٨ ตารางเมตร
   ( ١ ตารางฟุต เท่ากับ ٠.٠٩
ตารางเมตร )
١٠. พื้นที่ ٨,٤٠٠ ตารางเมตร                           ١٠,٠٠٠ ตารางหลา
     ( ١ ตารางหลา เท่ากับ ٠.٨٤
ตารางเมตร )




                      แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ١٣
กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ คณิตศาสตร์                   ช่ ว งชั ้ น ที ่ ٣
        สาระที ่ ٢ : การวัด
หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ٢        เรื ่ อ ง การวัด         ชั ้ น
มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ٢ ปี ก ารศึ ก ษา ٢٥٥١
เรื ่ อ ง การคำานวณเกี่ยวกับพื้นที่ เวลาที ่ ใ ช้ ส อน ٢ ชั ่ ว โมง         ผู ้
สอน นางสาววารีรัตน์ รุมาคม

มาตรฐานการเรี ย นรู ้ ช ่ ว งชั ้ น
   มาตรฐาน ค ٢.١ : เข้าใจพื้นที่เกี่ยวกับการวัดความยาว
   มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣
      1. เข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติ
      ٢. เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่างๆเกี่ยวกับความยาว พื้นที่ และ
ปริมาตรได้อย่างเหมาะสม
   มาตรฐาน ค ٢.٣ : แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดได้
   มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣
      ١. ใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาว พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการ
แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้
สาระสำ า คั ญ
      พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส     = ด้าน × ด้าน
      พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก            = ด้านกว้าง × ด้านยาว
                                            1
      พื้นที่รูปสามเหลี่ยม              =   2
                                              ×   สูง   ×   ฐาน
    พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน     = ความยาวของฐาน ×
ความสูง
    พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน = ความยาวฐาน × ความสูง
                                                   1
หรือ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน =          2
                                                     ×      (ผลคูณความยาว
เส้นทแยงมุม)
                                            1
      พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู           =   2
                                              ×   สูง   ×   ผลบวกด้านคู่ขนาน
                                            1
      พื้นที่สี่เหลี่ยมใดๆ              =   2
                                              ×   ความยาวของเส้นทแยงมุม
× ผลบวกของเส้นกิ่ง ผลการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ค าดหวั ง / จุ ด ประสงค์ ก าร
เรี ย นรู ้
       ด้ า นความรู ้
       ١. หาพื้นที่ของรูปเหลี่ยมได้
       ด้ า นทั ก ษะและกระบวนการ
       ١. การให้เหตุผล
       ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะ
       ١. มีระเบียบวินัย
٢. มีความรับผิดชอบ
สาระการเรี ย นรู ้
      การหาพื้นที่ของรูปเหลี่ยมต่าง ๆ
กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้
      1. ครูเฉลยและให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายแก้ไขข้อผิดพลาดแบบ
ทดสอบ เรื่อง การวัดพื้นที่ และ ทำาแบบฝึกหัดในหนังสือเรียนสาระการ
เรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม ١ หน้า ٧٦
      ٢. แบ่งนักเรียนออกเป็น ١٠ กลุ่ม ๆ ละ ٥ คนให้แตละกลุ่มเลือก
ประธานกลุ่ม
      3. ครูกับนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการคำานวณเกี่ยวกับพื้นที่ พร้อม
ทั้งทบทวนการใช้สูตรของพื้นที่
      พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส   = ด้าน × ด้าน
      พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก         = ด้านกว้าง × ด้านยาว
                                        1
     พื้นที่รูปสามเหลี่ยม           =   2
                                          ×   สูง   ×   ฐาน
    พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน     = ความยาวของฐาน ×
ความสูง
    พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน = ความยาวฐาน × ความสูง
                                               1
หรือ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน =      2
                                                 ×      (ผลคูณความยาว
เส้นทแยงมุม)
                                        1
     พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู        =   2
                                          ×   สูง   ×   ผลบวกด้านคู่ขนาน
                                        1
     พื้นที่สี่เหลี่ยมใดๆ           =   2
                                          ×   ความยาวของเส้นทแยงมุม
×    ผลบวกของเส้นกิ่ง
พร้อมทั้งยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการคำานวณเกี่ยวกับพื้นที่
        ٤. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำารูปสี่เหลี่ยมแต่ละรูปนำามาประกอบ
กันเป็นรูปใหม่พร้อมทั้งหาพื้นที่ของรูปที่ได้
        ٥. นักเรียนทำาแบบฝึกหัดที่ ٢.٣ ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้น
ฐานคณิตศาสตร์ เล่ม ١
สื ่ อ / อุ ป กรณ์ แ ละแหล่ ง การเรี ย นรู ้
         สื ่ อ / อุ ป กรณ์
        1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ٢ เล่ม ١
        แหล่ ง การเรี ย นรู ้
         ١. ห้องเรียน
การวั ด ผลและประเมิ น ผล
ผลการเรียนรู้ที่คาด       วิธีวัด   เครื่องมือวัด     เกณฑ์การ
         หวัง                                          ประเมิน
หาพื้นที่ของรูป     การตรวจแบบ      แบบตรวจแบบ      นักเรียนทุก
เหลี่ยมต่างๆได้     ฝึกหัด             ฝึกหัด       คนมีผลการ
                                                    ประเมินอยู่ใน
                                                    ระดับ ٣ ขึ้นไป
การให้เหตุผล        การตรวจแบบ      แบบตรวจแบบ      นักเรียนทุก
                    ฝึกหัด             ฝึกหัด       คนมีผลการ
                                                    ประเมินอยู่ใน
                                                    ระดับ ٣ ขึ้นไป
มีระเบียบวินัย      การตรวจแบบ      แบบตรวจแบบ      นักเรียนทุก
                    ฝึกหัด             ฝึกหัด       คนมีผลการ
                                                    ประเมินอยู่ใน
                                                    ระดับ ٣ ขึ้นไป
มีความรับผิดชอบ     การตรวจแบบ      แบบตรวจแบบ      นักเรียนทุก
                    ฝึกหัด             ฝึกหัด       คนมีผลการ
                                                    ประเมินอยู่ใน
                                                    ระดับ ٣ ขึ้นไป
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด
การวัด

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie การวัด

02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาaumkpru45
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบNona Khet
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552wongsrida
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลdtschool
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 

Ähnlich wie การวัด (20)

02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
 
การบวก
การบวกการบวก
การบวก
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
 

การวัด

  • 1. แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ١٠ กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ คณิตศาสตร์ ช่ ว งชั ้ น ที ่ ٣ สาระที ่ ٢ : การวัด หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ٢ เรื ่ อ ง การวัด ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ٢ ปี ก ารศึ ก ษา ٢٥٥١ เรื ่ อ ง ความเป็นมาของการวัด เวลาที ่ ใ ช้ ส อน ١ ชั ่ ว โมง ผู ้ สอน นางสาววารีรัตน์ รุมาคม มาตรฐานการเรี ย นรู ้ ช ่ ว งชั ้ น มาตรฐาน ค ٢.١ : เข้าใจพื้นที่เกี่ยวกับการวัดความยาว มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣ ١. เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่างๆเกี่ยวกับความยาว พื้นที่ และ ปริมาตรได้อย่างเหมาะสม สาระสำ า คั ญ การพัฒนาหน่วยการวัดและเครื่องมือที่ใช้วัด ให้มีความเที่ยงตรง เป็นมาตรฐานเพียงใดก็ตามค่าที่ได้จากการวัดก็เป็นเพียง ค่าประมาณ ที่ ได้จากการวัดตามหน่วยการวัดที่เหมาะสมเท่านั้นและในชีวิตประจำาวัน เราไม่อาจนำาเครื่องวัดที่ใช้วัดไปใช้ในทุกสถานที่ ทุกเวลาได้ จำาเป็น ต้องประมาณความยาวหรือปริมาณของสิ่งต่างๆที่ต้องการทราบ การบอก ค่าประมาณของปริมาณสิ่งต่างๆ โดยไม่ได้วัดจริงเรียกว่า การคาดคะเน ผลการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ค าดหวั ง / จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ ด้ า นความรู ้ ١. ตระหนักว่าค่าที่ได้จากการวัดเป็นค่าประมาณ และเข้าใจ แนวคิดเกี่ยวกับการคาดคะเน ด้ า นทั ก ษะและกระบวนการ ١. การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะ ١. มีความรับผิดชอบ สาระการเรี ย นรู ้ ความเป็นมาของการวัด
  • 2. กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้ 1. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับวิวัฒนาการความเป็นมา ของการวัดที่นักเรียนเรียนมาแล้ว ٢. ครูอธิบายและใช้การถามตอบเกี่ยวกับหน่วยการวัดความยาว ตามมาตราไทยโบราณจากวรรณกรรมต่างๆ เช่น นิ้วข้าว เท่ากับ ٨ เมล็ดข้าว เมล็ดข้าวหนึ่ง เท่ากับ ٨ ตัวเหา ตัวเหาหนึ่ง เท่ากับ ٨ ไข่เหา ไข่เหาหนึ่ง เท่ากับ ٨ ธุลี ธุลีหนึ่ง เท่ากับ ٨ อณู อณูหนึ่ง เท่ากับ ٨ ปรมาณู มาตราวัดแบบไทยในสมัยโบราณ นิยมใช้ขนาดของมือเป็นเครื่อง มือวัดความยาว ซึ่งความยาวที่ได้จะไม่แน่นอน เช่น ความยาว ١ คืบ คือ ความยาวตั้งแต่ปลายนิ้วหัวแม่มือถึงปลายนิ้วก้อยเมื่อเหยียดนิ้วทุกนิ้วให้ กางออกเต็มที่ ความยาว ١ ศอก คือ ความยาวจากจุดกึ่งกลางของข้อพับ ถึงปลายนิ้วกลาง ถ้าเทียบกับความยาวมาตรฐานแล้ว ١ คืบ = ٢٥ เซนติเมตร ١ ศอก = ٢ คืบ = ٥٠ เซนติเมตร ١ วา = ٤ ศอก = ٢٠٠ เซนติเมตร = ٢ เมตร ٣. ครูอธิบายหน่วยของการวัดที่เป็นสากลเรียกว่า หน่วย SI (System International d’ Unit) หน่วยที่ใช้วัดเป็นมาตรฐานได้เก็บ รักษาไว้ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส หน่วยที่ใช้วัดได้แก่ เมตร (Meter : m) เป็นหน่วยวัดความยาว กิโลกรัม (Kilogram me : kg) เป็นหน่วยวัดนำ้าหนัก วินาที (Second : s) เป็นหน่วยเวลา แอมแปร์ (Ampere : A) เป็นหน่วยวัดกระแสไฟฟ้า เคลวิน (Kelvin : K) เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิที่เริ่มต้น จากศูนย์สัมบูรณ์ แคนดลา (Candela : cd) เป็นหน่วยวัดแสง โมล (Mole : mol) เป็นหน่วยวัดขนาดของสาร ٤. ครูแนะนำาให้นักเรียนสังเกตและจำาความยาวของระยะใดระยะ หนึ่งไว้ เพื่อใช้เปรียบเทียบกับระยะอื่นที่ต้องการคาดคะเน แล้วให้ นักเรียนลองคาดคะเนและวัดระยะทางมา ٥-٤ อย่าง แล้วให้นักเรียนทำา ใบกิจกรรม
  • 3. ٥. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่าการใช้ส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น นิ้ว คืบ ศอก และวา แบบโบราณนั้นไม่ใช่หน่วยการวัดที่มาตรฐานข้อตกลง เกี่ยวกับการวัดมาตราไทย ที่ทำาสืบต่อกันมาโดยใช้ส่วนต่างๆของ ร่างกายเหล่านี้ ใช้เป็นการประมาณความยาวเพื่อเป็นการสื่อสารให้ เข้าใจได้ใกล้เคียงกันอย่างหยาบๆ ٦. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปว่าค่าต่างๆที่ได้จากการวัด ทุกครั้ง เป็นค่าประมาณ และการบอกค่าประมาณของปริมาณสิ่งต่างๆ โดยไม่ได้วัดจริง เรียกว่า การคาดคะเน ٧. นักเรียนทำาแบบฝึกหัดเพิ่มเติม “เคยคิดบ้างไหม” ในหนังสือ เรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม ١ สื ่ อ / อุ ป กรณ์ แ ละแหล่ ง การเรี ย นรู ้ สื ่ อ / อุ ป กรณ์ 1. ใบกิจกรรม ٢. ไม้บรรทัด ٣. สายวัด ٤. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ٢ เล่ม ١ แหล่ ง การเรี ย นรู ้ ห้องเรียน
  • 4. การวั ด ผลและประเมิ น ผล ผลการเรียนรู้ที่คาด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การ หวัง ประเมิน นักเรียนสามารถ การตรวจใบ แบบตรวจใบ นักเรียนทุก ตระหนักว่าค่าที่ได้ กิจกรรม กิจกรรม คนมีผลการ จากการวัดเป็นค่า ประเมินอยู่ใน ประมาณ และเข้าใจ ระดับ ٣ ขึ้นไป แนวคิดเกี่ยวกับการ คาดคะเน การเชื่อมโยงความรู้ การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุก ต่างๆทาง ฝึกหัด ฝึกหัด คนมีผลการ คณิตศาสตร์และ ประเมินอยู่ใน เชื่อมโยง ระดับ ٣ ขึ้นไป คณิตศาสตร์กับ ศาสตร์อื่นๆ มีความรับผิดชอบ การตรวจใบ แบบตรวจใบ นักเรียนทุก กิจกรรม กิจกรรม คนมีผลการ ประเมินอยู่ใน ระดับ ٣ ขึ้นไป
  • 5. เกณฑ์ ก ารประเมิ น เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ประเด็ น การ ٤ ٣ ٢ ١ ประเมิ น (ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ควรปรับปรุง) ตระหนักว่า ผลการคาด ผลการคาด ผลการคาด ผลการคาด ค่าที่ได้จาก คะเนและการ คะเนและการ คะเนและการ คะเนและการ การวัดเป็นค่า วัดมีความ วัดมีความ วัดมีความ วัดไม่มีความ ประมาณ และ เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เข้าใจแนวคิด ประมาณได้ ประมาณได้ ประมาณได้ ประมาณได้ เกี่ยวกับการ ใกล้เคียงที่สุด ใกล้เคียงบาง ใกล้เคียงเล็ก ใกล้เคียงน้อย คาดคะเน ส่วน น้อย ที่สุด การเชื่อมโยง นำาความรู้ นำาความรู้ นำาความรู้ นำาความรู้ ความรู้ต่างๆ หลักการและ หลักการและ หลักการและ หลักการและ ทาง วิธีการทาง วิธีการทาง วิธีการทาง วิธีการทาง คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยง ในการเชื่อม ในการเชื่อม ในการเชื่อม ในการเชื่อม คณิตศาสตร์ โยงกับสาระ โยงกับสาระ โยงกับสาระ โยงไม่เหมาะ กับศาสตร์อื่นๆ คณิตศาสตร์/ คณิตศาสตร์/ คณิตศาสตร์ สม หรือไม่มี สาระอื่น/ใน สาระอื่น/ใน ได้บางส่วน การเชื่อมโยง ชีวิตประจำาวัน ชีวิตประจำาวัน กับสาระอื่นใด เพื่อช่วยใน เพื่อช่วยใน การแก้ปัญหา การแก้ปัญหา หรือประยุกต์ หรือประยุกต์ ใช้ได้อย่าง ใช้ได้อย่าง สอดคล้องและ สอดคล้องและ เหมาะสม เหมาะสม มีความรับผิด - ส่งผลงาน - ส่งผลงาน นำาความรู้ นำาความรู้หลัก ชอบ ก่อนหรือตรง ช้ากว่า หลักการและ การและวิธี กำาหนด กำาหนด แต่ได้ วิธีการทาง การทาง เวลานัดหมาย มีการติดต่อ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ - รับผิดชอบ ชี้แจงครูผู้ ในการเชื่อม ในการเชื่อม ในงานที่ได้ สอน มีเหตุผล โยงกับสาระ โยงไม่เหมาะ รับมอบหมาย ที่รับฟังได้ คณิตศาสตร์ สม หรือไม่มี และ - รับผิดชอบ ได้บางส่วน การเชื่อมโยง งานปฏิบัติเอง ในงานที่ได้ กับสาระอื่นใด จนเป็นนิสัย รับมอบหมาย แก่ผู้อื่นและ ปฏิบติเองจน แนะนำา เป็นนิสัย ชักชวนให้
  • 6. ผู้อื่นปฏิบัติ แบบประเมิ น การปฏิ บ ั ต ิ ง านเป็ น รายบุ ค คล แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ 10 เรื่อง ความเป็นมาของการวัด การเชื่อมโยงความรู้ มีความรับ ต่างๆทาง ผิดชอบ คณิตศาสตร์และ คะแน ระดับ ชื่อ - ที่ เชื่อมโยง นรวม คุณภาพ สกุล คณิตศาสตร์กับ ศาสตร์อื่นๆ ٤ ٤ ٨ ٤ ระดับคุณภาพ ٤ หมายถึง ดีมาก คะแนนรวม ٨ - ٧ ระดับคุณภาพ ٣ หมายถึง ดี คะแนนรวม ٦ - ٥ ระดับคุณภาพ ٢ หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม ٤ - ٣ ระดับคุณภาพ ١ หมายถึง ควรปรับปรุง คะแนนรวม ١ ٢– กิ จ กรรมเสนอแนะ ...................................................................................... .............................................................................................
  • 7. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............ บั น ทั ก ผลหลั ง การสอน ผลการเรียนรู้ ด้านความ รู้............................................................................................ ................................ ........................................................ ............................................................................................. ....... ...................................................................................... ...................................................................... ด้านทักษะและ กระบวนการ............................................................................. ..................... ....................................................................... ..................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................... ด้าน คุณลักษณะ.............................................................................. ...................................... ................................................. ............................................................................................. .............. ...................................................................................... ...................................................................... ปัญหาและอุปสรรค
  • 8. ...................................................................................... ........................................................ ...................................................................................... ...................................................................... ...................................................................................... ...................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ...................................................................................... ........................................................ ...................................................................................... ...................................................................... ...................................................................................... ...................................................................... ลงชื่อ………………………………. ( น.ส.วารีรัตน์ รุมาคม ) นักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู ข้ อ เสนอแนะของอาจารย์ น ิ เ ทศก์ โ รงเรี ย นร่ ว มพั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู ...................................................................................... ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ........................... ลงชื่อ.................................................. ( นางนงลักษณ์ พรหมสิทธิ์ ) อาจารย์นิเทศก์โรงเรียนร่วมพัฒนา วิชาชีพครู
  • 9. ใบกิ จ กรรม เรื ่ อ ง วั ด จริ ง จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ ตระหนักว่าค่าที่ได้จากการวัดนั้นเป็นค่า ประมาณ และเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับการ คาดคะเน คำ า ชี ้ แ จง ให้นักเรียนคาดคะเนแล้วใช้ส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น นิ้ว คืบ ศอกและวาแบบโบราณ วัดความยาวของสิ่งต่างๆแล้วเปรียบเทียบดูว่าการวัดของ นักเรียนคลาดเคลื่อนจากที่วัดจริง มากหรือไม่แล้วบันทึกผลลงในตาราง กำ า หนด วั ด โดยใช้ ส ่ ว น วั ด โดยใช้ เ ครื ่ อ ง ต่ า งๆของร่ า งกาย มื อ การวั ด (ซม.) 1. ความยาวของศอก ٢. ความยาวของแขน ٣. ความสูงของประตู ٤. ความสูงของ กระดาน ٥. ความยาวรอบเอว ٦. ความกว้างของ หน้าต่าง
  • 10. แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ١١ กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ คณิตศาสตร์ ช่ ว งชั ้ น ที ่ ٣ สาระที ่ ٢ : การวัด หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ٢ เรื ่ อ ง การวัด ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ٢ ปี ก ารศึ ก ษา ٢٥٥١ เรื ่ อ ง การวัดความยาว เวลาที ่ ใ ช้ ส อน ٢ ชั ่ ว โมง ผู ้ ส อน นางสาววารีรัตน์ รุมาคม มาตรฐานการเรี ย นรู ้ ช ่ ว งชั ้ น มาตรฐาน ค ٢.١ : เข้าใจพื้นที่เกี่ยวกับการวัดความยาว มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣ ١. เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่างๆเกี่ยวกับความยาว พื้นที่ และ ปริมาตรได้อย่างเหมาะสม มาตรฐาน ค ٢.٢ : วัดและคาดคะเนของสิ่งที่ต้องการวัดได้ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣ ١. คาดคะเนเวลา ระยะทาง ขนาด และนำ้าหนักอย่างใกล้เคียง และ อธิบายวิธีการที่ใช้การคาดคะเนได้ ٢. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่างๆได้อย่างเหมาะสม สาระสำ า คั ญ การเปลี่ยนหน่วยหรือระบบในมาตราเดียวกันจากหน่วยย่อยเป็น หน่วยใหญ่จะต้องใช้การหาร และจากหน่วยใหญ่เป็นหน่วยย่อยจะต้อง ใช้การคูณ และเปรียบเทียบหน่วยการวัดความยาวต่างระบบให้เป็นระ เดียวกันก่อน ค่าที่ได้จากการวัดนั้นเป็นเพียง ค่าประมาณ ที่ได้จากการวัดความ ยาวตามหน่วยการวัดที่เหมาะสมเท่านั้นและ การบอกค่าประมาณของ ปริมาณของสิ่งต่างๆ โดยไม่ได้วัดจริง เรียกว่า การคาดคะเน ผลการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ค าดหวั ง / จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ ด้ า นความรู ้ 1. เปรียบเทียบหน่วยการวัดความยาว ในระบบเดียวกันและต่าง ระบบได้ ٢. เลือกใช้หน่วยการวัดความยาวได้อย่างเหมาะสม ٣. คาดคะเน ความยาวของสิ่งที่กำาหนดให้ได้อย่างใกล้เคียง และ สามารถอธิบายวิธีการที่ใช้คาดคะเนได้ ด้ า นทั ก ษะและกระบวนการ
  • 11. ١. ในการให้เหตุผล ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะ ١. มีระเบียบวินัย สาระการเรี ย นรู ้ ١. การเปรียบเทียบหน่วยการวัดความยาวในระบบเดียวกันและ ต่างระบบ 2. การเลือกใช้หน่วยการวัดความยาว ٣. การคาดคะเนความยาว กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้ 1. ครูทบทวนหน่วยการวัดความยาวต่างๆ พร้อมทั้งให้นักเรียนยก ตัวอย่างหน่วยการวัดความยาวที่นักเรียนรู้จัก 2. ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่องหน่วยการวัดความยาวในระบบต่าง ๆ หน่ ว ยการวั ด ความยาวระบบเมตริ ก ซึ่งมีหน่วยรากฐานความยาวเป็น เมตร เป็นหน่วยความยาวที่นิยมแพร่ หลายเป็นสากล ١٠ มิลลิเมตร เท่ากับ ١ เซนติเมตร ١٠٠ เซนติเมตร เท่ากับ ١ เมตร ١,٠٠٠ เมตร เท่ากับ ١ กิโลเมตร หน่ ว ยการวั ด ความยาวระบบอั ง กฤษ ١٢ นิ้ว เท่ากับ ١ ฟุต ٣ ฟุต เท่ากับ ١ หลา ١,٧٦٠ หลา เท่ากับ ١ ไมล์ หน่ ว ยการวั ด ความยาวมาตราไทย ١٢ นิ้ว เท่ากับ ١ คืบ ٢ คืบ เท่ากับ ١ ศอก ٤ ศอก เท่ากับ ١ วา ٢٠ วา เท่ากับ ١ เส้น ٤٠٠ เส้น เท่ากับ ١ โยชน์ กำาหนด ١ วา เท่ากับ ٢ เมตร หน่ ว ยการวั ด ความยาวระบบอั ง กฤษเที ย บกั บ ระบบเมตริ ก (โดย ประมาณ) ١ นิ้ว เท่ากับ ٢.٥٤ เซนติเมตร ١ หลา เท่ากับ ٠.٩١٤٤ เมตร
  • 12. ١ ไมล์ เท่ากับ ١.٦٠٣٩ กิโลเมตร ٣. ครูยกตัวอย่างโจทย์เกี่ยวกับหน่วยความยาวในระบบต่าง ๆ และ ให้นักเรียนทำาใบกิจกรรม เรื่อง การวัดความยาว ตัวอย่าง นัทสูง ١٧٥ เซนติเมตร อยากทราบว่านัทสูงกี่เมตร เนื่องจาก ١٠٠ เซนติเมตร เท่ากับ ١ เมตร และนัทสูง ١٧٥ เซนติเมตร 175 ดังนั้น นัทสูง 100 = 1.75 เมตร ตอบ ١.٧٥ เมตร 4. ครูสนทนาและยกตัวอย่างเกี่ยวกับการคาดคะเนสิ่งของต่าง ๆ และให้นักเรียนในห้องช่วยกันคาดคะเนสิ่งของที่ครูกำาหนดให้ว่ายาว เท่าใด 5. ครูให้นักเรียนนำาอุปกรณ์หรือเครื่องมือ เช่น ไม้บรรทัด ตลับ เมตร สายวัด มาวัดสิ่งของที่นักเรียนคาดคะเนกันว่าใครคาดคะเนได้ใกล้ เคียงที่สุด และนำาผลที่ได้จากการปฏิบัติของนักเรียนมาอภิปรายร่วมกัน ในห้องเรียนเพื่อยืนยันแนวคิดที่ว่าค่าที่ได้จากการวัดเป็นค่าประมาณ ٦. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป ในการเปลี่ยนหน่วยในระบบหรือ มาตราเดียวกันจากหน่วยย่อยเป็นหน่วยใหญ่จะต้องใช้การหาร และจาก หน่วยใหญ่เป็นหน่วยย่อยจะต้องใช้การคูณ และเปรียบเทียบหน่วยการ วัดความยาวต่างระบบต้องทำาเป็นระบบเดียวกันก่อน ٧. ครูให้นักเรียนทำาแบบทดสอบ เรื่อง การวัดความยาว และ แบบฝึกหัดที่ ٢.١ ในหนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม ١ สื ่ อ / อุ ป กรณ์ แ ละแหล่ ง การเรี ย นรู ้ สื ่ อ / อุ ป กรณ์ ١. ใบกิจกรรม ٢. แบบทดสอบ ٣. เฉลยใบกิจกรรม ٤. เฉลยแบบทดสอบ ٥. สายวัด , ไม้บรรทัด , ตลับเมตร ٦. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ٢ เล่ม ١ แหล่ ง การเรี ย นรู ้ ١. ห้องเรียน
  • 13. ٢. อาคารสถานที่ภายในโรงเรียน การวั ด ผลและประเมิ น ผล ผลการเรียนรู้ที่คาด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การ หวัง ประเมิน เปรียบเทียบหน่วย การตรวจใบ แบบตรวจใบ นักเรียนทุก การวัดความยาว ใน กิจกรรม กิจกรรม คนมีผลการ ระบบเดียวกันและ ประเมินอยู่ใน ต่างระบบได้ ระดับ ٣ ขึ้นไป เลือกใช้หน่วยการ การตรวจใบ แบบตรวจใบ นักเรียนทุก วัดความยาวได้ กิจกรรม กิจกรรม คนมีผลการ อย่างเหมาะสม ประเมินอยู่ใน ระดับ ٣ ขึ้นไป คาดคะเน ความยาว การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุก ของสิ่งที่กำาหนดให้ ฝึกหัด ฝึกหัด คนมีผลการ ได้อย่างใกล้เคียง ประเมินอยู่ใน และสามารถอธิบาย ระดับ ٣ ขึ้นไป วิธีการที่ใช้คาด คะเนได้ ในการให้เหตุผล การตรวจใบ แบบตรวจใบ นักเรียนทุก กิจกรรม กิจกรรม คนมีผลการ ประเมินอยู่ใน ระดับ ٣ ขึ้นไป มีระเบียบวินัย การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุก ฝึกหัด ฝึกหัด คนมีผลการ ประเมินอยู่ใน ระดับ ٣ ขึ้นไป
  • 14. เกณฑ์ ก ารประเมิ น เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ประเด็ น การ ٤ ٣ ٢ ١ ประเมิ น (ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ควรปรับปรุง) เปรียบเทียบ ทำาได้ถูกต้อง ทำาได้ถูกต้อง ทำาได้ถูกต้อง ทำาได้ ٤ - ٠ หน่วยการวัด ١٥ – ١٣ ข้อ ١٢ - ٩ ข้อ ٨ – ٥ ข้อ ข้อ ความยาว ใน ระบบเดียวกัน และต่างระบบ ได้ เลือกใช้หน่วย ผลการวัดและ บอกวิธีการใช้ เลือกเครื่องมือ เลือกและใช้ การวัดความ ระบุหน่วยการ เครื่องมือได้ ได้เหมาะสม เครื่องวัดไม่ ยาวได้อย่าง วัดที่ได้จาก ถูกต้องดำาเนิน กับสิ่งที่วัด ถูกต้อง เหมาะสม การวัดถูกต้อง การวัดได้ถูก และบอก ต้อง เหตุผลในการ เลือกเครื่องวัด ได้ คาดคะเน ผลการคาด ผลการคาด ผลการคาด ผลการคาด ความยาวของ คะเนและการ คะเนและการ คะเนและการ คะเนและการ สิ่งที่กำาหนดให้ วัดมีความ วัดมีความ วัดมีความ วัดมีความ ได้อย่างใกล้ เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เคียง และ ประมาณได้ ประมาณได้ ประมาณได้ ประมาณได้ สามารถอธิบาย ใกล้เคียงที่สุด ใกล้เคียงบาง ใกล้เคียงเล็ก ใกล้เคียงน้อย วิธีการที่ใช้ ส่วน น้อย ที่สุด คาดคะเนได้ ในการให้ มีการอ้างอิง มีการอ้างอิง เสนอแนวคิด มีความ เหตุผล เสนอแนวคิด ถูกต้องบาง ไม่สมเหตุสม พยายามเสนอ ประกอบการ ส่วนและเสนอ ผลในการ แนวคิด ตัดสินใจอย่าง แนวคิด ประกอบ ประกอบการ สมเหตุสมผล ประกอบการ การตัตสินใจ ตัดสินใจ ตัดสินใจ มีระเบียบวินัย มีการอ้างอิง มีการอ้างอิงที่ เสนอแนวคิด สมุดงาน ชิ้น เสนอแนวคิด ถูกต้องบาง ไม่สมเหตุสม งานไม่ค่อย ประกอบการ ส่วนและเสนอ ผลในการ เรียบร้อย ตัดสินใจอย่าง แนวคิด ประกอบการ ปฏิบัติอยู่ใน
  • 15. สมเหตุสมผล ประกอบการ ตัดสินใจ ข้อตกลงที่ ตัดสินใจ กำาหนดให้ ร่วมกันเป็น บางครั้ง ต้อง อาศัยการ แนะนำาอยู่ บ่อยครั้ง แบบประเมิ น การปฏิ บ ั ต ิ ง านเป็ น รายบุ ค คล แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ 11 เรื่อง การวัดความยาว ในการให้ มีระเบียบ ระดับ คะแนน ชื่อ - เหตุผล วินัย คุณภา ที่ รวม สกุล พ ٤ ٤ ٨ ٤ ระดับคุณภาพ ٤ หมายถึง ดีมาก คะแนนรวม ٨ - ٧ ระดับคุณภาพ ٣ หมายถึง ดี คะแนนรวม ٦ - ٥ ระดับคุณภาพ ٢ หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม ٤ - ٣ ระดับคุณภาพ ١ หมายถึง ควรปรับปรุง คะแนนรวม ١ ٢– กิ จ กรรมเสนอแนะ
  • 16. ...................................................................................... ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............ บั น ทั ก ผลหลั ง การสอน ผลการเรียนรู้ ด้านความ รู้............................................................................................ ................................ ........................................................ ............................................................................................. ....... ...................................................................................... ...................................................................... ด้านทักษะและ กระบวนการ............................................................................. ..................... ....................................................................... ..................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................... ด้าน คุณลักษณะ.............................................................................. ...................................... ................................................. ............................................................................................. ..............
  • 17. ...................................................................................... ...................................................................... ปัญหาและอุปสรรค ...................................................................................... ........................................................ ...................................................................................... ...................................................................... ...................................................................................... ...................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ...................................................................................... ........................................................ ...................................................................................... ...................................................................... ...................................................................................... ...................................................................... ลงชื่อ………………………………. ( น.ส.วารีรัตน์ รุมาคม ) นักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู ข้ อ เสนอแนะของอาจารย์ น ิ เ ทศก์ โ รงเรี ย นร่ ว มพั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู ...................................................................................... ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ........................... ลงชื่อ..................................................
  • 18. ( นางนงลักษณ์ พรหมสิทธิ์ ) อาจารย์นิเทศก์โรงเรียนร่วมพัฒนา วิชาชีพครู ใบกิ จ กรรม เรื ่ อ ง การวั ด ความยาว จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ เปรียบเทียบหน่วยความยาวในระบบเดียวกัน และต่างระบบได้ คำ า ชี ้ แ จง ให้นักเรียนปฏิบัติดังต่อไปนี้ ١. จงเติมคำาตอบลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ١) เชือกเส้นนี้ยาว ٥ เมตร คิดเป็น ................... เซนติเมตร ٢) บ้านก้อยอยู่ห่างจากบ้านนุ้ย ١.٢ กิโลเมตร คิดเป็น ..................... เมตร ٣) ด้านหน้าของที่ดินแปลงนี้กว้าง ٤٠ เมตร คิดเป็น ..................... วา ٤) ถนนเลียบคลองสายนี้ยาว ٢,٥٠٠ เมตร คิดเป็น ..................... กิโลเมตร ٢. จงเปรียบเทียบความยาวในแต่ละข้อและระบุความยาวที่มากกว่า ١) สุดาสูง ٦ ฟุต กับดวงใจสูง ١٧٥ เซนติเมตร ٢) เรือบดยาว ٣ วา กับเรือพายยาว ٥ เมตร ٣) ระยะทางจากกรุงเทพมหานคร ถึงจังหวัดนครราชสีมาประมาณ ٢ ٥٤ กิโลเมตร กับ ระยะทางจากกรุงเทพมหานคร ถึงเกาะช้าง จังหวัดตราด ประมาณ ٢٠٥ ไมล์ ٤) ไม้ยาว ٥ ฟุต ٧ นิ้ว กับ ไม้ยาว ١٧٠ เซนติเมตร
  • 19. แบบทดสอบ เรื ่ อ ง การวั ด ความยาว จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ เปรียบเทียบหน่วยความยาวในระบบเดียวกัน และต่างระบบได้ คำ า ชี ้ แ จง ให้นักเรียนปฏิบัติดังต่อไปนี้ ١. จงเปลี่ยนหน่วยความยาว เติมลงในช่องว่างให้เป็นไปตามหน่วยที่ กำาหนด ١.١ ٥ เซนติเมตร = ...................... มิลลิเมตร ١.٢ ١٧ เซนติเมตร = ...................... มิลลิเมตร ١.٣ ٣.٢ เซนติเมตร = ...................... มิลลิเมตร ١.٤ ٢٥.٦ เซนติเมตร = ...................... มิลลิเมตร ١.٥ ٥,٠٠٠ มิลลิเมตร = ...................... เซนติเมตร ١.٦ ٢٣ เมตร = ...................... เซนติเมตร ١.٧ ٢,٠٠٠ เมตร = ...................... กิโลเมตร ١.٨ ٢.٣٥ เมตร = ...................... เซนติเมตร ١.٩ ١.٢ กิโลเมตร = ...................... เมตร ١.١٠ ٦٣٠ มิลิเมตร = ...................... เมตร ٢. ให้นักเรียนเติมเครื่องหมาย = , > หรือ < ในช่องว่าง ٢.١ ٠.٥ ม. ........... ٥ มม. ٢.٢ ٦٥٠ มม. ........... ٦٠ ซม. ٢.٣ ٧٥٠ ซม. ........... ٠.٧٥ กม. ٢.٤ ١٢.٥ ซม. ........... ١.٢٥ มม. ٢.٥ ١٠ ซม. ........... ٠.٠١ กม.
  • 20. ใบเฉลยใบกิ จ กรรม เรื ่ อ ง การวั ด ความยาว ١. จงเติมคำาตอบลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ١) เชือกเส้นนี้ยาว ٥ เมตร คิดเป็น 500 เซนติเมตร ٢) บ้านก้อยอยู่ห่างจากบ้านนุ้ย ١.٢ กิโลเมตร คิดเป็น 1,٢٠٠ เมตร ٣) ด้านหน้าของที่ดินแปลงนี้กว้าง ٤٠ เมตร คิดเป็น ٢٠ วา ٤) ถนนเลียบคลองสายนี้ยาว ٢,٥٠٠ เมตร คิดเป็น ٢.٥ กิโลเมตร ٢. จงเปรียบเทียบความยาวในแต่ละข้อและระบุความยาวที่มากกว่า ١) สุดาสูง ٦ ฟุต กับดวงใจสูง ١٧٥ เซนติเมตร ∴ ความยาวที่มากกว่าคือ ٦ ฟุต ٢) เรือบดยาว ٣ วา กับเรือพายยาว ٥ เมตร ∴ ความยาวที่มากกว่าคือ 3 วา ٣) ระยะทางจากกรุงเทพมหานคร ถึงจังหวัดนครราชสีมาประมาณ ٢ ٥٤ กิโลเมตร กับ ระยะทางจากกรุงเทพมหานคร ถึงเกาะช้าง จังหวัดตราด ประมาณ ٢٠٥ ไมล์ ∴ ความยาวที่มากกว่าคือ ٢٠٥ ไมล์ ٤) ไม้ยาว ٥ ฟุต ٧ นิ้ว กับ ไม้ยาว ١٧٠ เซนติเมตร ∴ ความยาวที่มากกว่าคือ ٥ ฟุต ٧ นิ้ว
  • 21. ใบเฉลยแบบทดสอบ เรื ่ อ ง การวั ด ความยาว ١. จงเปลี่ยนหน่วยความยาว เติมลงในช่องว่างให้เป็นไปตามหน่วยที่ กำาหนด ١.١ ٥ เซนติเมตร = ٥٠ มิลลิเมตร ١.٢ ١٧ เซนติเมตร = ١٧٠ มิลลิเมตร ١.٣ ٣.٢ เซนติเมตร = ٣٢ มิลลิเมตร ١.٤ ٢٥.٦ เซนติเมตร = ٢٥٦ มิลลิเมตร ١.٥ ٥,٠٠٠ มิลลิเมตร = ٥٠٠ เซนติเมตร ١.٦ ٢٣ เมตร = ٢,٣٠٠ เซนติเมตร ١.٧ ٢,٠٠٠ เมตร = ٢ กิโลเมตร ١.٨ ٢.٣٥ เมตร = ٢٣٥ เซนติเมตร ١.٩ ١.٢ กิโลเมตร = ١,٢٠٠ เมตร ١.١٠ ٦٣٠ มิลิเมตร = ٠.٦٣ เมตร ٢. ให้นักเรียนเติมเครื่องหมาย = , > หรือ < ในช่องว่าง ٢.١ ٠.٥ ม. > ٥ มม. ٢.٢ ٦٥٠ มม. > ٦٠ ซม. ٢.٣ ٧٥٠ ซม. < ٠.٧٥ กม. ٢.٤ ١٢.٥ ซม. > ١.٢٥ มม. ٢.٥ ١٠ ซม. < ٠.٠١ กม.
  • 22. แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ١٢ กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ คณิตศาสตร์ ช่ ว งชั ้ น ที ่ ٣ สาระที ่ ٢ : การวัด หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ٢ เรื ่ อ ง การวัด ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ٢ ปี ก ารศึ ก ษา ٢٥٥١ เรื ่ อ ง การวัดพื้นที่ เวลาที ่ ใ ช้ ส อน ٢ ชั ่ ว โมง ผู ้ ส อน นางสาววารีรัตน์ รุมาคม มาตรฐานการเรี ย นรู ้ ช ่ ว งชั ้ น มาตรฐาน ค ٢.١ : เข้าใจพื้นที่เกี่ยวกับการวัดความยาว มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣ ١. เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่างๆเกี่ยวกับความยาว พื้นที่ และ ปริมาตรได้อย่างเหมาะสม มาตรฐาน ค ٢.٣ : แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดได้ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣ ١. ใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาว พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการ แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้ สาระสำ า คั ญ การเปลี่ยนหน่วยการวัดพื้นที่ในระบบหรือมาตราเดียวกัน สามารถ คำานวณได้จากการเปลี่ยนหน่วยการวัดความยาวตามความสัมพันธ์ของ หน่วยในระบบหรือมาตรานั้น ١ ตารางเมตร = ١٠,٠٠٠ ตารางเซนติเมตร ١ ตารางกิโลเมตร = ١,٠٠٠,٠٠٠ ตารางเมตร ١ ตารางฟุต = ١٤٤ ตารางนิ้ว ٩ ตารางฟุต = ١ ตารางหลา ١ ไร่ = ٤ งาน ١ งาน = ١٠٠ ตารางวา ١ ไร่ = ٤٠٠ ตารางวา ١ ตารางวา = ٤ ตารางเมตร ١ ตารางกิโลเมตร = ٦٢٥ ไร่ ผลการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ค าดหวั ง / จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ ด้ า นความรู ้ ١. เปรียบเทียบหน่วยการวัดพื้นที่ ในระบบเดียวกันและต่างระบบ ได้ ٢. เลือกใช้หน่วยการวัดพื้นที่ ได้อย่างเหมาะ ด้ า นทั ก ษะและกระบวนการ
  • 23. ١. การแก้ปัญหา ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะ ١. ทำางานอย่างเป็นระบบ สาระการเรี ย นรู ้ 1. การเปรียบเทียบหน่วยการวัดพื้นที่ ในระบบเดียวกันและต่าง ระบบได้ 2. เลือกใช้หน่วยการวัดพื้นที่ กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้ 1. ครูเฉลยและให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายแก้ไขข้อผิดพลาดใน แบบฝึกหัดที่ 2.2 2. ครูกับนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการวัดความยาวของสิ่งต่าง ๆ และซักถามนักเรียนดังนี้ - หน่วยการวัดความยาวที่นักเรียนรู้จักมีหน่วยอะไรบ้าง และ เป็นระบบใด - นักเรียนสามารถเปลี่ยนหน่วยการวัดที่ได้จากหน่วยต่างๆ ให้ เป็นหน่วยเดียวกันได้หรือไม่ - นักเรียนสามารถเปลี่ยนหน่วยการวัดที่ได้จากหน่วยต่างๆ ให้ เป็นหน่วยเดียวกันได้อย่างไร ٣. ครูอธิบายและให้นักเรียนศึกษาถึงหน่วยการวัดพื้นที่ การเปลี่ยนหน่วยการวัดพื้นที่ในระบบหรือมาตราเดียวกัน สามารถคำานวณได้จาก การเปลี่ยนหน่วยการวัดความยาวตามความ สัมพันธ์ของหน่วยในระบบหรือมาตรานั้น ดังนี้ รูป ก และ รูป ข เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีพื้นที่เท่ากับ ١ ตารางเมตร เมื่อต้องการเปลี่ยนหน่วยเป็นตารางเซนติเมตรทำาได้ดังนี้ รูป ก ١ เมตร รูป ข ١٠٠ เซนติเมตร ١ เมตร ١٠٠ เซนติเมตร เนื่องจาก ١ เมตร = ١٠٠ เซนติเมตร ∴ พื้นที่รูป ก = พื้นที่รูป ข ١ เมตร × ١ เมตร = ١٠٠ เซนติเมตร × ١٠٠ เซนติเมตร ดังนั้น 1 ตารางเมตร = ١٠,٠٠٠ ตารางเซนติเมตร รูป ก ١ กิโลเมตร รูป ข ١,٠٠٠ เมตร ١ กิโลเมตร ١,٠٠٠ เมตร
  • 24. เนื่องจาก ١ กม. = ١,٠٠٠ เมตร ∴ พื้นที่รูป ก = พื้นที่รูป ข ١ กม. × ١ กม. = ١,٠٠٠ เมตร × ١,٠٠٠ เมตร ดังนั้น 1 ตารางกิโลเมตร = ١,٠٠٠,٠٠٠ ตารางเมตร 4. ครูให้นักเรียนศึกษา เรื่อง หน่วยการวัดพื้นที่ หน่ ว ยการวั ด พื ้ น ที ่ ใ นระบบเมตริ ก ١ ตารางเซนติเมตร เท่ากับ ١٠٠ หรือ 10 2 ตาราง มิลลิเมตร ١ ตารางเมตร เท่ากับ ١٠,٠٠٠ หรือ 10 4 ตาราง เซนติเมตร ١ ตารางกิโลเมตร เท่ากับ ١,٠٠٠,٠٠٠ หรือ 10 6 ตารางเมตร หน่ ว ยการวั ด พื ้ น ที ่ ใ นระบบอั ง กฤษ ١ ตารางฟุต เท่ากับ ١٤٤ หรือ 12 2 ตารางนิ้ว ١ ตารางหลา เท่ากับ ٩ หรือ 32 ตารางฟุต ١ เอเคอร์ เท่ากับ ٤,٨٤٠ ตารางหลา ١ ตารางไมล์ เท่ากับ ٦٤٠ เอเคอร์ หรือ ١ ตารางไมล์ เท่ากับ 1,760 2 ตารางหลา หน่ ว ยการวั ด พื ้ น ที ่ ใ นระบบมาตราไทย ١٠٠ ตารางวา เท่ากับ ١ งาน ٤ งาน เท่ากับ ١ ไร่ หรือ ٤٠٠ ตารางวา เท่ากับ ١ ไร่ หน่ ว ยการวั ด พื ้ น ที ่ ใ นมาตราไทยเที ย บกั บ ระบบเมตริ ก ١ ตารางวา เท่ากับ ٤ ตารางเมตร ١ งาน เท่ากับ ٤٠٠ ตารางเมตร หรือ ١ ไร่ เท่ากับ ١,٦٠٠ ตารางเมตร ١ ตารางกิโลเมตร เท่ากับ ٦٢٥ ไร่ ٥. ครูให้นักเรียนทำาใบกิจกรรมเรื่อง การวัดพื้นที่ ٦. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่าในการทำาใบกิจกรรมเกี่ยวกับการเปลี่ยน หน่วยการวัดพื้นที่จากหน่วยหนึ่งเป็นอีกหน่วยหนึ่งนั้นควรสังเกตการ เปลี่ยนหน่วยการวัดความยาวของแต่ละด้าน เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน ระหว่างการเปลี่ยนหน่วยการวัดความยาวและการเปลี่ยนหน่วยการวัด พื้นที่
  • 25. ٧. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปการเปลี่ยนหน่วยการวัดพื้นที่ในระบบ มาตราเดียวกัน สามารถคำานวณได้จากการเปลี่ยนหน่วยการวัดความ ยาวตามความสัมพันธ์ของหน่วยในระบบหรือมาตรานั้น ٨. ครูให้นักเรียนทำาแบบทดสอบ เรื่อง การวัดพื้นที่ และ ทำาแบบ ฝึกหัดในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม ١ หน้า ٧ ٦ สื ่ อ / อุ ป กรณ์ แ ละแหล่ ง การเรี ย นรู ้ สื ่ อ / อุ ป กรณ์ ١. ใบกิจกรรม 2. ใบเฉลยใบกิจกรรม ٣. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ٢ เล่ม ١ แหล่ ง การเรี ย นรู ้ ١. ห้องเรียน ٢. อาคารสถานที่ภายในโรงเรียน
  • 26. การวั ด ผลและประเมิ น ผล ผลการเรียนรู้ที่คาด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การ หวัง ประเมิน เปรียบเทียบหน่วย การตรวจใบ แบบตรวจใบ นักเรียนทุก การวัดพื้นที่ ใน กิจกรรม กิจกรรม คนมีผลการ ระบบเดียวกันและ ประเมินอยู่ใน ต่างระบบได้ ระดับ ٣ ขึ้นไป เลือกใช้หน่วยการ การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุก วัดพื้นที่ ได้อย่าง ฝึกหัด ฝึกหัด คนมีผลการ เหมาะ ประเมินอยู่ใน ระดับ ٣ ขึ้นไป การแก้ปัญหา การตรวจใบ แบบตรวจใบ นักเรียนทุก กิจกรรม กิจกรรม คนมีผลการ ประเมินอยู่ใน ระดับ ٣ ขึ้นไป ทำางานอย่างเป็น การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุก ระบบ ฝึกหัด ฝึกหัด คนมีผลการ ประเมินอยู่ใน ระดับ ٣ ขึ้นไป
  • 27. เกณฑ์ ก ารประเมิ น เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ประเด็ น การ ٤ ٣ ٢ ١ ประเมิ น (ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ควรปรับปรุง) เปรียบเทียบ ทำาได้ถูกต้อง ทำาได้ถูกต้อง ทำาได้ถูกต้อง ทำาได้ ٢ – ٠ หน่วยการวัด ١٠ – ٨ ข้อ ٧ – ٦ ข้อ ٥ – ٣ ข้อ ข้อ พื้นที่ ในระบบ เดียวกันและ ต่างระบบได้ เลือกใช้หน่วย ผลการวัดและ บอกวิธีการใช้เลือกเครื่องมือ เลือกและใช้ การวัดพื้นที่ ระบุหน่วยการ เครื่องมือได้ได้เหมาะสม เครื่องวัดไม่ ได้อย่างเหมาะ วัดที่ได้จาก ถูกต้องดำาเนิน กับสิ่งที่วัดและ ถูกต้อง การวัดถูกต้อง การวัดได้ถูก บอกเหตุผล ต้อง ในการเลือก เครื่องวัดได้ การแก้ปัญหา ใช้ยุทธวิธีใน ใช้ยุทธวิธี ใช้ยุทธวิธี ทำาได้ไม่ถึง การดำาเนิน ดำาเนินการแก้ ดำาเนินการแก้ เกณฑ์ข้างต้น การแก้ปัญหา ปัญหาสำาเร็จ ปัญหาสำาเร็จ หรือไม่มีร่อง สำาเร็จอย่างมี อธิบายถึง บางส่วน รอยการ ประสิทธิภาพ เหตุผลในการ อธิบายถึง ดำาเนินการแก้ อธิบายถึง ใช้วิธีการดัง เหตุผลในการ ปัญหา เหตุผลในการ กล่าว ได้ดี ใช้วิธีการดัง ใช้วิธีการดัง กว่านี้ กล่าวได้บาง กล่าวได้ ส่วน เข้าใจชัดเจน ทำางานอย่าง - มีการ - มีการ - ไม่มีการ ไม่มีชิ้นงาน เป็นระบบ วางแผนการ วางแผนการ วางแผนการ ดำาเนินงาน ดำาเนินงาน ดำาเนินงาน เป็นระบบ - จัดเรียง - ไม่จัดเรียง - จัดเรียง ลำาดับความ ลำาดับความ ลำาดับความ สำาคัญก่อน สำาคัญ สำาคัญก่อน หลัง ได้บาง หลัง ถูกต้อง ส่วน ครบถ้วน
  • 28. แบบประเมิ น การปฏิ บ ั ต ิ ง านเป็ น รายบุ ค คล แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ 12 เรื่อง การวัดพื้นที่ เปรียบเทียบ การแก้ ทำางานอย่าง หน่วยการวัด ปัญหา เป็นระบบ ระดับ คะแนน ชื่อ - พื้นที่ ในระบบ คุณภา ที่ รวม สกุล เดียวกันและ พ ต่างระบบได้ ٤ ٤ ٤ ١٢ ٤ ระดับคุณภาพ ٤ หมายถึง ดีมาก คะแนนรวม ١٢ - ١٠ ระดับคุณภาพ ٣ หมายถึง ดี คะแนนรวม ٩ - ٧ ระดับคุณภาพ ٢ หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม ٦ - ٤ ระดับคุณภาพ ١ หมายถึง ควรปรับปรุง คะแนนรวม ١ ٣– กิ จ กรรมเสนอแนะ ...................................................................................... ............................................................................................. ............................................................................................. .............................................................................................
  • 29. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............ บั น ทั ก ผลหลั ง การสอน ผลการเรียนรู้ ด้านความ รู้............................................................................................ ................................ ........................................................ ............................................................................................. ....... ...................................................................................... ...................................................................... ด้านทักษะและ กระบวนการ............................................................................. ..................... ....................................................................... ..................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................... ด้าน คุณลักษณะ.............................................................................. ...................................... ................................................. ............................................................................................. .............. ...................................................................................... ...................................................................... ปัญหาและอุปสรรค ...................................................................................... ........................................................
  • 30. ...................................................................................... ...................................................................... ...................................................................................... ...................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ...................................................................................... ........................................................ ...................................................................................... ...................................................................... ...................................................................................... ...................................................................... ลงชื่อ………………………………. ( น.ส.วารีรัตน์ รุมาคม ) นักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู ข้ อ เสนอแนะของอาจารย์ น ิ เ ทศก์ โ รงเรี ย นร่ ว มพั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู ...................................................................................... ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ........................... ลงชื่อ.................................................. ( นางนงลักษณ์ พรหมสิทธิ์ ) อาจารย์นิเทศก์โรงเรียนร่วมพัฒนา วิชาชีพครู ใบกิ จ กรรม เรื ่ อ ง การวั ด พื ้ น ที ่
  • 31. จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ เปรียบเทียบหน่วยความยาวในระบบเดียวกัน และต่างระบบได้ คำ า ชี ้ แ จง จงเปรียบเทียบหน่วยการวัดพื้นที่มาตราต่าง ๆของสิ่งที่ กำาหนดให้แล้วเติมในตารางให้ถูกต้อง สิ ่ ง ที ่ ก ำ า หนดให้ พื ้ น ที ่ ١. พื้นที่ ٥ ตารางกิโลเมตร ....................... ตารางเมตร ٢. พื้นที่ ١,٢٠٠ ตารางเซนติเมตร ....................... ตารางเมตร ٣. พื้นที่ ١٢ ไร่ ....................... ตารางวา ٤. พื้นที่ ٢.٥٦ ไร่ ................ ไร่................ งาน.................. ตารางวา ٥. พื้นที่ ٣ ตารางไมล์ ....................... เอเคอร์ ٦. พื้นที่ ١٢,٠٠٠ เอเคอร์ ....................... ตารางไมล์ ٧. พื้นที่ ١,٨٧٥ ไร่ ....................... ตารางกิโลเมตร ٨. พื้นที่ ٥,٦٠٠ ตารางเมตร ....................... ไร่ ٩. พื้นที่ ٢٠ ตารางฟุต ....................... ตารางเมตร ( ١ ตารางฟุต เท่ากับ ٠.٠٩ ตารางเมตร ) ١٠. พื้นที่ ٨,٤٠٠ ตารางเมตร ....................... ตารางหลา ( ١ ตารางหลา เท่ากับ ٠.٨٤ ตารางเมตร )
  • 32. ใบเฉลยใบกิ จ กรรม เรื ่ อ ง การวั ด พื ้ น ที ่ สิ ่ ง ที ่ ก ำ า หนดให้ พื ้ น ที ่ ١. พื้นที่ ٥ ตารางกิโลเมตร ٥,٠٠٠,٠٠٠ ตารางเมตร ٢. พื้นที่ ١,٢٠٠ ตารางเซนติเมตร ١.٢ ตารางเมตร ٣. พื้นที่ ١٢ ไร่ ٤,٨٠٠ ตารางวา ٤. พื้นที่ ٢.٥٦ ไร่ ٢ ไร่ ٢ งาน٢٤ ตารางวา ٥. พื้นที่ ٣ ตารางไมล์ ١,٩٢٠ เอเคอร์ ٦. พื้นที่ ١٢,٠٠٠ เอเคอร์ ٢٠ ตารางไมล์ ٧. พื้นที่ ١,٨٧٥ ไร่ ٣ ตารางกิโลเมตร ٨. พื้นที่ ٥,٦٠٠ ตารางเมตร ٣.٥ ไร่ ٩. พื้นที่ ٢٠ ตารางฟุต ١.٨ ตารางเมตร ( ١ ตารางฟุต เท่ากับ ٠.٠٩ ตารางเมตร ) ١٠. พื้นที่ ٨,٤٠٠ ตารางเมตร ١٠,٠٠٠ ตารางหลา ( ١ ตารางหลา เท่ากับ ٠.٨٤ ตารางเมตร ) แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ١٣ กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ คณิตศาสตร์ ช่ ว งชั ้ น ที ่ ٣ สาระที ่ ٢ : การวัด
  • 33. หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ٢ เรื ่ อ ง การวัด ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ٢ ปี ก ารศึ ก ษา ٢٥٥١ เรื ่ อ ง การคำานวณเกี่ยวกับพื้นที่ เวลาที ่ ใ ช้ ส อน ٢ ชั ่ ว โมง ผู ้ สอน นางสาววารีรัตน์ รุมาคม มาตรฐานการเรี ย นรู ้ ช ่ ว งชั ้ น มาตรฐาน ค ٢.١ : เข้าใจพื้นที่เกี่ยวกับการวัดความยาว มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣ 1. เข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติ ٢. เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่างๆเกี่ยวกับความยาว พื้นที่ และ ปริมาตรได้อย่างเหมาะสม มาตรฐาน ค ٢.٣ : แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดได้ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ ٣ ١. ใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาว พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการ แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้ สาระสำ า คั ญ พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ด้าน × ด้าน พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ด้านกว้าง × ด้านยาว 1 พื้นที่รูปสามเหลี่ยม = 2 × สูง × ฐาน พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน = ความยาวของฐาน × ความสูง พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน = ความยาวฐาน × ความสูง 1 หรือ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน = 2 × (ผลคูณความยาว เส้นทแยงมุม) 1 พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู = 2 × สูง × ผลบวกด้านคู่ขนาน 1 พื้นที่สี่เหลี่ยมใดๆ = 2 × ความยาวของเส้นทแยงมุม × ผลบวกของเส้นกิ่ง ผลการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ค าดหวั ง / จุ ด ประสงค์ ก าร เรี ย นรู ้ ด้ า นความรู ้ ١. หาพื้นที่ของรูปเหลี่ยมได้ ด้ า นทั ก ษะและกระบวนการ ١. การให้เหตุผล ด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะ ١. มีระเบียบวินัย
  • 34. ٢. มีความรับผิดชอบ สาระการเรี ย นรู ้ การหาพื้นที่ของรูปเหลี่ยมต่าง ๆ กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้ 1. ครูเฉลยและให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายแก้ไขข้อผิดพลาดแบบ ทดสอบ เรื่อง การวัดพื้นที่ และ ทำาแบบฝึกหัดในหนังสือเรียนสาระการ เรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม ١ หน้า ٧٦ ٢. แบ่งนักเรียนออกเป็น ١٠ กลุ่ม ๆ ละ ٥ คนให้แตละกลุ่มเลือก ประธานกลุ่ม 3. ครูกับนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการคำานวณเกี่ยวกับพื้นที่ พร้อม ทั้งทบทวนการใช้สูตรของพื้นที่ พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ด้าน × ด้าน พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ด้านกว้าง × ด้านยาว 1 พื้นที่รูปสามเหลี่ยม = 2 × สูง × ฐาน พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน = ความยาวของฐาน × ความสูง พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน = ความยาวฐาน × ความสูง 1 หรือ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน = 2 × (ผลคูณความยาว เส้นทแยงมุม) 1 พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู = 2 × สูง × ผลบวกด้านคู่ขนาน 1 พื้นที่สี่เหลี่ยมใดๆ = 2 × ความยาวของเส้นทแยงมุม × ผลบวกของเส้นกิ่ง พร้อมทั้งยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการคำานวณเกี่ยวกับพื้นที่ ٤. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำารูปสี่เหลี่ยมแต่ละรูปนำามาประกอบ กันเป็นรูปใหม่พร้อมทั้งหาพื้นที่ของรูปที่ได้ ٥. นักเรียนทำาแบบฝึกหัดที่ ٢.٣ ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้น ฐานคณิตศาสตร์ เล่ม ١ สื ่ อ / อุ ป กรณ์ แ ละแหล่ ง การเรี ย นรู ้ สื ่ อ / อุ ป กรณ์ 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ٢ เล่ม ١ แหล่ ง การเรี ย นรู ้ ١. ห้องเรียน
  • 35. การวั ด ผลและประเมิ น ผล ผลการเรียนรู้ที่คาด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การ หวัง ประเมิน หาพื้นที่ของรูป การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุก เหลี่ยมต่างๆได้ ฝึกหัด ฝึกหัด คนมีผลการ ประเมินอยู่ใน ระดับ ٣ ขึ้นไป การให้เหตุผล การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุก ฝึกหัด ฝึกหัด คนมีผลการ ประเมินอยู่ใน ระดับ ٣ ขึ้นไป มีระเบียบวินัย การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุก ฝึกหัด ฝึกหัด คนมีผลการ ประเมินอยู่ใน ระดับ ٣ ขึ้นไป มีความรับผิดชอบ การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุก ฝึกหัด ฝึกหัด คนมีผลการ ประเมินอยู่ใน ระดับ ٣ ขึ้นไป