SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แบตเตอรี่รถยนต์ที่หมด(จากการนาไปใช้กับอินเวอร์เตอร์)แล้วจะชาร์จอย่างไร
ในภาวะน้าท่วมการชาร์จแบตเตอรี่รถยนต์๑๒โวลท์ด้วยเครื่องชาร์จหรือไปที่ร้านขายแบตเตอรี่(อยู่ไกล)อาจไม่สะดวก
เพราะแบตฯมีน้าหนักมาก อีกวิธีหนึ่งคือการชาร์จจากรถยนต์ โดยการชาร์จผ่านสายพ่วงแบตเตอรี่ที่ใช้ในการช่วยสตาร์ท แต่
นามาใช้กลับกันคือรถยนต์ที่เครื่องติดอยู่แล้วสามารถนาไฟจากไดชาร์จของเครื่องยนต์กลับมาชาร์จแบตเตอรี่ที่ต่อพ่วงกับมัน
ได้โดยมีกระบวนการดังต่อไปนี้ครับ
อุปกรณ์ที่ต้องใช้
๑. สายต่อพ่วงแบตเตอรี่ มักจะติดให้มาหรือแถมมาเวลาซื้อรถ เป็นสายไฟฟ้ าค่อนข้างใหญ่มีสองเส้น มักจะเป็นสี
แดงสาหรับขั้วบวก(+) และสีดาสาหรับขั้วลบ(-) ปลายหัวท้ายเป็นปากคีบ
๒. รถยนต์ที่จะชาร์จแบตฯต้องจอดในมีอากาศถ่ายเทได้สะดวกเพราะต้องติดเครื่องไว้เป็นเวลานานไม่ควรจอดใน
โรงรถแบบปิดเป็นอันขาดไอเสียรถยนต์จะทาให้เป็นอันตรายถึงชีวิตได้
๓. แบตเตอรี่ที่จะนามาชาร์จควรมีขนาดใกล้เคียงกับที่อยู่ในรถต้องไม่นาแบตฯที่มีขนาดเล็กกว่า๓๕แอมแปร์ชั่วโมง
เช่นแบตฯของเครื่องสารองไฟ(UPS ส่วนใหญ่จะเป็น ๗ ถึง ๙ A-h) หรือไม่ใช่แรงดัน ๑๒โวลท์มาชาร์จเด็ดขาด
ขั้นตอนในการชาร์จ
๑. เปิดฝากระโปรงรถ มองหาตาแหน่งของแบตเตอรี่ว่าอยู่ที่ใด
๒. นาแบตเตอรี่ที่จะชาร์จมาวางในตาแหน่งใกล้ๆแบตฯของรถประมาณระยะว่าสายพ่วงระหว่างขั้วของแบตฯทั้ง
สองสามารถโยงถึงกันได้
๓. ที่ขั้วแบตเตอรี่ฝั่งที่ต้องการจะชาร์จคีบสายสีแดงเข้ากับขั้วบวก(+)
๔. ปลายสายสีแดงอีกด้าน คีบกับขั้วบวกของแบตเตอรี่ฝั่งรถยนต์(รถยนต์ส่วนใหญ่มักจะมีฉนวนพลาสติกครอบขั้ว
ไว้ต้องเปิดฝาครอบนี้ออกก่อนจะมองเห็นขั้วแบตฯและแหวนรัดต่อสายเพื่อใช้คีบ) การคีบปากคีบต้องดูให้แน่ว่า
มันจะไม่หลุดจากแรงสั่นสะเทือนของเครื่องยนต์ขณะสตาร์ทและทางาน จัดการแนวสายอย่าให้พาดไปทาง
เครื่องยนต์เด็ดขาด(ในรูปรถคันนี้เครื่องยนต์อยู่ทางซ้าย)เพราะขณะเครื่องยนต์หมุนอาจมีสายพานหรือใบพัดดึง
เอาสายไฟเข้าไปจะเกิดอันตรายและความเสียหายได้
๕. สายพ่วงสีดาปล่อยปลายสายด้านหนึ่งไว้ไม่ให้โดนโลหะหรือขั้วไฟฟ้ าใดๆ(ตามรูปใช้วิธีคีบหูหิ้วพลาสติกสีขาว
ของแบตฯอยู่) ส่วนอีกด้านหนึ่งนามาคีบที่ขั้วลบของแบตเตอรี่ฝั่งรถยนต์
๖. สตาร์ทเครื่องยนต์ให้ติด เร่งเครื่องประมาณ ๑๕๐๐ ถึง ๒๐๐๐(รอบต่อนาที) เป็นระยะเวลาประมาณครึ่งนาที
ถอนคันเร่งให้เครื่องมาที่รอบเดินเบาปรกติจะอยู่ที่ ๙๐๐ ถึง ๑๑๐๐ แต่ถ้าเครื่องยังเย็นอยู่รอบเครื่องจะถูกเร่ง
โดยอัตโนมัติประมาณ ๑๒๐๐ ถึง ๑๕๐๐(รถบางคันไม่มีเครื่องวัดรอบต้องประมาณเอาครับ ประมาณว่ากาลัง
เร่งเครื่องจะออกรถแบบนิ่มๆ)
๗. ปลายสายสีดาที่ปล่อยไว้ตามข้อ๕ ลองเอามาเขี่ยขั้วลบ(-)ของแบตเตอรี่ที่ต้องการชาร์จดูอาจเห็นประกายไฟ
บ้างในตอนแรกแล้วแต่ว่าแบตฯที่เอามาชาร์จหมดลึก(มาก)แค่ไหน เมื่อแน่ใจแล้วว่าไม่อะไรผิดพลาดให้คีบขั้ว
แบตฯให้แน่น(ขั้วลบ(-)) สังเกตความเร็วรอบเครื่องยนต์เดินเบาจะลดต่าลงบ้างแต่เครื่องต้องไม่ดับ เป็นอาการที่
แสดงว่าพลังงานส่วนหนึ่งของเครื่องยนต์มาชาร์จแบตฯของเรา(ตรวจสอบให้ดีนะครับเรื่องขั้ว บวกต่อบวกสายสี
แดง ลบต่อลบสายสีดา สังเกตเครื่องหมาย + และ – ที่แบตฯให้ดี แบตเตอรี่รถบางยี่ห้อขั้วกลับกันอย่าดูแต่ตาม
รูปถ่ายอย่างเดียว แบตฯที่แสดงในรูปทั้งหมดตามร้านแบตฯเรียกว่าขั้วกลับ)
๘. เร่งเครื่องยนต์ที่ ๒๐๐๐ เป็นระยะเวลาประมาณ ๕ นาที ในช่วงนี้จะมีกระแสชาร์จสูงควรเขย่าแบตเตอรี่เพื่อให้
ฟองก๊าซระบายจากแผ่นธาตุของแบตเตอรี่และออกทางรูระบาย ถ้าไม่เขย่าอาจมีน้ากรดล้นออกทางรูระบายได้
(จะใช้วิธีเปิดฝาจุกทั้ง๖อันแบบร้านแบตฯทาก็ได้ไม่ต้องคอยเขย่า ข้อควรระวังอีกอย่างคือก๊าซที่ออกจากแบตฯ
ขณะมีการชาร์จด้วยกระแสสูงๆอาจติดไฟหรือระเบิดได้ไม่ควรสูบบุหรี่ มีเปลวไฟหรือประกายไฟใกล้ๆ และอาจมี
ไอกรดออกมาด้วยไม่ควรสูดดม)
๙. ปล่อยเครื่องเดินเบาไปอีก ๒ ถึง ๓ ชั่วโมง ตรวจดูให้แน่ใจว่าอุปกรณ์อื่นๆในรถยนต์ไม่ได้เปิดใช้งานเช่น แอร์ พัด
ลม ไฟหน้า วิทยุ เพราะจะทาให้แบตฯเต็มช้าลงหรืออาจชาร์จไม่เข้าเลย และเนื่องจากรถยนต์ต้องติดเครื่องเป็น
เวลานานแต่ไม่ได้วิ่งต้องเปิดฝากระโปรงเอาไว้เพื่อไม่ให้มีปัญหาการระบายความร้อน
๑๐.เมื่อครบเวลาแล้วก่อนดับเครื่องให้เร่งรอบเครื่องที่ ๑๕๐๐ ประมาณ ๑ นาทีแล้วจึงดับเครื่อง
๑๑.ปลดสายคีบสีดาฝั่งรถยนต์ก่อนแล้วมาปลดฝั่งแบตฯที่นามาชาร์จ จากนั้นปลดสายคีบสีแดงฝั่งรถยนต์แล้วค่อย
ปลดอีกฝั่งหนึ่ง เป็นอันเสร็จครับ อย่าลืมครอบฝาครอบแบตฯของรถยนต์กลับให้เรียบร้อยด้วยครับ
๑๒.วิธีนี้ถือว่าเป็นวิธีแก้ขัดในยามฉุกเฉินเพราะเราไม่รู้จริงๆว่าพลังงานที่ชาร์จไปเต็มที่หรือไม่แต่ก็ค่อนข้างจะเชื่อถือ
ได้ว่าจะไม่มีการชาร์จเกินเพราะไดชาร์จของรถยนต์มีการควบคุมไม่ให้แรงดันเกินอยู่แล้ว แต่กระแสสูงช่วงแรก
อาจส่งผลระยะยาวต่ออายุของแบตฯที่เรานามาชาร์จได้

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

Mehr von National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
 

Battery charge V2

  • 1. แบตเตอรี่รถยนต์ที่หมด(จากการนาไปใช้กับอินเวอร์เตอร์)แล้วจะชาร์จอย่างไร ในภาวะน้าท่วมการชาร์จแบตเตอรี่รถยนต์๑๒โวลท์ด้วยเครื่องชาร์จหรือไปที่ร้านขายแบตเตอรี่(อยู่ไกล)อาจไม่สะดวก เพราะแบตฯมีน้าหนักมาก อีกวิธีหนึ่งคือการชาร์จจากรถยนต์ โดยการชาร์จผ่านสายพ่วงแบตเตอรี่ที่ใช้ในการช่วยสตาร์ท แต่ นามาใช้กลับกันคือรถยนต์ที่เครื่องติดอยู่แล้วสามารถนาไฟจากไดชาร์จของเครื่องยนต์กลับมาชาร์จแบตเตอรี่ที่ต่อพ่วงกับมัน ได้โดยมีกระบวนการดังต่อไปนี้ครับ อุปกรณ์ที่ต้องใช้ ๑. สายต่อพ่วงแบตเตอรี่ มักจะติดให้มาหรือแถมมาเวลาซื้อรถ เป็นสายไฟฟ้ าค่อนข้างใหญ่มีสองเส้น มักจะเป็นสี แดงสาหรับขั้วบวก(+) และสีดาสาหรับขั้วลบ(-) ปลายหัวท้ายเป็นปากคีบ ๒. รถยนต์ที่จะชาร์จแบตฯต้องจอดในมีอากาศถ่ายเทได้สะดวกเพราะต้องติดเครื่องไว้เป็นเวลานานไม่ควรจอดใน โรงรถแบบปิดเป็นอันขาดไอเสียรถยนต์จะทาให้เป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ๓. แบตเตอรี่ที่จะนามาชาร์จควรมีขนาดใกล้เคียงกับที่อยู่ในรถต้องไม่นาแบตฯที่มีขนาดเล็กกว่า๓๕แอมแปร์ชั่วโมง เช่นแบตฯของเครื่องสารองไฟ(UPS ส่วนใหญ่จะเป็น ๗ ถึง ๙ A-h) หรือไม่ใช่แรงดัน ๑๒โวลท์มาชาร์จเด็ดขาด
  • 2. ขั้นตอนในการชาร์จ ๑. เปิดฝากระโปรงรถ มองหาตาแหน่งของแบตเตอรี่ว่าอยู่ที่ใด ๒. นาแบตเตอรี่ที่จะชาร์จมาวางในตาแหน่งใกล้ๆแบตฯของรถประมาณระยะว่าสายพ่วงระหว่างขั้วของแบตฯทั้ง สองสามารถโยงถึงกันได้ ๓. ที่ขั้วแบตเตอรี่ฝั่งที่ต้องการจะชาร์จคีบสายสีแดงเข้ากับขั้วบวก(+) ๔. ปลายสายสีแดงอีกด้าน คีบกับขั้วบวกของแบตเตอรี่ฝั่งรถยนต์(รถยนต์ส่วนใหญ่มักจะมีฉนวนพลาสติกครอบขั้ว ไว้ต้องเปิดฝาครอบนี้ออกก่อนจะมองเห็นขั้วแบตฯและแหวนรัดต่อสายเพื่อใช้คีบ) การคีบปากคีบต้องดูให้แน่ว่า มันจะไม่หลุดจากแรงสั่นสะเทือนของเครื่องยนต์ขณะสตาร์ทและทางาน จัดการแนวสายอย่าให้พาดไปทาง เครื่องยนต์เด็ดขาด(ในรูปรถคันนี้เครื่องยนต์อยู่ทางซ้าย)เพราะขณะเครื่องยนต์หมุนอาจมีสายพานหรือใบพัดดึง เอาสายไฟเข้าไปจะเกิดอันตรายและความเสียหายได้
  • 3. ๕. สายพ่วงสีดาปล่อยปลายสายด้านหนึ่งไว้ไม่ให้โดนโลหะหรือขั้วไฟฟ้ าใดๆ(ตามรูปใช้วิธีคีบหูหิ้วพลาสติกสีขาว ของแบตฯอยู่) ส่วนอีกด้านหนึ่งนามาคีบที่ขั้วลบของแบตเตอรี่ฝั่งรถยนต์ ๖. สตาร์ทเครื่องยนต์ให้ติด เร่งเครื่องประมาณ ๑๕๐๐ ถึง ๒๐๐๐(รอบต่อนาที) เป็นระยะเวลาประมาณครึ่งนาที ถอนคันเร่งให้เครื่องมาที่รอบเดินเบาปรกติจะอยู่ที่ ๙๐๐ ถึง ๑๑๐๐ แต่ถ้าเครื่องยังเย็นอยู่รอบเครื่องจะถูกเร่ง โดยอัตโนมัติประมาณ ๑๒๐๐ ถึง ๑๕๐๐(รถบางคันไม่มีเครื่องวัดรอบต้องประมาณเอาครับ ประมาณว่ากาลัง เร่งเครื่องจะออกรถแบบนิ่มๆ) ๗. ปลายสายสีดาที่ปล่อยไว้ตามข้อ๕ ลองเอามาเขี่ยขั้วลบ(-)ของแบตเตอรี่ที่ต้องการชาร์จดูอาจเห็นประกายไฟ บ้างในตอนแรกแล้วแต่ว่าแบตฯที่เอามาชาร์จหมดลึก(มาก)แค่ไหน เมื่อแน่ใจแล้วว่าไม่อะไรผิดพลาดให้คีบขั้ว แบตฯให้แน่น(ขั้วลบ(-)) สังเกตความเร็วรอบเครื่องยนต์เดินเบาจะลดต่าลงบ้างแต่เครื่องต้องไม่ดับ เป็นอาการที่ แสดงว่าพลังงานส่วนหนึ่งของเครื่องยนต์มาชาร์จแบตฯของเรา(ตรวจสอบให้ดีนะครับเรื่องขั้ว บวกต่อบวกสายสี แดง ลบต่อลบสายสีดา สังเกตเครื่องหมาย + และ – ที่แบตฯให้ดี แบตเตอรี่รถบางยี่ห้อขั้วกลับกันอย่าดูแต่ตาม รูปถ่ายอย่างเดียว แบตฯที่แสดงในรูปทั้งหมดตามร้านแบตฯเรียกว่าขั้วกลับ)
  • 4. ๘. เร่งเครื่องยนต์ที่ ๒๐๐๐ เป็นระยะเวลาประมาณ ๕ นาที ในช่วงนี้จะมีกระแสชาร์จสูงควรเขย่าแบตเตอรี่เพื่อให้ ฟองก๊าซระบายจากแผ่นธาตุของแบตเตอรี่และออกทางรูระบาย ถ้าไม่เขย่าอาจมีน้ากรดล้นออกทางรูระบายได้ (จะใช้วิธีเปิดฝาจุกทั้ง๖อันแบบร้านแบตฯทาก็ได้ไม่ต้องคอยเขย่า ข้อควรระวังอีกอย่างคือก๊าซที่ออกจากแบตฯ ขณะมีการชาร์จด้วยกระแสสูงๆอาจติดไฟหรือระเบิดได้ไม่ควรสูบบุหรี่ มีเปลวไฟหรือประกายไฟใกล้ๆ และอาจมี ไอกรดออกมาด้วยไม่ควรสูดดม) ๙. ปล่อยเครื่องเดินเบาไปอีก ๒ ถึง ๓ ชั่วโมง ตรวจดูให้แน่ใจว่าอุปกรณ์อื่นๆในรถยนต์ไม่ได้เปิดใช้งานเช่น แอร์ พัด ลม ไฟหน้า วิทยุ เพราะจะทาให้แบตฯเต็มช้าลงหรืออาจชาร์จไม่เข้าเลย และเนื่องจากรถยนต์ต้องติดเครื่องเป็น เวลานานแต่ไม่ได้วิ่งต้องเปิดฝากระโปรงเอาไว้เพื่อไม่ให้มีปัญหาการระบายความร้อน ๑๐.เมื่อครบเวลาแล้วก่อนดับเครื่องให้เร่งรอบเครื่องที่ ๑๕๐๐ ประมาณ ๑ นาทีแล้วจึงดับเครื่อง ๑๑.ปลดสายคีบสีดาฝั่งรถยนต์ก่อนแล้วมาปลดฝั่งแบตฯที่นามาชาร์จ จากนั้นปลดสายคีบสีแดงฝั่งรถยนต์แล้วค่อย ปลดอีกฝั่งหนึ่ง เป็นอันเสร็จครับ อย่าลืมครอบฝาครอบแบตฯของรถยนต์กลับให้เรียบร้อยด้วยครับ