SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
Downloaden Sie, um offline zu lesen
สื่อใหม่กับงานหลักสูตรและการ
เรียนการสอน
บทที่ 4
ผศ.ดร.เสกสรร สายสีสด
ความหมายของสื่อใหม่
สื่อใหม่ ( New Media ) เป็นคำาที่มีความหมายก
ว้างไกลได้มีการจำากัดขอบข่ายของสื่อใหม่ไว้
ได้ 2 ประการได้แก่
1). เป็นสื่อที่ใช้ช่องทางเทคโนโลยีการสื่อสารหรือ
อินเทอร์เน็ต และ
2). เป็นสื่อที่มีการสื่อสารสองทาง
คุณลักษณะเฉพาะ ของสื่อใหม่
เป็นการสื่อสารสองทาง
ไม่จำากัดพื้นที่และเวลาในการสื่อสาร
เป็นสื่อไร้ตัวตนไม่มีเจ้าของ (Anonymous)
มีต้นทุนในการเข้าถึงสูง
ไม่สามารถปิดกั้นได้
เป็นกระแสที่จะไหลไม่หยุดยั้ง
สื่อหลัก รัฐและผู้มีอำานาจต้องปรับตัวให้ทัน
ไม่ได้รับการยอมรับในฐานะสื่อ
Social Media
หมายถึงเครื่องมือหรือรูปแบบจากเว็บ2.0 ที่นำา
มาใช้ในเชิงบูรณาการของเนื้อหาผ่านการ
ถ่ายทอดจากการเขียนและการส่งผ่านข้อมูล
ผ่านทางเว็บไซต์หรือเว็บเพ็จ
สามารถนำามาใช้ในการเรียนการสอนของครูได้
ในหลากหลายรูปแบบเช่น discussion , forum
,blogs , wikis 3d virtual worlds
ขอบข่ายของโซเชียลมีเดีย
Kommers ( 2011 : online )
เป็นสื่อสร้างปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม (Media for
Social Interaction)
 เป็นสื่อแห่งสังคมเครือข่าย (Networked
Communities)
 เป็นสื่อแห่งการสร้างสัมพันธภาพข้ามมิติ
(Intercrossing Relationships )
Connectivism :
หลักปรัชญาการเรียนรู้ของ Social Media
การเรียนรู้และองค์ความรู้เกิดจากพลังทาง
ความคิดของมนุษย์ที่เกิดขึ้นต่อเนื่องไม่หยุดนิ่ง
การเรียนรู้เป็นกระบวนการเชื่อมโยงจากแหล่ง
ข้อมูลหรือคลังความรู้ที่หลากหลาย
การเรียนรู้อาจมิใช่รูปแบบปกตินิยมที่มนุษย์จะ
ใช้กันแบบทั่วๆไปก็เป็นได้
ประสิทธิภาพของการสร้างองค์ความรู้นั้น เกิด
จากความรู้ที่ได้มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง
Connectivism :
หลักปรัชญาการเรียนรู้ของ Social Media
การพัฒนาและสะสมองค์ความรู้ เป็นสิ่งจำาเป็นที่จะก่อ
ให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องของมวลมนุษย์
ความสามารถในการสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง
ประสบการณ์ ความคิด และมโนทัศน์ คือปัจจัยหลักที่
สำาคัญในการสร้างทักษะการเรียนรู้
องค์ความรู้ที่ถูกต้องเป็นปัจจุบัน เป็นจุดเน้นสำาคัญของ
การสร้างกิจกรรมในการเชื่อมโยงการเรียนรู้ให้บังเกิด
ขึ้น
การตัดสินใจ เป็นกระบวนการเรียนที่สำาคัญที่เกิดขึ้น
ประเด็นสำาคัญคือการเลือกที่จะเรียนรู้อย่างมีความ
หมาย ผ่านข้อมูลสารสนเทศที่ได้รับอย่างมี
โซเซียลมีเดียกับหลักสูตรและการสอน
เป็นสื่อที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำาให้ผู้
เรียนมีอิสระในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น ซึ่งการนำา
เอาสื่อประเภทเหล่านี้เข้ามาใช้ในโรงเรียน จะ
สนองต่อจุดประสงค์สำาคัญและเป้าหมายที่เกิด
ขึ้นกับผู้เรียนได้
การนำาเอาสื่อโซเชียลมีเดียมาใช้ในโรงเรียน
ยังเป็นการจำากัดช่องทางและมีความเหมาะสม
สำาหรับผู้ใช้ (นักเรียน) ที่จะสามารถพัฒนารูป
แบบการสื่อสารได้ด้วยตนเองโดยเฉพาะการ
สื่อสารจากการใช้เว็บไซต์ และยังเป็นระบบการ
คุณประโยชน์ของการใช้โซเชียลมีเดียใน
การศึกษา
เป็นการสร้างศักยภาพของการสื่อสาร/สื่อความ
หมาย
เป็นสื่อที่ประหยัดเหมาะสมต่อการใช้
เป็นสื่อที่ใช้สำาหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ
เสริมประสบการณ์ระหว่างกลุ่มด้วยกัน
เป็นสื่อช่วยเสริมสร้างทักษะความรู้ได้อย่างมี
วิจารณญาณ
คุณประโยชน์ด้านการเสริมสร้างสติ
ปัญญาความรู้
เป็นสื่อช่วยเสริมสร้างสมรรถนะเชิงคิดวิเคราะห์
การตีความหมาย การสังเคราะห์และการวิจารณ์
อย่างสร้างสรรค์
เป็นสื่อช่วยเสริมสร้างสมรรถนะของความมีเหตุ
มีผล
เป็นสื่อเสริมสร้างและพัฒนาสมรรถนะทางการ
เรียนที่มีอยู่เดิมให้สูงขึ้น
เป็นสื่อเสริมสร้างสมรรถนะในด้านทัศนะหรือ
การมองเห็น
 เป็นสื่อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของความเป็นสื่อ
คุณประโยชน์ในด้านกระบวนการสื่อสาร
การมีส่วนร่วม
เป็นสื่อส่งผ่านและเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารใน
รูปแบบของการสนทนาระหว่างผู้ใช้ด้วยกัน
ช่วยเสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดความร่วมมือร่วมใจ
ในการทำางานและบรรลุผลในการแก้ปัญหาของ
การเรียนรู้ร่วมกัน
มีรูปแบบและระบบของการสร้างสังคมและ
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน
ทำาให้ผู้เรียนเกิดการสร้างงานที่มีคุณภาพจาก
ผลสะท้อนของข้อมูลที่ได้รับในหลากหลาย
คุณประโยชน์ในด้านกระบวนการสื่อสาร
การมีส่วนร่วม
ช่วยในการปรับพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม
ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนได้
 เกิดการเรียนรู้แบบช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
 เกิดโลกทัศน์หรือมุมมองที่กว้างไกลของผู้เรียน
ประโยชน์ในการเสริมสร้างแรงจูงใจ
สามารถสร้างสรรค์สื่อสังคมด้วยตนเอง
เกิดความมานะพยายามในการเรียนรู้
เกิดเป็นเสียงสะท้อนจากกลุ่มชนกลุ่มใหญ่
เกิดความคิดสร้างสรรค์
คุณประโยชน์ในด้านการบริหารจัดการ
เป็นการสร้างระบบการสะท้อนผลข้อมูลย้อน
กลับที่ง่าย
เป็นการสร้างช่องทางหรือสร้างทางเลือกในการ
สร้างประสบการณ์ทางการเรียนรู้
การเข้าถึงแหล่งข้อมูลโดยไม่ต้องพึ่งพาการ
เรียนในชั้นเรียนปกติ
ช่วยสร้างระบบการสื่อสารกับกลุ่มผู้ปกครอง
นักเรียน
เกิดความง่ายและสะดวกในการทำางานของผู้
เรียน
กฎเกณฑ์และแนวปฏิบัติการใช้สื่อโซเชีย
ลมีเดีย
ต้องรู้ถึงแนวนโยบายขององค์การ/หน่วยงาน
ต่อการใช้สื่อโซเชียลมีเดียเพื่อการพัฒนางาน
เข้าใจระบบการทำางานแบบผสมผสาน ทั้งการ
ประสานงานและประสานคนในองค์การ
ต้องมีความชัดเจนในการกำาหนดบทบาทหน้าที่
เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในประเด็นหรือสาระ
ที่เกิดขึ้นจากการใช้สื่อโซเชียลมีเดีย
คำานึงอยู่เสมอว่าขั้นตอนการดำาเนินงานจะทำา
อะไรก่อน - หลังในการใช้สื่อสังคมทุกครั้ง
กฎเกณฑ์และแนวปฏิบัติการใช้สื่อโซเชีย
ลมีเดีย
คำานึงถึงหลักสำาคัญของการให้เกียรติและการ
ยอมรับในข้อมูลปฐมภูมิของผู้เป็นเจ้าของ
พึงใช้สื่อโซเชียลมีเดียอย่างระมัดระวังและสุขุม
รอบคอบ
ใช้สื่อโซเชียลมีเดียแบบกัลยาณมิตร มีความ
สุภาพเรียบร้อยและมีมารยาทในการใช้
การผลิตเนื้อหาสาระหรือสื่อ ให้ตรงตาม
สมรรถนะ ความรู้ความสามารถของผู้ใช้
ควรคำานึงถึงธรรมชาติแห่งความเป็นเพื่อน
มนุษย์ด้วยกันอย่างเหมาะสมตามอัตภาพ
ต้องยอมรับในข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น และรีบ
แนวคิดการใช้ Facebook เพื่อการเรียน
การสอน
ใช้เป็นการสร้างระบบบริหารจัดการความรู้
ใช้เป็นแหล่งสำาหรับการสืบค้นอ้างอิง
 ใช้สำาหรับการประกาศหรือประชาสัมพันธ์
 ใช้ในการสื่อสารข้อความภายหลังการสอน
หรือจบบทเรียนในชั้นเรียน
ใช้ในการอภิปรายกลุ่มเชิงสร้างสรรค์
การใช้ Twitter เพื่อการเรียนการสอน
เป็นสื่อสร้างองค์ความรู้ต่างๆของการเรียนรู้ใน
ประเด็นที่สนใจสำาหรับผู้เรียน
ใช้ในการถามตอบข้อสงสัยสั้นๆ
เป็นตัวเชื่อมโยงแนวคิดที่นำาเสนอของผู้เรียน –
ผู้สอน
สามารถเชื่อมโยงด้านเวลา รวมทั้งการกำาหนด
เวลาได้เหมาะสมสำาหรับผู้ใช้
เป็นสื่อที่ช่วยกำาหนดปฏิทินหรือตารางการเรียน
รู้
อ้างอิง
สุรศักดิ์ ปาเฮ. โซเซียลมีเดียเพื่อการศึกษา
(ออนไลน์)
ชิตชัย โพธ์ประภา. การใช้ Social Media ใน
การจัดการเรียนการสอน. (ออนไลน์)
กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว. ผลกระทบของ
โซเชียลมีเดียต่อสังคมไทย (ออนไลน์)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารmontiya2530
 
Organization communication
Organization communicationOrganization communication
Organization communicationKan Yuenyong
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารsariya25
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่mint_chantal
 
นำเสนอส อ.Pptx [repaired]
นำเสนอส  อ.Pptx [repaired]นำเสนอส  อ.Pptx [repaired]
นำเสนอส อ.Pptx [repaired]Weerapat Apaikawee
 
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1Chommy Rainy Day
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนmaymymay
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรChainarong Maharak
 
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
การสื่อสารภายในองค์กร
การสื่อสารภายในองค์กรการสื่อสารภายในองค์กร
การสื่อสารภายในองค์กรSmith Boonchutima
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chushi1991
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chushi1991
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 

Was ist angesagt? (20)

การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
Organization communication
Organization communicationOrganization communication
Organization communication
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
 
โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56
 
นำเสนอส อ.Pptx [repaired]
นำเสนอส  อ.Pptx [repaired]นำเสนอส  อ.Pptx [repaired]
นำเสนอส อ.Pptx [repaired]
 
network basics
network basicsnetwork basics
network basics
 
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารภายในองค์กร
การสื่อสารภายในองค์กรการสื่อสารภายในองค์กร
การสื่อสารภายในองค์กร
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 

Andere mochten auch

ความคิดทางคณิตศาสตร์ยุคบาบิโลเนีย
ความคิดทางคณิตศาสตร์ยุคบาบิโลเนียความคิดทางคณิตศาสตร์ยุคบาบิโลเนีย
ความคิดทางคณิตศาสตร์ยุคบาบิโลเนียNannat Noiy
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)pterophyta
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกarunrat bamrungchit
 
เกมคณิตศาสตร์
เกมคณิตศาสตร์เกมคณิตศาสตร์
เกมคณิตศาสตร์Nannat Noiy
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์guestf4034a
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 

Andere mochten auch (8)

ความคิดทางคณิตศาสตร์ยุคบาบิโลเนีย
ความคิดทางคณิตศาสตร์ยุคบาบิโลเนียความคิดทางคณิตศาสตร์ยุคบาบิโลเนีย
ความคิดทางคณิตศาสตร์ยุคบาบิโลเนีย
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
คณิตศาสตร์กับเพลง
คณิตศาสตร์กับเพลงคณิตศาสตร์กับเพลง
คณิตศาสตร์กับเพลง
 
เกมคณิตศาสตร์
เกมคณิตศาสตร์เกมคณิตศาสตร์
เกมคณิตศาสตร์
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
 

Ähnlich wie บทท 4

Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27khon Kaen University
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pisการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pissofuwan
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project mew46716
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารwasamon2531
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลAqilla Madaka
 
5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอนamppere
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...khon Kaen University
 
การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)
การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)
การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)Prachyanun Nilsook
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้สมเกียรติ เพ็ชรมาก
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจDrsek Sai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องSirintip Kongchanta
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 

Ähnlich wie บทท 4 (20)

Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pisการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)
การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)
การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

บทท 4