SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 27
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ ๑
                             บทบาทและเทคนิคการเปนวิทยากร
                                                ็
     การเป็ นวิทยากรนันใคร ๆ ก็เป็ นได ้ แต่การเป็ นวิทยากรทีดคงไม่ง่ายอย่างทีคดกัน เพราะการทาหน ้าทีวทยากร
                      ้                                      ่ ี                ่ ิ                      ่ ิ
                                          ่
มีความจาเป็ นต ้องอาศัยการพูดหรือการสือสารเป็ นอย่างมาก ถ ้าไม่ได ้รับการฝึ กฝนอบรมเป็ นอย่างดีก็คงจะทา
หน ้าทีวทยากรได ้ไม่สาเร็จหรือสาเร็จได ้ก็ไม่ดเปรียบไปแล ้วการพูดก็เหมือนการว่ายน้ า ถ ้ามัวแต่อานหรือท่องตารา
       ่ ิ                                    ี                                                 ่
                                                                          ่ ึ
โดยไม่ลงน้ าหรือกระโดดลงน้ าเสียบ ้างก็ไม่อาจจะว่ายน้ าเป็ นได ้เลย ผู ้ทีศกษา หลักการ ทฤษฎี วิชาว่ายน้ าเพียงแต่
                           ่                         ่                            ึ
อ่านตาราก็คงจะจมน้ าตายเมือต ้องลงสระเสมือนผู ้ทีศรัทธาวิชาการพูด เพียงแต่ศกษาทฤษฎีก็อาจตกม ้าตายเมือ        ่
ขึนเวที
  ้

    ดังนัน การเป็ นวิทยากรทีดและมีประสิทธิภาพนัน จะต ้องเป็ นผู ้มีความรู ้ความสามารถ ทักษะ เทคนิคต่าง ๆ ใน
          ้                 ่ ี                ้
                                ่
หลาย ๆ ด ้าน เช่นการพูด การสือสาร การจัดกิจกรรม ฯลฯ ตลอดจนจะต ้องเป็ นผู ้มีคณลักษณะทีจาเป็ นอีกมากมาย
                                                                                 ุ         ่
  ่
ซึงจะได ้นาเสนอต่อไป

วิทยกรคือใคร
     วิทยากร คือ ผู ้ทีทาหน ้าทีเป็ นตัวการสาคัญ ทีจะทาให ้ผู ้เข ้ารับการอบรม เกิดความรู ้ความเข ้าใจ เกิดทักษะ
                       ่        ่                  ่
เกิดทัศนคติทดเกียวกับเรืองทีอบรม จนกระทังผู ้เข ้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู ้และสามารถจุดประกายความคิด เกิด
            ี่ ี ่       ่    ่              ่
การเปลียนแปลงทัศนคติ หรือพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ของเรืองหรือวิชานัน ๆ
        ่                                                             ่         ้

   พิจารณาให ้ดีแล ้วจะเห็นได ้ว่าวิทยากรควรมีบทบาททีสาคัญหลายระการตามแผนภูมตอไปนี้
                                                     ่                      ิ ่

                                                   วิทยากร
                                            (RESOURCE PERSON)




                         ผู ้บรรยาย                                   ผู ้ทาให ้เกิดการเรียนรู ้
                       (LECTURER)                                         (INSTRUCTOR)
                          ผู ้สอน                                            ผู ้ฝึ ก
                       (TEACHER)                                          (TRAIINER)

                                                    พีเลียง
                                                      ่ ้
                                                  (MENTOR)


      เมือทราบความหมายและบทบาทของวิทยากรแล ้วก็ควรพิจารณาด ้วยว่าทาอย่างไรจึงจะเป็ นวิทยากรที่ดและมี
              ่                                                                                           ี
ประสิทธิภาพได ้กรณี
นีมผู ้รู ้ได ้กล่าวถึงไว ้อย่างหลากหลายต่างกรรมต่างวาระกันอันอาจจะสรุปรวมเป็ นคุณสมบัต ิ ของวิทยากรทีดและมี
  ้ ี                                                                                                 ่ ี
ประสิทธืภาพได ้ดังนี้
๑ คุณลักษณะทั่วไป
๑. มั่นใจในตนเอง เตรียมพร ้อม ซ ้อมดี มีสอและวิธการ ทีเหมาะสม
                                             ่ื      ี     ่
๒. เป็ นคนช่างสังเกต คอยสังเกตพฤติกรรมทางกาย วาจา ตลอดจนกระบวนการกลุมของผู ้เข ้ารับการอบรม
                                                                                  ่
๓. มีความคิดริเริมสร ้างสรรค์
                       ่
๔. แก ้ปั ญหาเฉพาะหน ้าเก่ง
                           ่      ้ ้           ้                   ้ ่
๕. มีการวางแผนทีด ี ทังเนือหาและลาดับขันตอนการนาเสนอรวมทังสือและเครืองมือการสือสาร
                                                                               ่          ่
                    ั
๖. มีมนุษย์สมพันธ์ทดและประสานงานเก่ง
                             ี่ ี
๗. มีบคลิกภาพทีด ี
            ุ            ่
๘. มีความเป็ นกัลยาณมิตร ยิมแย ้มแจ่มใส เป็ นกันเอง คอยช่วยเหลือด ้วยน้ าใจ มีความเมตตา ยอมรับในความ
                                      ้
แตกต่างระหว่างบุคคลและมีความเห็นใจของผู ้เข ้ารับากรอบรม
๙. เป็ นนักประชาธิปไตย มีความยืดหยุน รับฟั งความคิดเห็นของผู ้อืน ไม่สรุปตัดบทง่าย ๆ เมือมีผู ้เสนอความ
                                          ่                       ่                         ่
คิดเห็นทีแตกต่างออกไป
                ่
๑๐.มีความจิรงใจในการถ่ายทอดความรู ้
๑๑.ปฏิบัตตนต่อผู ้เข ้ารับการอบรมอย่างเสมอภาค ทัดเทียม วางตนเหมาะสมกับทุกคน
                  ิ
๑๒.มีแบบฉบับลีลาทีเป็ นของตนเองยอมรับจุดเด่นและจุดด ้อยของตนและ มึความภูมใจและเข ้าใจ ในบุคลิกภาพ
                  ่                                                      ิ
ของตนเอง และใช ้ให ้เกิดประโยชน์ตอ การเป็ นวิทยากร
                                 ่

๒. ต ้องรู ้จริง
๑. ต ้องเป็ นคนรอบรู ้ ศึกษาหาความรู ้อยูเสมอ
                                          ่
๒. ต ้องรู ้รายละเอียดในเรืองนั นอย่างเพียงพอ
                           ่      ้
๓. ต ้องเข ้าใจเหตุผลของรายละเอียดนัน   ้
๔. ต ้องรู ้สมมติฐานหรือความเป็ นมาของสิงนัน่ ้
                             ิ่ ้
๕. ต ้องสามารถประยุกต์สงนันให ้เห็นเป็ นจริงได ้

๓. ถ่ายทอดเป็ น
                                                                            ึ
 ๑. มีเทคนิคต่าง ๆ เช่น การบรรยาย การนาอภิปราย การสัมมนา กรณีศกษา การจัดกิจกรรม ฯลฯ เพือทาให ้เกิด       ่
ความรู ้ เข ้าใจง่าย
ได ้สาระ
 ๒. พูดเป็ น คือ พูดแล ้วทาให ้ผู ้ฟั งเข ้าใจตามทีพูดได ้อย่างรวดเร็ว สามารถพูดเรืองยาก ซับซ ้อนให ้เข ้าใจง่าย
                                                   ่                               ่
 ๓. ฟั งเป็ น คือ ตังใจฟั ง ฟั งให ้ตลอด ขณะทีฟังต ้องควบคุมอารมณ์ ขณะทีฟังอย่าคิดคาตอบทันที และเท่อฟั ง จง
                    ้                            ่                             ่
ฟั ง เอาความหมายมากกว่าถ ้อยคา
 ๔. นาเสนอเป็ นประเด็นปละสรุปประเด็นให ้ชัดเจน
 ๕. มีอารมณ์ขน สร ้างบรรยากาศในการอบรมได ้อย่างเหมาะสม
                 ั
                                               ่
 ๖. มีประสิทธิภาพในการอบรม สามารถเชือมโยงทฤษฎีเข ้ากับการปฏิบตได ้ดี มองเห็นเป็ นรูปธรรม
                                                                           ั ิ
 ๗. ใช ้ภาษาพูดได ้ดี ใช ้ภาษาง่าย ๆ รู ้จักเลือกภาษาให ้ตรงกับเนือหาและตรงกับความต ้องการและพืนฐานความรู ้
                                                                     ้                                 ้
ของผู ้ฟั ง

๔. มีหลักจิตวิทยาในการสอนผู ้ใหญ่
 ๑. ความสนใจในการรับฟั งจะเกิดขึนจากการรับรู ้ถึงเรืองทีวทยากรจะพูดหรือบรรยาย
                                         ้                  ่   ่ ิ
 ๒. มุงประโยชน์ในการรับฟั งเป็ นสาคัญ
      ่
 ๓. จะตังใจแลเรียนรู ้ได ้ดี ถ ้าวิทยากรแยกเรืองทีสอนออกเป็ นประเด็น / ขันตอน
            ้                                      ่   ่                    ้
 ๔. จะเรียนรู ้ได ้ดีถ ้าได ้ฝึ กปฏิบัตไปด ้วยพร ้อม ๆ กับการรับฟั ง
                                       ิ
 ๕. จะเรียนรู ้ได ้ดียงขึน ถ ้าฝึ กแล ้วได ้ทราบผลของการปฏิบตอย่างรวดเร็ว
                       ิ่ ้                                       ั ิ
 ๖. จะ เรียนรู ้ได ้ดีเมือมีการฝึ กหัดอยูเสมอ
                           ่               ่
 ๗. จะเรียนรู ้ได ้ดีเมือเปิ ดโอกาสให ้ใช ้เวลาในการทาความเข ้าใจ อย่าเร่งรัด เพราะแต่ละคนมีความสามารถในการ
                         ่
เรียนรู ้ต่างกัน

๕. มีจรรยาบรรณของวิทยากร
๑. เมือจะสอนต ้องมั่นใจว่ามีความรู ้จิรงในเรืองทีจะสอน
       ่                                     ่   ่
๒. ต ้องมุงประโยชน์ของผู ้ฟั งเป็ นทีตง
          ่                          ่ ั้
                                                         ่
๓. ไม่ควรฉกฉวยโอกาสในการเป็ นวิทยากรเพือแสวงหาผลประโยชน์สวนตัว
                                               ่
๕. ความประพฤติและการปฏิบตตนของวิทยากร ควรจะสอดคล ้องกับเรืองทีสอน
                               ั ิ                         ่  ่

 นอกจากนียังมีข ้อเสนอแนะทีสาคัญในการเป็ นวิทยากรทีควรเสนอไว ้เพิมเติมอีกด ้วยว่าวิทยากรทีดจะ
            ้                  ่                       ่            ่                       ่ ี
 ๑. ต ้องมีกจกรรมมากกว่าการบรรยาย
              ิ
 ๒. ต ้องมีการเตรียมตัวทีด ี
                          ่
                ื่
 ๓. ต ้องมีสอช่วยให ้เกิดการเรียนรู ้ได ้ดี
 ๔. ต ้องมีกจกรรมทีสอดคล ้องกับเนือหา เวลา และตรงเวลา
                   ิ   ่                ้
 ๕. ต ้องให ้คนติดใจในการเรียนรู ้ มิใช่ตดใจในลีลาการแสดงเพราะวิทยากรไม่ใช่นักแสดง
                                            ิ
 ๖. ต ้องคานึงอยูตลอดเวลาว่าวิทยากรมีหน ้าทีไปทาให ้เขารู ้อย่าไปอวดความรู ้แก่เขาและวิทยากรไม่มหน ้าทีพูดให ้
                     ่                        ่                                                 ี      ่
คนอืนงง
    ่
เทคนิคการเตรียมตัวเป็ นวิทยากรทีด ี   ่

             ่                                                   ่
    บางคนเชือว่าการเป็ นวิทยากรทีดเกิดจากพรสวรรค์แต่บางท่านก็เชือว่าเกิดจากพรแสวง จะโดยพรประเภทใดก็
                                  ่ ี
               ่ ี                    ี            ่
ตามวิทยากรทีดก็ควรจะรู ้จักเทคนิควิธการเตรียมตัว ซึงอาจกระทาได ้หลายวิธด ้วยกันกล่าวคือ
                                                                       ี
 ๑. การหาข ้อมูล โดยวิธตาง ๆ เช่น
                       ี ่
 ๑.๑ อ่านตาราหลาย ๆ ประเภท
 ๑.๒ ฟั งจากคนอืนเล่า หรือฟั งจากเทปวิทยุ
                   ่
  ๑.๓ ศึกษาจากวิดทัศน์ รายการโทรทัศน์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์
                     ี

๒. สะสมข ้อมูลต่าง ๆ โดยจัดเก็บเป็ นระบบหรือแบ่งเป็ นประเภทเช่น
๒.๑ ประเภทเพลง
๒.๒ ประเภทคาขวัญ คากลอน สุภาษิต คาคม คาพังเพย และคาปรพันธ์ตาง ๆ
                                                           ่
๒.๓ ประเภทคาผวน
๒.๔ ภาษาหักมุม (คิดสวนทางเพือให ้ผู ้ฟั งฮา)
                               ่
                                      ้
๒.๕ ลูกเล่นเป็ นชุด หรือประเภทนิทานสัน ๆ
๒.๖ ประเภทเชาว์ เช่น คาถามอะไรเอ่ย ฯลฯ
๒.๗ ประเภทเกมหรือกิจกรรม

๓. ศึกษาข ้อมูลแต่ละประเภท พยายามจับประเด็นและหักมุมนาเข ้าในเรืองทีจะเสนอให ้ได ้
                                                                ่   ่
๔. หัดเล่า ให ้เพือนหรือคนอืนฟั งในวงเล็ก ๆ ก่อนโดยคานึงถึง
                  ่         ่
๔.๑ การเริมเล่าให ้เด็กฟั งและขยายวงถึงผู ้ใหญ่
            ่
๔.๒ ต ้องพยายามหักมุมตอนท ้ายให ้ได ้
๔.๓ ใช ้น้ าเสียงทีเหมาะสมในการเล่า
                    ่
๔.๔ ใช ้ลีลาหรือกิรยาท่าทางประกอบการเล่า
                      ิ

    อย่างไรก็ดมผู ้เปรียบเทียบว่าการเป็ นนักพูดหรือวิทยากรทีดก็เหมือนกับเด ้กหัดขีจักรยานนั่นเอง โดย
                  ี ี                                       ่ ี                   ่
ยกตัวอย่างแสดงไว ้ให ้เห็นชัดเจนดังนี้
๑. เด็กอยากได ้จักรยาน : อยากเป็ นวิทยากรมืออาชีพ
๒. หัดขีแล ้วมักจะล ้ม : ฝึ กพูดอาจจะไม่สาเร็จในบางครัง
         ่                                              ้
๓. หัดขีให ้เป็ น : ฝึ กพูดให ้เป็ นวิธการ / หลักการ
           ่                           ี
๔. ขีทกวันก็จะเกิดความชานาญ : ฝึ กหรือแสดงบ่อย ๆ จะชานาญ
     ่ ุ

เทคนิคการสร ้างการจูงใจ / อารมณ์ขน            ั
     วิทยากรสามารถเรียนรู ้ และสรรหาเทคนิควิธการต่าง ๆ มาใช ้ในการทาหน ้าทีวทยากร เพือให ้เกิดความสมบูรณ์
                                                       ี                            ่ ิ        ่
ความมั่นใจ ตลอดจนมีบรรยากาศทีดในการฝึ กอบรม ทาให ้วิทยากรและผู ้เข ้ารับการอบรมมีความสุขในการร่วม
                                            ี
กิจกรรมการฝึ กอบรม บรรลุจดประสงค์ท ี่ วางไว ้ด ้วยวิธการต่าง ๆ ดังนี้ เช่น
                                  ุ                        ี
 ๑. การสร ้างข ้อตกลงก่อนการบรรยาย
  เช่น ก่อนบรรยายอาจสร ้างข ้อตกลงเบืองต ้นดังนี้
                                                ้
ข ้อตกลงเบืองต ้นก่อนบรรยาย ๓ ประการ
               ้
 ขณะทีผู ้เข ้ารับการอบรมนั่งฟั งวิทยากรบรรยาย ถ ้าผู ้เข ้ารับการอบรมนั่งฟั งวิทยากรบรรยาย ถ ้าผู ้เข ้ารับการอบรม
         ่
                  ้
เกิดความซาบซึง (ง่วง) วิทยากรอนุญาตให ้แสดงพฤติกรรมได ้ใน ๓ กรณี ดังนี้
 กรณีท ี่ ๑ ฟั งแล ้วใช่ กรณีผู ้เข ้ารับการอบรมง่วงนอนก็จะหลับตาลงเบา ๆ แล ้วพยักหน ้า (ฮา)
 กรณีท ี่ ๒ ฟั งแล ้วเห็นด ้วย กรณีผู ้เข ้ารับการอบรมง่วงนอนมากก็จะหลับตาพยักหน ้าก ้มลงลึก ๆ (ฮา)
 กรณีท ี่ ๓ ฟั งแล ้วเห็นด ้วยอย่างยิง กรณีทผู ้เข ้ารับการอบรมง่วงนอนมาก ๆ ก็จะหลับตาสับปะหงกโดยแหงนหน ้า
                                         ่        ี่
ขึนข ้างบน (ฮา)
  ้
                    ้
 วิทยากร : ชีแนะต่อไปว่ากรณีท ี่ ๓ ขออย่างเดียวอย่ากรนเพราะจะทาให ้รบกวนสมาธิคนทีอยูข ้าง ๆ หรือระวังจะ
                                                                                                 ่ ่
ตกจากเก ้าอี้ (ฮา)
คาถามจากผู ้บรรยาย
 ยกมืใครเข ้าใจ อขึน    ้
 ยกมือขึนใครไใม่เข ้าใจ
           ้
 ยกมือขึนใครไม่ยกมือ
             ้

๒. การเล่าเรืองโดยใช ้คากลอนช่วย เช่น
                 ่
 วิทยากร : เล่าว่า วันหนึงตีนได ้พูดกับตาว่า “ ตีน มีบญคุณกับตากมาก แล ้วก็ยกกลอน ตีนกับตา (ตีนซิแน่) เล่า
                             ่                        ุ
ให ้ตาฟั งดังนี้
 ตีนซิแน่
ตีนกับตา อยู่กนมา แสนผาสุก
                   ั
 จะนั่งลุก ยืนเดิน เพลินหนักหนา
 มาวันหนึง ตีนทะลึง เอ่ยปรัชญา
            ่          ่
 ว่ามีคณ แก่ตา เสียจริงจริง
       ุ
ตีนช่วยพา ตาไป ทีตาง ๆ  ่ ่
 ตาจึงได ้ ชมนาง และสรรพสิง    ่
 เพราะฉะนัน ดวงตา จงประวิง
               ้
                     ่
 ว่าตีนนี้ เป็ นสิงควรบูชา

วิทยากร : หลังจากตาได ้ฟั งตีน ก็รู ้สึกหวันไส ้และโมโห ตา จึงพูดกับตีนว่า ทีจริงตาสาคัญกว่า ตีน โดยยกกลอน
                                           ่                                 ่
ตีนกับตา (ตาก็แน่) เล่าให ้ตีนฟั งดังนี้
ตาก็แน่
ตาได ้ฟั ง ตีนคุยโม ้ ก็หมั่นไส ้
จึงร ้องบอก ออกไป ด ้วยโทสา
ว่าทีตน เดินเหินได ้ ก็เพราะตา
      ่ ี
ดูมรรคา เศษแก ้วหนาม ไม่ตาตีน
เพราะฉะนัน ตาจึง สาคัญกว่า
            ้
ตีนไม่ควร จะมา คิดดูหมิน  ่
สรุปว่า ตามีคา สูงกว่าตีน
               ่
ทัวธานินทร์ ตีนไปได ้ ก็เพราะตา
  ่

วิทยากร : หลังจากตีนได ้ฟั งตาพูดก็โกรธมาก ยกกลอน ตากับตีน (แต่ก็ตาย)
  แต่ก็ตาย
   ตีนได ้ฟั ง ให ้คลังแค ้น แสนจะโกรธ
                      ่
  เร่งกระโดด ออกไป ใกล ้หน ้าผา
  เพราะอวดดี คุยเบ่ง เก่งกว่าตา
ดวงชีวา จะดับไป ไม่รู ้เลย
 ตาเห็นตีน ทาเก่ง เร่งกระโดด
ก็พโรธ เร่งระงับ หลับตาเฉย
    ิ
ตีนพาตา ถลาล ้ม ทังก ้มเงย
                        ้
ตกผาเลย ตายห่า ทังตาตีน   ้

                      ้                                         ่         ่
สุรปข ้อคิด การทางานนันจะเก่งคนเดียวไม่ได ้ จะต ้องร่วมมือกัน พึงพาอาศัยซึงกันและกัน มีความสามัคคี จึงจะทา
ให ้งานสาเร็จ

๓. การนาเสนอเรืองใกล ้ตัวของผู ้เข ้ารับการอบรม)จีจุด)
                    ่                             ้
   เช่น เสนอเรือง การนั่งอบรม
                ่
   วิทยากร : เสนอแผ่นใสพร ้อมเปิ ดแผ่นใสเป็ นลาดับและถามสมาชิก
นั่งตรงไหนดี
เวลามา ดูดนตรี อบรม
มาก่อน นั่งหน ้า นั่งหลัง
มาช ้า นั่งหลัง นั่งกลาง
มาหลัง (มีหวัง)ยืน นั่งหน ้า(ฮา…)

วิทยการ สรุปในเชิงมุขตลก ดังนี้
มาก่อนเวลา มักจะ เป็ นคนมองโลกในแง่ร ้าย(กังวลไปหมด)
มาตรงเวลา มักจะ เป็ นคนธรรมดา
มาตามเวลา(หลังเวลา) มักจะ เป็ นคนมองโลกในแง่ด ี (ฮา)
 เหตุผลเพราะคิดว่าอะไรก็ได ้ สบาย ๆ วิทยากรมาก็พูดไปไม่เห็นจาเป็ นต ้องรอเราเลย (ฮา)

๔. ใช ้ข ้อความจากแผ่นใสนาเสนอนาเข ้าสูเรือง เช่น
                                       ่ ่

สามศรีพน ้อง : จะเลือกคนไหนดี
       ี่

ดารา พีสาวคนโต จบ ป.๔ สวยเข ้าชันไปวัดตอนเช ้า ๆ ได ้ การบ ้านการเรือนดีมาก ได ้รับมรดกทีดน ๑๐ ไร่ บ ้าน ๑
        ่                        ้                                                        ่ ิ
หลัง เงินสด ๑ ล ้านบาท
                               ้                     ั
ดุจเดือน คนกลางจบ ปวช. สวยขันเทพีระดับจังหวัด นิสยจู ้จีจกจิก ได ้รับมรดกบ ้านพร ้อมทีดน ๕ ไร่ เงินสด ๒
                                                         ้ ุ                          ่ ิ
ล ้านบาท
                                                   ั
ดุจดาว น ้องคนเล็ก จบปริญญาตรี สวยน ้อง ๆ ดารา นิสยเย่อหยิง ได ้รับมรดกรถยนต์ ๒ คัน เงินสด ๕ ล ้านบาท
                                                             ่

………………………………………………………………………………………………………
ข ้อมูลเพิมเติม
           ่
  ดารา อายุ ๕๙ ปี
  ดุจเดือน อายุ ๕๘ ปี
  ดุจดาวอายุ ๕๗ ปี (ฮา…)
วิธใช ้ วิทยากรนาเสนิแผ่นใส โดยปิ ดส่วนทีเป็ นข ้อมูลเพิมเติมไว ้ก่อนแล ้วสมมติวาสมาชิกเป็ นชายหนุ่มอายุ ๒๕ ปี
     ี                                   ่              ่                       ่
ต ้องการคูครองสักหนึงคน โดยวิทยากรกาหนดให ้สมาชิกหนึงคนในสามคนทีนาเสนอ แล ้วสอบถามสมาชิกพร ้อม
             ่       ่                                      ่                ่
ทังเหตุผลมในการเลือก และนาเสนอข ้อมูลเพิมเติม
   ้                                         ่
ข ้อคิด             การตัดสินใจเลือกหรือการประเมินทีดต ้องอาศัยข ้อมูลทีถกต ้องครบถ ้วน เป็ นปั จจุบัน ทันสมัย
                                                    ่ ี                 ่ ู
                  ่
ความเชือ…จริงหรือไม่
เด็กอนุบาล เชือ พ่อแม่       ่
เด็กประถม ฯ เชือ ครู             ่
เด็กมัธยม ฯ เชือ เพือน         ่     ่
ปริญญาตรี เชือ ตารา      ่
ปริญญาโท เชือ ตัวเอง       ่
ปริญญาเอก (ดร.) ไม่เชือใครเลยแม ้แต่ตวเอง    ่  ั
                ่
              ชือ…หมอดู (ฮา)
 วิธใช ้ วิทยากร ทดสอบสมาชิก โดยใช ้กระดาษปิ ดข ้อความด ้านขวามือแล ้วเปิ ดสอบถามทีละรายการ
    ี
เชิญอ่าน…ครับ
    ดืมนม ดีกว่าดืม เหล ้า
      ่                            ่
    ดืมแล ้วรืนรมย์เพราะดืมนมสองเต ้า
        ่            ่                     ่
    ดืมแล ้วงีเง่าเพราะดืมเหล ้าสองกลม
          ่            ่               ่
    ดืมแล ้วระทมเพราะดืมนมผิดเต ้า
            ่                            ่

รายการอาหารจานเด็ด

       อาหารจานหลัก          เมียหลวง
อาหารจานรอง                    อนุภรรยา
อาหารจานพิเศษ        น ้องหนู
       (นอกบ ้าน) (ในตู ้กระจก)
อาหารว่าง สาวใช ้
       อาหารเสริม เลขา ฯ(ทีทางาน)
                              ่
อาหารตา น ้องเมีย (ฮา…)
 วิธใช ้ วิทยากร ทดสอบสมาชิก โดยใช ้กระดาษปิ ดข ้อความด ้านขวามือแล ้วเปิ ดสอบถามทีละรายการ
    ี

ทดสอบภาษาบาลี

อตฺตาหิ อตฺตโน นาโถ
(ตนแลเป็ นทีพงแห่งตน)
              ่ ึ่
ทินงฺมนงฺ จมนงฺ ทิกนงฺ
        ิ            ุ
(ทีควรนั่งก็ไม่นั่ง แต่มานั่งทีกจะนั่ง)
   ่                           ่ ู
โน มโขนงฺ แสงโสมงฺ สุข ี
(ไม่มแม่โขงได ้ดืมแสงโสมก็ไม่มความสุขเหมือนกัน)
      ี            ่               ี

วิธใช ้ วิทยากร ทดสอบสมาชิก โดยใช ้กระดาษปิ ดข ้อความแล ้วเปิ ดสอบถามที ละรายการ
   ี
สรุป
     การเป็ นวิทยากรทีดและมีประสิทธิภาพ เป็ นเรืองทีไม่ง่ายนั กแต่ก็ไม่ยากจนเกินไปทีจะฝึ กหัดได ้ ขอเพียงให ้ท่าน
                       ่ ี                       ่   ่                              ่
สนใจทีจะเรียนรู ้เทคนิควิธการต่าง ๆ ทีหลากหลาย แล ้วทดลองนาไปประยุกต์ใช ้ ตามข ้อเสนอแนะ และตัวอย่างที่
         ่                 ี          ่
                                                         ่
นาเสนอไว ้ในตอนต ้นของบทนี้ ท่านก็คงจะพัฒนาไปสูการเป็ นวิทยากรมืออาชีพได ้อย่างรวดเร็ว ส่วนผู ้ทีเป้ น
                                                                                                     ่
วิทยากรมืออาชีพอยูแล ้ว บทบาทและเทคนิคต่าง ๆ ทีนาเสนอเป็ นเสมือนเครืองเตือนใจและผงชูรสทีจะทาให ้เกิด
                     ่                                 ่                    ่                      ่
ความเข ้มข ้นมากยิงขึนเพราะบางครังเรารู ้ทุกเรืองแต่พอถามเรืองเล็ก ๆ น ้อยกลับลืมหรือตอบไม่ได ้อาจตกม ้าตาย
                   ่ ้             ้           ่              ่
ได ้เหมือนกัน
…………………………………………..
บทที่ ๒
                                             วิทยากรกับการพูด

    การพูดเปนวิธีการสื่อสารที่สําคัญที่สุดของคนเรา และเปนทักษะที่จะเปนอยางยิ่งที่จะตองฝกฝนใหเกิดความ
ชํานาญอยางตอเนื่องเพราะการพุดเปนศิลปและปจจัยที่จะสงผลใหบุคคลนั้นประสบผลสําเร็จในการสื่อสาร
ตลอดจนการแสดงถึงความคิดหรือบอกในสิ่งที่ตนเองคิดเพื่อใหผูรับฟงเกิดความเขาใจและพึงพอใจในที่สุด

    วิทยากรเปนผูมีหนาที่และบทบาทสําคัญในการถายทอดความรู ความคิด ประสบการณตาง ๆ ใหผูเขารับการ
อบรม เพราะฉะนั้นการพูดจึงเปนปจจัยหนึ่งที่มีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับวิทยากร วึ่งวิทยากรจะตองศึกษา
หลักการ แนวคิดและวิธีการ พัฒนาการพูดตลอดถึงการฝกหรือการสรางประสบการณใหกับตนเองใหมากจนเกิด
ความชํานาญจะทําใหการปฏิบัติภารกิจในหนาที่ของวิทยากรเกิดความสมบูรณยิ่งขึ้น

    การพูดเปน “ศาสตร” ที่สามารถศึกษาได การพูดเปน “ศิลป” ที่สามารถฝกฝนได ฉะนั้นผูที่ทําหนาที่เปน
                     
วิทยากรสามารถศึกษาหาความรูไดดวยวิธีการตาง ๆ เชน ศึกษาจากการอานหนังสือตํารารายการโทรทัศน
โปรแกรมคอมพิวเตอร ฟงจากผูรู ผูเชี่ยวชาญ รายการวิทยุ วงสนทนา การประชุมสัมมนา การฝกอบรม ฯลฯ และ
สามารถที่จะฝกพูดและหาโอกาสพูเพื่อเปนการฝกประสบการณใหเกิดความชํานาญ

    เพื่อพัฒนาไปสูความสามารถในการพูดที่ดี วิทยากรควรใหความสนใจกับหลักการและวิธีการตาง ๆ เกี่ยวกับการ
พูด ซึ่งอาจจะสรุปเปนสาระสําคัญที่นาสนใจไดหลายประเด็นคือ
บุคลิกภาพและคุณสมบัติที่ดีของนักพูด

     ขณะที่วิทยากรไปปรากฎกายตอหนาผูเขารับการอบรมนั้น ความสนใจของผูเขารับการฝกอบรมมิไดอยูที่คําพูด
หรือ
เนื้อหาที่วิทยากรกลาวถึงแตเพียงอยางเดียว บุคลิกภาพของวิทยากรก็เปนจุดสนใจอีกประการหนึ่งดวยควบคูไปกับ
เนื้อหา
สาระที่วิทยากรแสดงออกมาดวยการพูด ดังนั้นวิทยากรจึงควรเอาใจใสในเรื่องของบุคลิกภาพของวิทยากรดวย ใน
เรื่องนี้อาจ
พิจารณาถึงองคประกอบในดานบุคลิกภาพและคุณสมบัติไดจากตารางตอไปนี้

บุคลิกภาพ คุณสมบัติ
๑. รูปรางหนาตา ๑. ความเชื่อมนในตนเอง
๒. การแตงกาย ๒. ความกระตือรือรน / ตั้งใจ
๓. การปรากฏตัว ๓. ความรอบรู
๔. กิริยาทาทาง ๔. ความคิดริเริ่ม
๕. การสบสายตา ๕. ความจํา
๖. การใชน้ําเสียง ๖. ความจริงใจ
๗. การใชถอยคําภาษา ๗. ปฏิภาณไหวพริบ
๘. ความรับผิดชอบ
๙. อารมณขัน

     นอกจากคุณสมบัติ ๙ ประการในตารางขางตนแลว นักพูดหรือวิทยกรที่ดียังควรมีคุณสมบัติอีก ๕ ประการ
คือ “ เปนนัก
ฟง ยังศึกษา ทาวิจารณ งานริเริ่ม เติมความสุข “
ซึ่งขยายความใหสมบูรณไดวา
  ๑. เปนนักฟงที่ดี
  ๒. ศึกษาหาความรูอยูเสมอ
  ๓. ยอมรับฟงคําวิจารณ
  ๔. เปนตัวของตัวเอง
  ๕. มีความสุขในการถายทอดความรูใหผูอื่น

ทฤษฎีการพูด
   ทฤษฎีการพูดมีอยูหลายทฤษฎีดวยกัน แตที่นาสนใจไดแก ทฤษฎี ๓ สบาย ของ รอ.ดร.จิตร
จํานงค สุภาพ ซึ่งผูเสนอทฤษฎีไดใหขอสรุปของทฤษฎี ๓ สบาย (The Theory Of Three Pleasant Speech)
หมายถึงการพูดที่ฟงสบายหู ดูสบายตา พาสบายใจ
   ฟงสบายหู ไดแกการพูดดวยวจีสุจริต รูจักการใชถอยคําภาษาที่ถูกตองรูจักใชเสียงและการพุด ที่มีจังหวะ
ถูกตอง
เหมาะสม
ดูสบาย ไดแกบุคลิกภาพมาตรฐานเบื้องตน ศิลปการแสดง การพูดเบื้องตน การแสดงทาทางประกอบดี
  พาสบายใจ ไดแกการเลือกเรื่องดี การเตรียมการพูดที่ดี การจัดลําดับความคิด การสรางโครงเรื่องดี
 การพูดที่ฟงสบายหู ดูสบายตา และพาสบายใจนี้เจาของทฤษฎีไดเสนอไวดวยวาผูพูดจะจองพูดจากหัวใจทั้งสี่
หองคือ
 พูดจากใจ คือการแสดงออกมาจากความจริงใจไมเสแสรง มีความมั่นใจ แนใจในตัวผูฟง
 ที่ขึ้นใจ คือเขาใจเรื่องที่พูดแยางกระจางแจง ถูกตองไมโมเมยกเมฆหรือเดา
 ดวยความตั้งใจ คือมีความอยากจะพุดกระตือรือรน กระฉับกระเฉงไมเฉื่อยชา หรือแสดงอาการลักษณะเบื่อเซ็ง
 จนสุดใจ คือเปรียบเสมือนการสวมวิญญาณ ลงไปในคําพูดแตละคําอยางมีชีวิตชีวา มีความรูสึกเหมือนกับตัวเอง
อยูในสถานการณนั้นจริง ๆ

  ผูเขียนเห็นดวยเปนอยางยิ่งวาที่สุดของการพูดทุกครั้ง ควรจะใชทฤษฎี ๓ สบาย ประกอบการพูดใหมากที่สุดและ
ควรจะยึดบันได ๑๓ ขั้นที่นําไปสูความสําเร็จในการพูด ตามที่เจาของทฤษฎีเสนอแนะไวดังนี้คือ
 ๑. เตรียมใหพรอม
 ๒. ซักซอมใหดี
 ๓. ทาทีใหสงา
 ๔. หนาคาใหสุขุม
 ๕. ทักที่ประชุมไมวกวน
 ๖. เริ่มตนใหโนมนาว
 ๗. เรื่องราวกระชับ
 ๘. ตากจับที่ผูฟง
 ๙. เสียงดังใหพอดี
 ๑๐.อยาใหมีเออ อา
 ๑๑.ดูเวลาใหพอครบ
 ๑๒.สรุปจบใหจับใจ และ
 ๑๓.ยิ้มแยมแจมใสตลอดการพูด

หลักการพัฒนาการพูด
๑. อานหนังสือ ไดฟงหรือพบประโยคหรือวลี คํากลอน คําขวัญ สําคัญ ๆ ที่ดีมีคุณคาจดไวเปนขอมูล
๒. จัดลําดับความคิดที่จะพุดใหสอดคลองกันหรือรอยรัดเหมือนเขียนเรียงความ
๓. พูดจากหัวใจที่จริงใจดวยความตั้งใจ
๔. วิเคราะหหรือหยั่งสถานการณการพูดการฟง
๕. กอนพูด เตรียมตัว เตรียมรางกายใหพรอม
๖. เตรีนมเครื่องชวยพูดใหพรอม
๗. ตองพูดใหไดเหมือนกับการเขียน
๘. ระลึกเสมอวาการพูดนั้นเปนทั้งศาสตรและศิลป
๙. กําหนดหรือลําดับเรื่องไวในใจและจําใหขึ้นใจ

ขอพึงหลีกเลี่ยงในการพูด
 ๑. อยาออกตัว เชน วันนี้เตรียมมาไมพรอมพูดไมดี
 ๒. อยาขออภัย เชน การพูดอาจผิดพลาด
 ๓. อยาถอมตัว เชน ผมไมใชคนเกงมีประสิทธิภาพนอย
 ๔. อยาออมคอม เชน บรรยายไปเรื่อย ๆ ขาดจุดเดนที่นาสนใจ

ถอยคําที่วิทยากรควรหลีกเลี่ยงในการขึ้นตนหรือลงทาย
 “ ขาพเจารูสึกยินดีและเปนเกียรติอยางยิ่งที่ไดมาพูดในวันนี้ ”
 “ เตรียมมาไมเต็มที่ ดังนั้นหากผิดพลาดไป ขอโทษ ”
  “ ผมพูดมาก็มากแลวจึงขอจบเพียงเทานี้ ”
 “ ขาพเจาไมมีอะไรจะกลาวอีกแลว จึงใครขอยุติไวเพียงแคนี้สวัสดีครับ “
 “ ที่พูดมาทั้งหมดนั้น หวังวาคงเปนประโยชนแกทานไมมากก็นอย ขอบคุณมากครับ สวัสดี”
 “ ความคิดของดิฉันก็มีเพียงเทานี้แหละคะ ขอบคุณทานทั้งหลายที่อุตสาหฟงดิฉันพูดจนจบ”

ขอแนะนําสําหรับวิทยากร เมื่อลงจากเวทีแลว สิ่งที่ควรปฏิบัติคือ
 ๑. ควบคุมจิตใจใหสงบ
 ๒. อยารูสึกเสียดายถอยคําบางคําที่ลืมพูด
 ๓. ไมหลงระเริงคําสรรเสริญเยินยอ
 ๔. อดทนฟงคําวิจารณของผูอื่นอยางสนใจ
 ๕. บันทึกขอบกพรองเพื่อพิจารณาแกไขตอไป
สรุป
    การพูดเปนทั้งศาสตรและศิลป มนุษยเกือบทุกคนพูดไดตั้งแตวัยเด็กและมีการพัฒนาการใชภาษาเพื่อการ
สื่อสารมาโดยตลอด แตมิไดหมายความวามนุษยทุกคนจะพูดเปน จึงมีคําพังเพยที่วา “ คารมเปนตอรูปหลอเปน
รอง ” การเปนวิทยากรที่ดีตองประกอบดวยบุคลิกภาพและคุณสมบัติหลายประการ รวมถึงการใชพลังทั้งหมด
ประสานกัน ระหวางกายกับจิต ปฏิภาณไหวพริบ ถายทอดออกสูผูฟงโดยใช พลังจิต ภาษาพูด ภาษาทาทาง ที่
ไดรับการเตรียมการ ฝกฝนมาอยางดียอมจะกอใหเกิดการประสบความสําเร็จสูง

พูดดี มีสาระ นาศรัทธา

คิดใหรอบคอบ ชอบดวยใจความ งดงามดวยถอยคํา
จดจําดวยสาระ เสริมทักษะดวยคารม ประสมดวยตัวอยาง
กระจางดวยเหตุผล แยบยลดวยกลวิธี มีมนุษยสัมพันธ
พูดจบแลวนั้นประทับใจ

      (สุนีย สินธุเดชะ)
บทที่ ๓
                                            วิทยากรกับการฝกอบรม

ปจจุบันสภาพเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมของประเทศเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว ทําใหพัฒนาการดานตาง ๆ ของ
ประเทศรุดหนาพรอมทั้งเกิดปญหาที่เนื่องมาจากการพัฒนาที่สลับซับซอนเพิ่มเติมขึ้นคูขนานกันไป การเตรียมทรัพยากร
มนุษยใหพรอมที่จะรับมือกับปญหาตาง ๆ อยางรูเทาทันจึงตกเปนภาระหนาที่ของการจัดการศึกษาอยางปฏิเสธไมได
นอกจากการรับการศึกษาจากหลักสูตรปกติของสถาบันการศึกษาตาง ๆ แลว การจัดการฝกอบรมก็เปนอีกวิถีทางหนึ่งของ
การจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ดวยเหตุนี้วิทยากรที่ดีจึงควรใสใจกับกระบวนการฝกอบรมทั้งระบบ ทั้งนี้เพื่อใหสามารถ
นําความรูความเขาใจไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ
 การฝกอบรมที่จะสงผลใหบุคลากรที่รับการฝกอบรมเปนผูที่มีความรูความเขาใจตลอดจนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไป
ในทางที่ดีเปนบุคลากรที่มีคุณภาพนั้น ยอมขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการทั้งในดานบุคคล องคการและกระบวนการการ
ฝกอบรมซึ่งจะไดกลาวถึงเปนลําดับดังนี้
การฝกอบรมหมายถึงอะไร
 การฝกอบรม หมายถึง กระบวนการในการที่จะทําใหผูเขารับการอบรม เกิดความรู ความเขาใจ เกิดความชํานาญ และ
เกิดทัศนคติที่เหมาะสม เกี่ยวกับเรื่องที่อบรม จนกระทั่งผูเขารับการอบรมเกิดการเรียนรูและสามารถเปลี่ยนแปลงความคิด
หรือพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงคของการฝกอบรมอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
การเปลี่ยนแปลงความคิดและพฤติกรรมของคน
 การเปลี่ยนแปลงความคิดและพฤตืกรรมของคนจากจุดหนึ่งที่เรายังไมพอใจไปยังจุดที่เราพอใจนั้น ควรปฏิบัติดังนี้
 1.ใหความรู (Knowledge)
 2.ใหเกิดความเขาใจ (Understand)
 3.ใหเกิดทักษะโดยการใหลงมือปฏิบัติจริง (Skill)
 4.ใหเกิดทัศนคติ (Attitude)
 การฝกอบรม คือการทําใหผูเขารับการอบรมเกิดการเรียนรูและปฏิบัติไดจริงมิใชเพียงทําใหไดรับความรูเทานั้น
 การทําใหเกิดการเรียนรู คือ กระบวนการจัดการเรียนการอน (Instrution) ไมใชเพียงแตการสอน (Teaching) หรือ การ
บรรยาย (Lecture) เทานั้น
 วิทยากรคือผืที่ทําใหเกิดการเรียนรู ดังนั้นการเรียนรูจึงเกิดจากิจกรรมของวิทยากรรวมกับกิจกรรมของผูเขารับการ
ฝกอบรมภายใตสถานการณที่วิทยากรเปนผูกําหนดและอํานวยการใหเปนไปโดยยึดผูเขารับการฝกอบรมเปนศูนยกลาง
หลักสําคัญที่ทําใหเกิดการเรียนรู มี 2 ประการคือ
 1.วิทยากรเปนผูกระตุนและอํานวยความสะดวกในการเรียนรูของผูเขารับการอบรม
 2.ผูเขารับการอบรมตองทํากิจกรรมเพื่อใหเกิดการเรียนรูดวยตนเอ

บทบาทผูจัดการฝกอบรม
   ในการจัดการฝกอบรมแตละครั้ง บุคลาการที่มีหนาที่ในการจัดฝกอบรมแบงออกไดเปนหลายประเภท บุคลาการเหลานี้
มีบทบาทหนาที่แตกตางกันไปตามภารกิจแตก็ลวนมีความสําคัญตอการจัดการฝกอบรมทั้งสิ้น อาทิ เชน
   ผูบริหารองคการ เปนผูที่มีบทบาทสําคัญในการใหการสนับสนุนดานงบประมาณ เวลา ใหคําปรึกษา แนะนํา จัด
บุคลากรใหรับผิดชอบงานไดอยางเหมาะสม เห็นคุณคา และความสําคัญของการฝกอบรม
ผูบริหารการฝกอบรม เปนผูรับผิดชอบในการฝกอบรมจะตองมีความรู ความสามารถหลายดาน เชน การวางแผน
กําหนดโครงการ และการบริหารงบประมาณไดอยางเหมาะสม ตลอดจนเขาใจนวัตกรรมการฝกอบรม เปนตน
นอกจากนั้น ผูบริหารงานฝกอบรมเปนบุคคลสําคัย จึงจําเปนตองพัฒนาตนเองและมีคุณสมบัติที่ดีหลายประการ คือ
 1.มีความรูความสามารถในการฝกอบรม มีความคิดริเริ่มและคิดกวางไกล
 2.เปนนักประสานงานที่ดีสามารถทํางานกับทุกคนได
 3.เปนนักวางแผนและนักปฏิบัติที่ดี
 4.ศึกษาและมีความเขาใจปรัชญา จิตวิทยาการฝกอบรมจิตวิทยาผูใหญ
 5.มีมนุษยสัมพันธดี ยิ้มแย็มแจมใส มีความเปนกัลยาณมิตรกับทุกคน
 6.มีความสามารถในการแกปยหาไดดี
 7.เปนผูกระตุนที่ดีเพื่อใหผูเขารับการอบรมตื่นตัวและมีความกระตือรือรน
 8.เปนผูคิดคํานึงถึงการใหมากกวาการรับ และคํานึงถึงผลประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน
 9.มีบุคลิกภาพและการแตงกายที่ดี มีความเชื่อมั่นในตนเองและพูดมีศิลปะ
 10.เปนผูใหความรวมมือ สงเสริม สนับสนุน เสนอแนะใหวิทยากรปฏิบัติงานตามบทบาทและภารกิจไดอยางเต็มที่
 วิทยากร มีความสําคัญอยางมากในเวทีการฝกอบรม เปนผูมีความรูความสามารถในการถายทอด มีเทคนิคในการจัดสื่อ
เครื่องมือตลอดจนการนําเสนอที่เหมาะสมกับเวลาและผูเขารับการฝกอบรม

  ผูเขารับการอบรม มีสวนสําคัญในการทําใหการอบรมสําเร็จถามีความสมัครใจ เต็มใจ กระตือรือรน และใหความรวมมือ
ในการปฏิบัติกิจกรรม ตลอดจนการนําความรูไปพัฒนางาน
  จะเห็นไดวาวิทยากรเปนสื่อกลางที่มีบทบาทสําคัญมาก ในการทําใหผูเขารับการอบรมเกิดความรู ความเขาใจ ทักษะ
และทัศนคติที่เหมาะสมเกี่ยวกับเรื่องที่อบรม จนกระทั่งเกิดการเรียนรูและเป,ยนแปลงความคิดหรือพฤติกรรมตามที่
ตองการ

บทบาทและหนาที่สําคัญของวิทยากร
  ในการจัดการฝกอบรม ผูที่มีบทบาทสําคัญที่สุด ที่จะกอใหเกิดการเรียนรูหรือชวยใหการจัดการฝกอบรมเกิด
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากนอยเพียงใด ก็คือวิทยากรการฝกอบรม วึ่งบทบาทและหนาที่ที่สําคัญของวิทยากรมีอยู
6 ประการใหญ ๆ ดวยกัน คือ

 1. จัดเตรียมหลักสูตรการฝกอบรม กําหนดเปาหมาย ปรัชญาของการฝกอบรม และกําหนดรายละเอียดของเนื้อหาในการ
ดําเนินการฝกอบรม
 2. จัดเตรียมโปรแกรมการฝกอบรม ศึกษาหาขอมูลเกี่ยวกับผุเขารับการฝกอบรมและนําขอมูลเหลานั้นมาใชใหเกิด
ประโยชน ในการเตรียมโปรแกรมการฝกอบรมจะเปนไปอยางละเอียดและรอบคอบ รวมทั้งจัดเตรียมทีมงานใหมีความ
พรอมในการที่จะเปนวิทยากรฝกอบรม
 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณและเครื่องมือที่จําเปนจะตองใช เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการฝกอบรม เชน วีดีโอ
โปรเจคเตอร เครื่องฉายภาพทึบแสง แผนใสสี สไลด ฯลฯ
 4. ประสานงานในเรื่องการจัดเตรียมงาน เตรียมพรอมทุกดานที่เกี่ยวของกับกระบวนการในการจัดฝกอบรม เพื่อความ
สะดวกและราบรื่นในการดําเนินการตามโครงการ เชน สถานที่ อาหาร ระบบไฟฟา แสง สี เสียง ฯลฯ
 5. รวมปรึกษาหารือทีมงาน เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมการฝกอบรมใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ชวยใหสมาชิกผูเขา
รับการฝกอบรมไดรับความรูความเขาใจ บรรลุผลตามจุดมุงหมายที่ตั้งเอาไวซึ่งวิทยากรจะตองดําเนินการดังตอไปนี้
 5.1 สรางบรรยากาศการเรียนรู วิทยากรการฝกอบรม จะตองเปนผูที่สรางบรรยากาศเพื่อจูงใจ สงเสริม และเรงเราให
สมาชิกเกิดความสนใจที่จะเรียนรู รวมทั้งจัดประสบการณการเรียนรูหลายรูปแบบที่จะชวยใหผูเขารับการอบรมเกิดความ
เขาใจเนื้อหาที่เรียนมากยิ่งขึ้น
 5.2 วิทยากรจะตองเปนผูที่ถายทอดขอมูล ความรู ความคิด ประสบการณ ใหผูเขารับการฝกอบรมในฐานะนักวิชาการ
เพื่อสรางความรูความเขาใจที่ถูกตองใหผูเขารับการฝกอบรมและวิทยากรจะตองมีทัสนคติที่ดีตอผูเขารับการฝกอบรมดวย
 5.3 วิทยากรจะตองทําตัวเปนตนแบบ เปนแมพิมพหรือเปนแบบอยางที่ดีแกผูเขารับการฝกอบรม สิ่งใดที่วิทยากรตองการ
ใหผูเขารับการฝกอบรมประพฤติปฏิบัติ วิทยากรควรประพฤติปฏิบัติใหเปนแบบอยางดวย เพื่อความศักดิ์สิทธิ์ในเชิง
วิชาการ
 5.4 วิทยากรจะตองทําหนาที่เปนคตัวกลาง เชื่อมโยงและประสานความคิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อความหมายใน
การสรางความเชาใจใหกับผูเขารับการฝกอบรมไดเขาใจถูกตองตรงกัน พรอมทั้งคอยชี้แนะและแกปญหากลุมในบาง
โอกาส เพราะกระบวนการการเรียนรูโดยอาศัยวิธีการเรียนจากกิจกรรมกลุมสัมพันธเปนไปในลักษระที่กลุมจะตองแสดง
ความคิดและทํางานรวมกันเปนทีม
 6. เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการในการฝกอบรม วิทยากรจะตองทําหนาที่ประเมินผลการฝกอบรมวาบรรลุเปาหมายมากนอย
เพียงใด และแจงผลการประเมินใหกับผูเขารับการฝกอบรมไดทราบดวย

   จากที่กลาวมาแลวจะเห็นไดวา วิทยากรเปนหัวใจสําคัญที่จะชวยใหการฝกอบรมสัมฤทธิผลหรือลมเหลว เพราะบทบาท
ในกระบวนการเรียนการสอนอยูที่วิทยากร ทุกคนเปนวิทยากรได แตจะเปนวิทยากรที่ดีหรือไมเพียงใดขึ้นอยูกับการพัฒนา
ตนเองใหมีความรู ความสามารถ ทักษะ บุคลิกภาพ และคุณลักษณะดังตอไปนี้
 1. วิทยากรจะตองเปนผูมีบุคคลิกที่ดี เปนที่นาเชื่อถือ และเปนกันเองกับผูเขารับการฝกอบรม เพื่อสรางบรรยากาศแหง
ความสมานฉันทและจูงใจผูเขารับการฝกอบรม
 2. วิทยากรจะตองมีทัศนคติที่ดีตอผูเขารับการฝกอบรมทุกคน
 3. วิทยากรจะตองมีทักษะในการฟงและการสั่ง ทั้งในรูปของถอยคําสํานวนภาษาและการจับใจความสําคัญ คือสามารถ
รับฟงคนอื่นไดอยางเขาใจแจมแจง และจะตองเคารพในความคิดเห็นของผูอื่น
 4. วิทยากรจะตองไวตอการรับความรูสึกสามารถ อานใจสังเกตความตองการของผูอื่นและการวิเคราะหสถานการณและ
ถูกตอง
 5. วิทยากรจะตองใจกวาง กลาที่จะยอมรับความผิดพลาดของตนเอง
 6. วิทยากรจะตองเปนผูที่มีความสนใจผูอื่น ไมใชเรียกรองใหผูอื่นมาสนใจวิทยากร
 7. วิทยากรจะตองเปนนักมนุษยสัมพันธ อานใจเขาใจเราไมยกตนขมทานหรือแสดงอํานาจ
 8. วิทยากรจะตองไมวิพากษวิจารณ หรือแปลพฤติกรรมของผูอื่นโดยไมจําเปน
 9. วิทยากรจะตองไมเอาปญหาของตนเองมาเปนจุดสรางความสนใจใหกับผูอื่นจนกระทั่งลืมความตองการหรือ
วัตถุประสงคของกลุม
10. วิทยากรจะตองมีเทคนิควิธีการรอบดาน เพื่อชวยใหผูรับการอบรมสนใจและเกิดความรู
11. วิทยากรจะตองรูจักนําความคิดเห็นของผูอื่นมาใชใหเปนประโยชน
12. วิทยากรจะตองมีความสามารถในการวิเคราะห เชื่อมโยงความคิดและสรุปความคิดเห็นตาง ๆ ไดดี
13. วิทยากรจะตองเปนผูที่มีปฏิภาณไหวพริบดีเยี่ยม แกปญหาเฉพาะหนาอยางเหมาะสม

ขั้นตอนของการดําเนินการฝกอบรม
   ในการฝกอบรมแตละครั้ง แมวาวิทยากรจะมีบทบาทเฉพาะในบางชวงเวลาของการฝกอบรมตามที่ไดพรรณนามาแลว
ขางตนก็ตามแตเพื่อใหเกิดประโยชนแกผูที่สนใจศึกษาเรื่องการจัดการฝกอบรมมากยิ่งขึ้น สมควรที่จะนําแผนของการ
ดําเนินการฝกอบรม 3 ขั้นตอนคือ การดําเนินงานกอนการฝกอบรม การดําเนินการระหวางการฝกอบรม การดําเนินงาน
หลังการฝกอบรม มานําเสนอไวดวยดังนี้

แผนดําเนินการฝกอบรม
การดําเนินงาน ผูรับผิดชอบ/กําหนดเวลา

การดําเนินการกอนการฝกอบรม
1. ติดตอวิทยากรเปนการภายใน พรอมทั้งแจงรานละเอียดเกี่ยวกับการฝกอบรมที่วิทยากรควรทราบ เชน หัวขอวิชานั้น ๆ
จํานวนและคุณสมบัติของผูเขารับการอบรม วันและเวลาสําหรับหัวขอนั้น ๆ เปนตน นอกจากนั้นจะตองสอบถามวิทยากร
เกี่ยว
กับการจัดรถรับ-สง ดารจัดหองฝกอบรมอุปกรณที่จะใช และ เอกสารประกอบสําหรับหัวขอนั้น ๆ
2. ติตดอสอบถามสถานที่ดูงานหรือทัศนศึกษาเปนการภายในพรอมทั้งแจงวัตถุประสงค ขอบเขตของการดูงาน ตลอดจน
จํานวนผูเขาชม วัน เวลาของการดูงาน
3. จัดพิมพหลักสูตรและโครงการฝกอบรม
4. คัดเลือกผูเขารับการฝกอบรม และจัดทําบัญชีรายชื่อผูเขา
รับการฝกอบรมสําหรับ
     - วิทยากร ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติของผูเขารับการฝกอบรมที่วิทยากรควรทราบ เชน ชื่อ อายุ ตําแหนง
หนวยงานตนสังกัด วุฒิ ประสบการณการทํางาน เปนตน
ผูเขารับการอบรม ซึ่งมีรายละเอียดในเรื่อง ชื่อ ตําแหนง ν หนวยงานตนสังกัด
 ลงชื่อประจําวัน ν
5. จัดเตรียมเงินที่จะใชจายในโครงการฝกอบรม
6. จัดเตรียมเอกสารพื้นฐานและเอกสารประกอบการฝกอบรม
7. จัดเตรียมประวัติวิทยากรในโครงการ
8. จัดเตรียมแบบประเมินผลและสังเกตการณของแตละรายวิชาและของโครงการโดยสวนรวม
9. การจัดเตรียมสถานที(เชน โตะ เกาอี้ แจกันดอกไม เปนตน) โสตทัศนูปกรณ (เชน เครื่องฉายภาพขามศีรษะ แผนใส ที่
                         ่
เขียนแผนใส กระดานดํา เปนตน) และอุปกรณอื่น ๆ (เชน ตะกรา เอกสาร กรรไกร ที่เจาะกระดาษ ที่เย็บกระดาษ สกอต
เทป ตะกราใสผง เปนตน) เพื่อใชในการฝกอบรม
10. ติดตอประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อขอความชวยเหลือในเรื่อง
-การจัดและการใชสถานที่ในการฝกอบรม
   -การจัดรถรับ-สงวิทยากร และรับ-สงผูเขารับการอบรมไปดุงาน
   -การจัดสถานที่จอดรถสําหรับวิทยากร
   -โสตทัศนูปกรณที่ใชในการฝกอบรม
   -การจัดเลี้ยงเครื่องดื่มในพิธีเปด-ปดและระหวางฝกอบรม
   -การจัดพิมพเอกสาร
                           ฯลฯ

11. จัดทํากําหนดการพิะเปดการฝกอบรม
12. ทําหนังสือเชิญวิทยากร และหนังสือขออนุญาตจากผูบังคับบัยชาของวิทยากร พรอมทั้ง รายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตร
การฝกอบรม รายชื่อผูเขารับการอบรม แบบประเมินผลการอบรมโดยวิทยากร
13. ทําหนังสือถึงหนวยงาน เพื่อขออนุญาตเขาดูงานในหนวยงานนั้น
14. เตรียมรางคํากลาวรายงาน คํากลาวในพิธีการเปดการฝกอบรม
15. ทําหนังสือเชิญหัวหนาหนวยงานเปนผูกลาวรายงานในพิธีการเปดการฝกอบรม(ควรสงลวงหนาประมาณ 1 สัปดาห)
16. ทําหนังสือเชิญผูมีเกียรติมารวมในพิะเปดการฝกอบรมพรอมทั้งแนบกําหนดการพิธีเปด
17. จัดปายตาง ๆ คือ
   -ปายวิทยากร(ตั้งโตะ)
   -ปายชื่อผูเขารับการฝกอบรม(ตั้งโตะ ติดเสื้อ)
   -ปายลงทะเบียน
   -ปายบอกทางมายังหองฝกอบรม
18. เตรียมแฟมสําหรับผูเขารับการฝกอบรม ประกอบดวย
   -กําหนดการพิธีเปดการฝกอบรม
   -รายละเอียดโครงการ
   -เอกสารพื้นฐาน
   -กระดาษจดบันทึก
   -รายชื่อผูเขารับการอบรม
19. เตรียมแฟมลงทะเบียน แฟมเซ็นชื่อ
20. เตรียมวุฒิบัตร
21. เตรียมการทั่วไปสําหรับวันเปดการฝกอบรม
   -สถานที่ ไดแก โตะหมูบุชา โตะ เกาอี้ ไมโครโฟน
ดอกไม ธูปเทียน
   -ตอนรับประธาน ผูมีเกียรติ ผูเขารับการฝกอบรม
   -รับลงทะเบียน
   -การเลี้ยงน้ําชา
   -เตรียมสําเนารางคํากลาวรายงาน และคํากลาวในพิธีเปดการฝกอบรม
-สงรางคํากลาวถึงประธานและผูกลาวรายงานกอนวันพิธีเปด 1 วัน
22. เรียนตเอนประธานและผูกลาวรายงานกอนวันพิธีเปด

การดําเนินการระหวางฝกอบรม
1. จัดเตรียมแฟมเซ็นชื่อประจําวัน
2. จัดเตรียมเอกสารที่จะแจกแตละวันและกระดาษบันทึก
3. จัดเตรียมสถานที(จัดโตะ เปลี่ยนปายชื่อวิทยากร เปลี่ยนปายชื่อผูเขารับการฝกอบรม) โสตทัศนูปกรณ(เครื่องขยาย
                     ่
เสียง เครื่องฉายภาพขามศีรษะแผนใส ที่เขียนแผนใสฯลฯ)
4. เตือนวิทยากรกอนการบรรยายลวงหนา 1 สัปดาห
5. เตรียมเครื่องดื่มสําหรับวิทยากรและผูเขารับการฝกอบรม
6. เตรียมรถรับ-สงวิทยากรหรือสถานที่จอดรถสําหรับวิทยากร
7. เตรียมวิทยากรแทนหรือจัดกิจกรรมทดแทน ในกรณีวิทยากรไมมา
8. ตอนรับ อํานวยความสะดวก สงวิทยากร
9. แนะนําและขอบคุณวิทยากร
10. จัดเตรียมเงินสมนาคุณวิทยากร
11. อํานวยความสะดวกใหแกผูเขารับการฝกอบรม
12. สังเกตุการฝกอบรมตลอดระยะเวลาการฝกอบรมตลอดจนดูแลเวลาใหเปนไปตามกําหนดการ
13. แจกแบบประเมินผล รวบรวมผลจากการประเมิน เพื่อทําการวิเคราะหและปรับปรุงแกไข
14. จัดทํากําหนดการพิธีปดการฝกอบรม
15. จัดเตรียมวุฒิบัตร และเสนอเซ็นลวงหนา
16. รางคํากลาวรายงานและคํากลาวปดการฝกอบรม
17. ทําหนังสือเชิญประธานปกการฝกอบรม และแจกวุมิบัตรพรอมทั้งแนบคํากลาวปดการฝกอบรม และกําหนดการพิธีปด
การฝกอบรม
18. ทําหนังสือเชิญวิทยากรและผูมีเกียรติในพิธีปดการฝกอบรมพรอมทั้งแนบกําหนดการพิธีปดการฝกอบรม
19. ทําหนังสือขอบคุณวิทยากรและหนวยงานที่ใหการอนุเคราะหชวยเหลือตาง ๆ
20. ทําหนังสือสงตัวผูเขารับการฝกอบรมกลับคืนตนสังกัด
21. เตรียมการทั่วไป สําหรับวันปดการฝกอบรม(กิจกรรมสวนใหญจะคลายคลึงกับวันเปดการฝกอบรม)
22. จัดเตรียมแบบทดสอบหลังการฝกอบรม แบบประเมินผลโครงการ และใหผูรับการฝกอบรมประเมินผลในวันสุดทาย
ของการฝกอบรม

ระยะหลังการฝกอบรม
   1.สงหนังสือขอบคุณวิทยากรและหนวยงานที่เกี่ยวของ
   2.สงหนังสือสงตัวผูเขารับการฝกอบรมกลับคืนตนสังกัด
   3.รวบรวมและวิเคราะหผลการฝกอบรม
   4.รายงานผลการฝกอบรมตอฝายบริหาร
5.ติดตามผลการฝกอบรม
   6.รวบรวมและวิเคราะหผลที่ไดจากการติดตาม และทํารายงานเสนอตอฝายบริหาร
   7.จัดการเรื่องการเงิน โดยนําหลักฐานการจายเงินตาง ๆ ในโครงการมอบใหฝายการเงิน
   8.เปนตัวกลางในการติดตอประสานงานระหวางผูรับการฝกอบรมตอไป
   9.จัดทําเนียบรุนผูเขารับการฝกอบรม

หมายเหตุ แผนการดําเนินการฝกอบรมนี้เสนอเปนเพียงตัวอยางหรือแนวทางเทานั้น ซึ่งผูดําเนินการฝกอบรมและผูที่
เกี่ยวของสามารถนําไปปรับมใชไดตามความเหมาะสม

ประโยชนของการฝกอบรม
 ขอสรุปของการจัดการฝกอบรมอาจนําเสนอไดโดยประโยชนที่เกิดขึ้นในระดับตาง ๆ ทั้งตอบุคลากร หนวยงานและผูที่
เกี่ยวของอื่น ๆ ดังนี้
ประโยชนตอหนวยงาน
     1. เพื่อเพิ่มรายไดและผลกําไรของหนวยงาน
     2. เพื่อลดคาใชจายหรือเพิ่มประสิทธิภาพใหแกหนวยงาน
     3. เพื่อชวยใหเจาหนาที่หรือพนักงาน สามารถขยายงานไดอยางตอเนื่องทั้งในแนวตั้งและแนวนอน
     4. เพื่อปองกันปญหาโดยการเสริมสรางความรู ควงามเขาใจกับบุคลากรเพื่อหลีกเลี่ยงปญหาระหวางการปฏิบัติงานได
     5. เปนกรรมวิธีที่กอใหเกิดความสามัคคีของบุคลากรที่ทํางานในหนวยงานเดียวกัน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณืซึ่ง
กันและกันชวยใหเกิดความเขาใจกันมทากยิ่งขึ้น

ประโยชนตอหัวหนางาน
   1. ทําใหผลงานรวมของหนวยงานสูงสุดทั้งปริมาณและคุณภาพ
   2. ลดคาใชจายในการตรวจสอบ การควบคุมและการทํางานแทนผูบังคับบัญชา
   3. ทําใหผูบังคับบัญชาระดับสูงมีความไววางใจในความสามารถในการบริหารงาน

ประโยชนตอผูเขารับการอบรม
   1. เสริมสรางความรูใหม ๆ ที่ทันสมัยและสรางวิสัยทัศน
   2. พัฒนาบุคลิกภาพของตนเองและปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานใหเหมาะสมกับภารกิจที่ตองปฏิบัติ
   3. สามารถปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายไดทั้งในเชิงปริมาณและคุรภาพ
   4. เสริมสรางขวัญกําลังใจและความเชื่อมั่นในตนเอง มีความพรอมในการปฏิบัติงานสูง
   5. เกิดความมุมานะพยายามพัฒนางานเพื่อความกาวหนาในอนาคต(ตําแหนงงาน)
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรคู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรniralai
 
มาลาบูชาครู
มาลาบูชาครูมาลาบูชาครู
มาลาบูชาครูniralai
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )niralai
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์niralai
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาniralai
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3niralai
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5niralai
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3niralai
 
คำกลอนสอนศิษย์
คำกลอนสอนศิษย์คำกลอนสอนศิษย์
คำกลอนสอนศิษย์PomPam Comsci
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูniralai
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมniralai
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์niralai
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมniralai
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 

Was ist angesagt? (20)

คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรคู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
 
มาลาบูชาครู
มาลาบูชาครูมาลาบูชาครู
มาลาบูชาครู
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
 
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
 
แหล่ลา
แหล่ลาแหล่ลา
แหล่ลา
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
 
คำกลอนสอนศิษย์
คำกลอนสอนศิษย์คำกลอนสอนศิษย์
คำกลอนสอนศิษย์
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 

Andere mochten auch

คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองniralai
 
ข้อคิด...สะกิดใจ
 ข้อคิด...สะกิดใจ  ข้อคิด...สะกิดใจ
ข้อคิด...สะกิดใจ Na Tak
 
บทพิจารณาอาหาร
บทพิจารณาอาหารบทพิจารณาอาหาร
บทพิจารณาอาหารniralai
 
สรุปการประชุมสัมมนาพระธรรมทูตสายต่างประเทศอินเดีย ๒๕๕๔
สรุปการประชุมสัมมนาพระธรรมทูตสายต่างประเทศอินเดีย ๒๕๕๔สรุปการประชุมสัมมนาพระธรรมทูตสายต่างประเทศอินเดีย ๒๕๕๔
สรุปการประชุมสัมมนาพระธรรมทูตสายต่างประเทศอินเดีย ๒๕๕๔หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
หนังสือเชิญ สัมมนา
หนังสือเชิญ สัมมนาหนังสือเชิญ สัมมนา
หนังสือเชิญ สัมมนาBundit Umaharakham
 
คำขอขมากรรมและอธิษฐานจิต
คำขอขมากรรมและอธิษฐานจิตคำขอขมากรรมและอธิษฐานจิต
คำขอขมากรรมและอธิษฐานจิตWave RedCyber
 
บทบรรยายอำลาเพื่อน
บทบรรยายอำลาเพื่อนบทบรรยายอำลาเพื่อน
บทบรรยายอำลาเพื่อนniralai
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)Kiat Chaloemkiat
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครูniralai
 
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์niralai
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรniralai
 
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนบทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนniralai
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมniralai
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 
หน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการหน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการniralai
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนniralai
 

Andere mochten auch (19)

คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
ข้อคิด...สะกิดใจ
 ข้อคิด...สะกิดใจ  ข้อคิด...สะกิดใจ
ข้อคิด...สะกิดใจ
 
บทพิจารณาอาหาร
บทพิจารณาอาหารบทพิจารณาอาหาร
บทพิจารณาอาหาร
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
สรุปการประชุมสัมมนาพระธรรมทูตสายต่างประเทศอินเดีย ๒๕๕๔
สรุปการประชุมสัมมนาพระธรรมทูตสายต่างประเทศอินเดีย ๒๕๕๔สรุปการประชุมสัมมนาพระธรรมทูตสายต่างประเทศอินเดีย ๒๕๕๔
สรุปการประชุมสัมมนาพระธรรมทูตสายต่างประเทศอินเดีย ๒๕๕๔
 
หนังสือเชิญ สัมมนา
หนังสือเชิญ สัมมนาหนังสือเชิญ สัมมนา
หนังสือเชิญ สัมมนา
 
คำขอขมากรรมและอธิษฐานจิต
คำขอขมากรรมและอธิษฐานจิตคำขอขมากรรมและอธิษฐานจิต
คำขอขมากรรมและอธิษฐานจิต
 
บทบรรยายอำลาเพื่อน
บทบรรยายอำลาเพื่อนบทบรรยายอำลาเพื่อน
บทบรรยายอำลาเพื่อน
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
 
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนบทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
หน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการหน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการ
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 

Ähnlich wie คู่มือพระวิทยากร

บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยPiyatida Prayoonprom
 
เบญ
เบญเบญ
เบญben_za
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Beeby Bicky
 
ฟ้า
ฟ้าฟ้า
ฟ้าfa_o
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 

Ähnlich wie คู่มือพระวิทยากร (20)

บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ฟ้า
ฟ้าฟ้า
ฟ้า
 
อาม
อามอาม
อาม
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 

Mehr von niralai

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10niralai
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชาniralai
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษาniralai
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทยniralai
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนาniralai
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)niralai
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีลniralai
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธniralai
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!niralai
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทยniralai
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศniralai
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูดniralai
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5niralai
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษาniralai
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษาniralai
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดีniralai
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12niralai
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6niralai
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4niralai
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3niralai
 

Mehr von niralai (20)

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 

คู่มือพระวิทยากร

  • 1.
  • 2. บทที่ ๑ บทบาทและเทคนิคการเปนวิทยากร ็ การเป็ นวิทยากรนันใคร ๆ ก็เป็ นได ้ แต่การเป็ นวิทยากรทีดคงไม่ง่ายอย่างทีคดกัน เพราะการทาหน ้าทีวทยากร ้ ่ ี ่ ิ ่ ิ ่ มีความจาเป็ นต ้องอาศัยการพูดหรือการสือสารเป็ นอย่างมาก ถ ้าไม่ได ้รับการฝึ กฝนอบรมเป็ นอย่างดีก็คงจะทา หน ้าทีวทยากรได ้ไม่สาเร็จหรือสาเร็จได ้ก็ไม่ดเปรียบไปแล ้วการพูดก็เหมือนการว่ายน้ า ถ ้ามัวแต่อานหรือท่องตารา ่ ิ ี ่ ่ ึ โดยไม่ลงน้ าหรือกระโดดลงน้ าเสียบ ้างก็ไม่อาจจะว่ายน้ าเป็ นได ้เลย ผู ้ทีศกษา หลักการ ทฤษฎี วิชาว่ายน้ าเพียงแต่ ่ ่ ึ อ่านตาราก็คงจะจมน้ าตายเมือต ้องลงสระเสมือนผู ้ทีศรัทธาวิชาการพูด เพียงแต่ศกษาทฤษฎีก็อาจตกม ้าตายเมือ ่ ขึนเวที ้ ดังนัน การเป็ นวิทยากรทีดและมีประสิทธิภาพนัน จะต ้องเป็ นผู ้มีความรู ้ความสามารถ ทักษะ เทคนิคต่าง ๆ ใน ้ ่ ี ้ ่ หลาย ๆ ด ้าน เช่นการพูด การสือสาร การจัดกิจกรรม ฯลฯ ตลอดจนจะต ้องเป็ นผู ้มีคณลักษณะทีจาเป็ นอีกมากมาย ุ ่ ่ ซึงจะได ้นาเสนอต่อไป วิทยกรคือใคร วิทยากร คือ ผู ้ทีทาหน ้าทีเป็ นตัวการสาคัญ ทีจะทาให ้ผู ้เข ้ารับการอบรม เกิดความรู ้ความเข ้าใจ เกิดทักษะ ่ ่ ่ เกิดทัศนคติทดเกียวกับเรืองทีอบรม จนกระทังผู ้เข ้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู ้และสามารถจุดประกายความคิด เกิด ี่ ี ่ ่ ่ ่ การเปลียนแปลงทัศนคติ หรือพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ของเรืองหรือวิชานัน ๆ ่ ่ ้ พิจารณาให ้ดีแล ้วจะเห็นได ้ว่าวิทยากรควรมีบทบาททีสาคัญหลายระการตามแผนภูมตอไปนี้ ่ ิ ่ วิทยากร (RESOURCE PERSON) ผู ้บรรยาย ผู ้ทาให ้เกิดการเรียนรู ้ (LECTURER) (INSTRUCTOR) ผู ้สอน ผู ้ฝึ ก (TEACHER) (TRAIINER) พีเลียง ่ ้ (MENTOR) เมือทราบความหมายและบทบาทของวิทยากรแล ้วก็ควรพิจารณาด ้วยว่าทาอย่างไรจึงจะเป็ นวิทยากรที่ดและมี ่ ี ประสิทธิภาพได ้กรณี นีมผู ้รู ้ได ้กล่าวถึงไว ้อย่างหลากหลายต่างกรรมต่างวาระกันอันอาจจะสรุปรวมเป็ นคุณสมบัต ิ ของวิทยากรทีดและมี ้ ี ่ ี ประสิทธืภาพได ้ดังนี้ ๑ คุณลักษณะทั่วไป ๑. มั่นใจในตนเอง เตรียมพร ้อม ซ ้อมดี มีสอและวิธการ ทีเหมาะสม ่ื ี ่ ๒. เป็ นคนช่างสังเกต คอยสังเกตพฤติกรรมทางกาย วาจา ตลอดจนกระบวนการกลุมของผู ้เข ้ารับการอบรม ่ ๓. มีความคิดริเริมสร ้างสรรค์ ่ ๔. แก ้ปั ญหาเฉพาะหน ้าเก่ง ่ ้ ้ ้ ้ ่ ๕. มีการวางแผนทีด ี ทังเนือหาและลาดับขันตอนการนาเสนอรวมทังสือและเครืองมือการสือสาร ่ ่ ั ๖. มีมนุษย์สมพันธ์ทดและประสานงานเก่ง ี่ ี ๗. มีบคลิกภาพทีด ี ุ ่ ๘. มีความเป็ นกัลยาณมิตร ยิมแย ้มแจ่มใส เป็ นกันเอง คอยช่วยเหลือด ้วยน้ าใจ มีความเมตตา ยอมรับในความ ้ แตกต่างระหว่างบุคคลและมีความเห็นใจของผู ้เข ้ารับากรอบรม ๙. เป็ นนักประชาธิปไตย มีความยืดหยุน รับฟั งความคิดเห็นของผู ้อืน ไม่สรุปตัดบทง่าย ๆ เมือมีผู ้เสนอความ ่ ่ ่ คิดเห็นทีแตกต่างออกไป ่ ๑๐.มีความจิรงใจในการถ่ายทอดความรู ้ ๑๑.ปฏิบัตตนต่อผู ้เข ้ารับการอบรมอย่างเสมอภาค ทัดเทียม วางตนเหมาะสมกับทุกคน ิ
  • 3. ๑๒.มีแบบฉบับลีลาทีเป็ นของตนเองยอมรับจุดเด่นและจุดด ้อยของตนและ มึความภูมใจและเข ้าใจ ในบุคลิกภาพ ่ ิ ของตนเอง และใช ้ให ้เกิดประโยชน์ตอ การเป็ นวิทยากร ่ ๒. ต ้องรู ้จริง ๑. ต ้องเป็ นคนรอบรู ้ ศึกษาหาความรู ้อยูเสมอ ่ ๒. ต ้องรู ้รายละเอียดในเรืองนั นอย่างเพียงพอ ่ ้ ๓. ต ้องเข ้าใจเหตุผลของรายละเอียดนัน ้ ๔. ต ้องรู ้สมมติฐานหรือความเป็ นมาของสิงนัน่ ้ ิ่ ้ ๕. ต ้องสามารถประยุกต์สงนันให ้เห็นเป็ นจริงได ้ ๓. ถ่ายทอดเป็ น ึ ๑. มีเทคนิคต่าง ๆ เช่น การบรรยาย การนาอภิปราย การสัมมนา กรณีศกษา การจัดกิจกรรม ฯลฯ เพือทาให ้เกิด ่ ความรู ้ เข ้าใจง่าย ได ้สาระ ๒. พูดเป็ น คือ พูดแล ้วทาให ้ผู ้ฟั งเข ้าใจตามทีพูดได ้อย่างรวดเร็ว สามารถพูดเรืองยาก ซับซ ้อนให ้เข ้าใจง่าย ่ ่ ๓. ฟั งเป็ น คือ ตังใจฟั ง ฟั งให ้ตลอด ขณะทีฟังต ้องควบคุมอารมณ์ ขณะทีฟังอย่าคิดคาตอบทันที และเท่อฟั ง จง ้ ่ ่ ฟั ง เอาความหมายมากกว่าถ ้อยคา ๔. นาเสนอเป็ นประเด็นปละสรุปประเด็นให ้ชัดเจน ๕. มีอารมณ์ขน สร ้างบรรยากาศในการอบรมได ้อย่างเหมาะสม ั ่ ๖. มีประสิทธิภาพในการอบรม สามารถเชือมโยงทฤษฎีเข ้ากับการปฏิบตได ้ดี มองเห็นเป็ นรูปธรรม ั ิ ๗. ใช ้ภาษาพูดได ้ดี ใช ้ภาษาง่าย ๆ รู ้จักเลือกภาษาให ้ตรงกับเนือหาและตรงกับความต ้องการและพืนฐานความรู ้ ้ ้ ของผู ้ฟั ง ๔. มีหลักจิตวิทยาในการสอนผู ้ใหญ่ ๑. ความสนใจในการรับฟั งจะเกิดขึนจากการรับรู ้ถึงเรืองทีวทยากรจะพูดหรือบรรยาย ้ ่ ่ ิ ๒. มุงประโยชน์ในการรับฟั งเป็ นสาคัญ ่ ๓. จะตังใจแลเรียนรู ้ได ้ดี ถ ้าวิทยากรแยกเรืองทีสอนออกเป็ นประเด็น / ขันตอน ้ ่ ่ ้ ๔. จะเรียนรู ้ได ้ดีถ ้าได ้ฝึ กปฏิบัตไปด ้วยพร ้อม ๆ กับการรับฟั ง ิ ๕. จะเรียนรู ้ได ้ดียงขึน ถ ้าฝึ กแล ้วได ้ทราบผลของการปฏิบตอย่างรวดเร็ว ิ่ ้ ั ิ ๖. จะ เรียนรู ้ได ้ดีเมือมีการฝึ กหัดอยูเสมอ ่ ่ ๗. จะเรียนรู ้ได ้ดีเมือเปิ ดโอกาสให ้ใช ้เวลาในการทาความเข ้าใจ อย่าเร่งรัด เพราะแต่ละคนมีความสามารถในการ ่ เรียนรู ้ต่างกัน ๕. มีจรรยาบรรณของวิทยากร ๑. เมือจะสอนต ้องมั่นใจว่ามีความรู ้จิรงในเรืองทีจะสอน ่ ่ ่ ๒. ต ้องมุงประโยชน์ของผู ้ฟั งเป็ นทีตง ่ ่ ั้ ่ ๓. ไม่ควรฉกฉวยโอกาสในการเป็ นวิทยากรเพือแสวงหาผลประโยชน์สวนตัว ่ ๕. ความประพฤติและการปฏิบตตนของวิทยากร ควรจะสอดคล ้องกับเรืองทีสอน ั ิ ่ ่ นอกจากนียังมีข ้อเสนอแนะทีสาคัญในการเป็ นวิทยากรทีควรเสนอไว ้เพิมเติมอีกด ้วยว่าวิทยากรทีดจะ ้ ่ ่ ่ ่ ี ๑. ต ้องมีกจกรรมมากกว่าการบรรยาย ิ ๒. ต ้องมีการเตรียมตัวทีด ี ่ ื่ ๓. ต ้องมีสอช่วยให ้เกิดการเรียนรู ้ได ้ดี ๔. ต ้องมีกจกรรมทีสอดคล ้องกับเนือหา เวลา และตรงเวลา ิ ่ ้ ๕. ต ้องให ้คนติดใจในการเรียนรู ้ มิใช่ตดใจในลีลาการแสดงเพราะวิทยากรไม่ใช่นักแสดง ิ ๖. ต ้องคานึงอยูตลอดเวลาว่าวิทยากรมีหน ้าทีไปทาให ้เขารู ้อย่าไปอวดความรู ้แก่เขาและวิทยากรไม่มหน ้าทีพูดให ้ ่ ่ ี ่ คนอืนงง ่ เทคนิคการเตรียมตัวเป็ นวิทยากรทีด ี ่ ่ ่ บางคนเชือว่าการเป็ นวิทยากรทีดเกิดจากพรสวรรค์แต่บางท่านก็เชือว่าเกิดจากพรแสวง จะโดยพรประเภทใดก็ ่ ี ่ ี ี ่ ตามวิทยากรทีดก็ควรจะรู ้จักเทคนิควิธการเตรียมตัว ซึงอาจกระทาได ้หลายวิธด ้วยกันกล่าวคือ ี ๑. การหาข ้อมูล โดยวิธตาง ๆ เช่น ี ่ ๑.๑ อ่านตาราหลาย ๆ ประเภท ๑.๒ ฟั งจากคนอืนเล่า หรือฟั งจากเทปวิทยุ ่ ๑.๓ ศึกษาจากวิดทัศน์ รายการโทรทัศน์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ี ๒. สะสมข ้อมูลต่าง ๆ โดยจัดเก็บเป็ นระบบหรือแบ่งเป็ นประเภทเช่น
  • 4. ๒.๑ ประเภทเพลง ๒.๒ ประเภทคาขวัญ คากลอน สุภาษิต คาคม คาพังเพย และคาปรพันธ์ตาง ๆ ่ ๒.๓ ประเภทคาผวน ๒.๔ ภาษาหักมุม (คิดสวนทางเพือให ้ผู ้ฟั งฮา) ่ ้ ๒.๕ ลูกเล่นเป็ นชุด หรือประเภทนิทานสัน ๆ ๒.๖ ประเภทเชาว์ เช่น คาถามอะไรเอ่ย ฯลฯ ๒.๗ ประเภทเกมหรือกิจกรรม ๓. ศึกษาข ้อมูลแต่ละประเภท พยายามจับประเด็นและหักมุมนาเข ้าในเรืองทีจะเสนอให ้ได ้ ่ ่ ๔. หัดเล่า ให ้เพือนหรือคนอืนฟั งในวงเล็ก ๆ ก่อนโดยคานึงถึง ่ ่ ๔.๑ การเริมเล่าให ้เด็กฟั งและขยายวงถึงผู ้ใหญ่ ่ ๔.๒ ต ้องพยายามหักมุมตอนท ้ายให ้ได ้ ๔.๓ ใช ้น้ าเสียงทีเหมาะสมในการเล่า ่ ๔.๔ ใช ้ลีลาหรือกิรยาท่าทางประกอบการเล่า ิ อย่างไรก็ดมผู ้เปรียบเทียบว่าการเป็ นนักพูดหรือวิทยากรทีดก็เหมือนกับเด ้กหัดขีจักรยานนั่นเอง โดย ี ี ่ ี ่ ยกตัวอย่างแสดงไว ้ให ้เห็นชัดเจนดังนี้ ๑. เด็กอยากได ้จักรยาน : อยากเป็ นวิทยากรมืออาชีพ ๒. หัดขีแล ้วมักจะล ้ม : ฝึ กพูดอาจจะไม่สาเร็จในบางครัง ่ ้ ๓. หัดขีให ้เป็ น : ฝึ กพูดให ้เป็ นวิธการ / หลักการ ่ ี ๔. ขีทกวันก็จะเกิดความชานาญ : ฝึ กหรือแสดงบ่อย ๆ จะชานาญ ่ ุ เทคนิคการสร ้างการจูงใจ / อารมณ์ขน ั วิทยากรสามารถเรียนรู ้ และสรรหาเทคนิควิธการต่าง ๆ มาใช ้ในการทาหน ้าทีวทยากร เพือให ้เกิดความสมบูรณ์ ี ่ ิ ่ ความมั่นใจ ตลอดจนมีบรรยากาศทีดในการฝึ กอบรม ทาให ้วิทยากรและผู ้เข ้ารับการอบรมมีความสุขในการร่วม ี กิจกรรมการฝึ กอบรม บรรลุจดประสงค์ท ี่ วางไว ้ด ้วยวิธการต่าง ๆ ดังนี้ เช่น ุ ี ๑. การสร ้างข ้อตกลงก่อนการบรรยาย เช่น ก่อนบรรยายอาจสร ้างข ้อตกลงเบืองต ้นดังนี้ ้ ข ้อตกลงเบืองต ้นก่อนบรรยาย ๓ ประการ ้ ขณะทีผู ้เข ้ารับการอบรมนั่งฟั งวิทยากรบรรยาย ถ ้าผู ้เข ้ารับการอบรมนั่งฟั งวิทยากรบรรยาย ถ ้าผู ้เข ้ารับการอบรม ่ ้ เกิดความซาบซึง (ง่วง) วิทยากรอนุญาตให ้แสดงพฤติกรรมได ้ใน ๓ กรณี ดังนี้ กรณีท ี่ ๑ ฟั งแล ้วใช่ กรณีผู ้เข ้ารับการอบรมง่วงนอนก็จะหลับตาลงเบา ๆ แล ้วพยักหน ้า (ฮา) กรณีท ี่ ๒ ฟั งแล ้วเห็นด ้วย กรณีผู ้เข ้ารับการอบรมง่วงนอนมากก็จะหลับตาพยักหน ้าก ้มลงลึก ๆ (ฮา) กรณีท ี่ ๓ ฟั งแล ้วเห็นด ้วยอย่างยิง กรณีทผู ้เข ้ารับการอบรมง่วงนอนมาก ๆ ก็จะหลับตาสับปะหงกโดยแหงนหน ้า ่ ี่ ขึนข ้างบน (ฮา) ้ ้ วิทยากร : ชีแนะต่อไปว่ากรณีท ี่ ๓ ขออย่างเดียวอย่ากรนเพราะจะทาให ้รบกวนสมาธิคนทีอยูข ้าง ๆ หรือระวังจะ ่ ่ ตกจากเก ้าอี้ (ฮา) คาถามจากผู ้บรรยาย ยกมืใครเข ้าใจ อขึน ้ ยกมือขึนใครไใม่เข ้าใจ ้ ยกมือขึนใครไม่ยกมือ ้ ๒. การเล่าเรืองโดยใช ้คากลอนช่วย เช่น ่ วิทยากร : เล่าว่า วันหนึงตีนได ้พูดกับตาว่า “ ตีน มีบญคุณกับตากมาก แล ้วก็ยกกลอน ตีนกับตา (ตีนซิแน่) เล่า ่ ุ ให ้ตาฟั งดังนี้ ตีนซิแน่ ตีนกับตา อยู่กนมา แสนผาสุก ั จะนั่งลุก ยืนเดิน เพลินหนักหนา มาวันหนึง ตีนทะลึง เอ่ยปรัชญา ่ ่ ว่ามีคณ แก่ตา เสียจริงจริง ุ ตีนช่วยพา ตาไป ทีตาง ๆ ่ ่ ตาจึงได ้ ชมนาง และสรรพสิง ่ เพราะฉะนัน ดวงตา จงประวิง ้ ่ ว่าตีนนี้ เป็ นสิงควรบูชา วิทยากร : หลังจากตาได ้ฟั งตีน ก็รู ้สึกหวันไส ้และโมโห ตา จึงพูดกับตีนว่า ทีจริงตาสาคัญกว่า ตีน โดยยกกลอน ่ ่ ตีนกับตา (ตาก็แน่) เล่าให ้ตีนฟั งดังนี้
  • 5. ตาก็แน่ ตาได ้ฟั ง ตีนคุยโม ้ ก็หมั่นไส ้ จึงร ้องบอก ออกไป ด ้วยโทสา ว่าทีตน เดินเหินได ้ ก็เพราะตา ่ ี ดูมรรคา เศษแก ้วหนาม ไม่ตาตีน เพราะฉะนัน ตาจึง สาคัญกว่า ้ ตีนไม่ควร จะมา คิดดูหมิน ่ สรุปว่า ตามีคา สูงกว่าตีน ่ ทัวธานินทร์ ตีนไปได ้ ก็เพราะตา ่ วิทยากร : หลังจากตีนได ้ฟั งตาพูดก็โกรธมาก ยกกลอน ตากับตีน (แต่ก็ตาย) แต่ก็ตาย ตีนได ้ฟั ง ให ้คลังแค ้น แสนจะโกรธ ่ เร่งกระโดด ออกไป ใกล ้หน ้าผา เพราะอวดดี คุยเบ่ง เก่งกว่าตา ดวงชีวา จะดับไป ไม่รู ้เลย ตาเห็นตีน ทาเก่ง เร่งกระโดด ก็พโรธ เร่งระงับ หลับตาเฉย ิ ตีนพาตา ถลาล ้ม ทังก ้มเงย ้ ตกผาเลย ตายห่า ทังตาตีน ้ ้ ่ ่ สุรปข ้อคิด การทางานนันจะเก่งคนเดียวไม่ได ้ จะต ้องร่วมมือกัน พึงพาอาศัยซึงกันและกัน มีความสามัคคี จึงจะทา ให ้งานสาเร็จ ๓. การนาเสนอเรืองใกล ้ตัวของผู ้เข ้ารับการอบรม)จีจุด) ่ ้ เช่น เสนอเรือง การนั่งอบรม ่ วิทยากร : เสนอแผ่นใสพร ้อมเปิ ดแผ่นใสเป็ นลาดับและถามสมาชิก นั่งตรงไหนดี เวลามา ดูดนตรี อบรม มาก่อน นั่งหน ้า นั่งหลัง มาช ้า นั่งหลัง นั่งกลาง มาหลัง (มีหวัง)ยืน นั่งหน ้า(ฮา…) วิทยการ สรุปในเชิงมุขตลก ดังนี้ มาก่อนเวลา มักจะ เป็ นคนมองโลกในแง่ร ้าย(กังวลไปหมด) มาตรงเวลา มักจะ เป็ นคนธรรมดา มาตามเวลา(หลังเวลา) มักจะ เป็ นคนมองโลกในแง่ด ี (ฮา) เหตุผลเพราะคิดว่าอะไรก็ได ้ สบาย ๆ วิทยากรมาก็พูดไปไม่เห็นจาเป็ นต ้องรอเราเลย (ฮา) ๔. ใช ้ข ้อความจากแผ่นใสนาเสนอนาเข ้าสูเรือง เช่น ่ ่ สามศรีพน ้อง : จะเลือกคนไหนดี ี่ ดารา พีสาวคนโต จบ ป.๔ สวยเข ้าชันไปวัดตอนเช ้า ๆ ได ้ การบ ้านการเรือนดีมาก ได ้รับมรดกทีดน ๑๐ ไร่ บ ้าน ๑ ่ ้ ่ ิ หลัง เงินสด ๑ ล ้านบาท ้ ั ดุจเดือน คนกลางจบ ปวช. สวยขันเทพีระดับจังหวัด นิสยจู ้จีจกจิก ได ้รับมรดกบ ้านพร ้อมทีดน ๕ ไร่ เงินสด ๒ ้ ุ ่ ิ ล ้านบาท ั ดุจดาว น ้องคนเล็ก จบปริญญาตรี สวยน ้อง ๆ ดารา นิสยเย่อหยิง ได ้รับมรดกรถยนต์ ๒ คัน เงินสด ๕ ล ้านบาท ่ ……………………………………………………………………………………………………… ข ้อมูลเพิมเติม ่ ดารา อายุ ๕๙ ปี ดุจเดือน อายุ ๕๘ ปี ดุจดาวอายุ ๕๗ ปี (ฮา…) วิธใช ้ วิทยากรนาเสนิแผ่นใส โดยปิ ดส่วนทีเป็ นข ้อมูลเพิมเติมไว ้ก่อนแล ้วสมมติวาสมาชิกเป็ นชายหนุ่มอายุ ๒๕ ปี ี ่ ่ ่ ต ้องการคูครองสักหนึงคน โดยวิทยากรกาหนดให ้สมาชิกหนึงคนในสามคนทีนาเสนอ แล ้วสอบถามสมาชิกพร ้อม ่ ่ ่ ่ ทังเหตุผลมในการเลือก และนาเสนอข ้อมูลเพิมเติม ้ ่
  • 6. ข ้อคิด การตัดสินใจเลือกหรือการประเมินทีดต ้องอาศัยข ้อมูลทีถกต ้องครบถ ้วน เป็ นปั จจุบัน ทันสมัย ่ ี ่ ู ่ ความเชือ…จริงหรือไม่ เด็กอนุบาล เชือ พ่อแม่ ่ เด็กประถม ฯ เชือ ครู ่ เด็กมัธยม ฯ เชือ เพือน ่ ่ ปริญญาตรี เชือ ตารา ่ ปริญญาโท เชือ ตัวเอง ่ ปริญญาเอก (ดร.) ไม่เชือใครเลยแม ้แต่ตวเอง ่ ั ่ ชือ…หมอดู (ฮา) วิธใช ้ วิทยากร ทดสอบสมาชิก โดยใช ้กระดาษปิ ดข ้อความด ้านขวามือแล ้วเปิ ดสอบถามทีละรายการ ี เชิญอ่าน…ครับ ดืมนม ดีกว่าดืม เหล ้า ่ ่ ดืมแล ้วรืนรมย์เพราะดืมนมสองเต ้า ่ ่ ่ ดืมแล ้วงีเง่าเพราะดืมเหล ้าสองกลม ่ ่ ่ ดืมแล ้วระทมเพราะดืมนมผิดเต ้า ่ ่ รายการอาหารจานเด็ด อาหารจานหลัก เมียหลวง อาหารจานรอง  อนุภรรยา อาหารจานพิเศษ น ้องหนู (นอกบ ้าน) (ในตู ้กระจก) อาหารว่าง สาวใช ้ อาหารเสริม เลขา ฯ(ทีทางาน) ่ อาหารตา น ้องเมีย (ฮา…) วิธใช ้ วิทยากร ทดสอบสมาชิก โดยใช ้กระดาษปิ ดข ้อความด ้านขวามือแล ้วเปิ ดสอบถามทีละรายการ ี ทดสอบภาษาบาลี อตฺตาหิ อตฺตโน นาโถ (ตนแลเป็ นทีพงแห่งตน) ่ ึ่ ทินงฺมนงฺ จมนงฺ ทิกนงฺ ิ ุ (ทีควรนั่งก็ไม่นั่ง แต่มานั่งทีกจะนั่ง) ่ ่ ู โน มโขนงฺ แสงโสมงฺ สุข ี (ไม่มแม่โขงได ้ดืมแสงโสมก็ไม่มความสุขเหมือนกัน) ี ่ ี วิธใช ้ วิทยากร ทดสอบสมาชิก โดยใช ้กระดาษปิ ดข ้อความแล ้วเปิ ดสอบถามที ละรายการ ี สรุป การเป็ นวิทยากรทีดและมีประสิทธิภาพ เป็ นเรืองทีไม่ง่ายนั กแต่ก็ไม่ยากจนเกินไปทีจะฝึ กหัดได ้ ขอเพียงให ้ท่าน ่ ี ่ ่ ่ สนใจทีจะเรียนรู ้เทคนิควิธการต่าง ๆ ทีหลากหลาย แล ้วทดลองนาไปประยุกต์ใช ้ ตามข ้อเสนอแนะ และตัวอย่างที่ ่ ี ่ ่ นาเสนอไว ้ในตอนต ้นของบทนี้ ท่านก็คงจะพัฒนาไปสูการเป็ นวิทยากรมืออาชีพได ้อย่างรวดเร็ว ส่วนผู ้ทีเป้ น ่ วิทยากรมืออาชีพอยูแล ้ว บทบาทและเทคนิคต่าง ๆ ทีนาเสนอเป็ นเสมือนเครืองเตือนใจและผงชูรสทีจะทาให ้เกิด ่ ่ ่ ่ ความเข ้มข ้นมากยิงขึนเพราะบางครังเรารู ้ทุกเรืองแต่พอถามเรืองเล็ก ๆ น ้อยกลับลืมหรือตอบไม่ได ้อาจตกม ้าตาย ่ ้ ้ ่ ่ ได ้เหมือนกัน …………………………………………..
  • 7. บทที่ ๒ วิทยากรกับการพูด การพูดเปนวิธีการสื่อสารที่สําคัญที่สุดของคนเรา และเปนทักษะที่จะเปนอยางยิ่งที่จะตองฝกฝนใหเกิดความ ชํานาญอยางตอเนื่องเพราะการพุดเปนศิลปและปจจัยที่จะสงผลใหบุคคลนั้นประสบผลสําเร็จในการสื่อสาร ตลอดจนการแสดงถึงความคิดหรือบอกในสิ่งที่ตนเองคิดเพื่อใหผูรับฟงเกิดความเขาใจและพึงพอใจในที่สุด วิทยากรเปนผูมีหนาที่และบทบาทสําคัญในการถายทอดความรู ความคิด ประสบการณตาง ๆ ใหผูเขารับการ อบรม เพราะฉะนั้นการพูดจึงเปนปจจัยหนึ่งที่มีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับวิทยากร วึ่งวิทยากรจะตองศึกษา หลักการ แนวคิดและวิธีการ พัฒนาการพูดตลอดถึงการฝกหรือการสรางประสบการณใหกับตนเองใหมากจนเกิด ความชํานาญจะทําใหการปฏิบัติภารกิจในหนาที่ของวิทยากรเกิดความสมบูรณยิ่งขึ้น การพูดเปน “ศาสตร” ที่สามารถศึกษาได การพูดเปน “ศิลป” ที่สามารถฝกฝนได ฉะนั้นผูที่ทําหนาที่เปน  วิทยากรสามารถศึกษาหาความรูไดดวยวิธีการตาง ๆ เชน ศึกษาจากการอานหนังสือตํารารายการโทรทัศน โปรแกรมคอมพิวเตอร ฟงจากผูรู ผูเชี่ยวชาญ รายการวิทยุ วงสนทนา การประชุมสัมมนา การฝกอบรม ฯลฯ และ สามารถที่จะฝกพูดและหาโอกาสพูเพื่อเปนการฝกประสบการณใหเกิดความชํานาญ เพื่อพัฒนาไปสูความสามารถในการพูดที่ดี วิทยากรควรใหความสนใจกับหลักการและวิธีการตาง ๆ เกี่ยวกับการ พูด ซึ่งอาจจะสรุปเปนสาระสําคัญที่นาสนใจไดหลายประเด็นคือ บุคลิกภาพและคุณสมบัติที่ดีของนักพูด ขณะที่วิทยากรไปปรากฎกายตอหนาผูเขารับการอบรมนั้น ความสนใจของผูเขารับการฝกอบรมมิไดอยูที่คําพูด หรือ เนื้อหาที่วิทยากรกลาวถึงแตเพียงอยางเดียว บุคลิกภาพของวิทยากรก็เปนจุดสนใจอีกประการหนึ่งดวยควบคูไปกับ เนื้อหา สาระที่วิทยากรแสดงออกมาดวยการพูด ดังนั้นวิทยากรจึงควรเอาใจใสในเรื่องของบุคลิกภาพของวิทยากรดวย ใน เรื่องนี้อาจ พิจารณาถึงองคประกอบในดานบุคลิกภาพและคุณสมบัติไดจากตารางตอไปนี้ บุคลิกภาพ คุณสมบัติ ๑. รูปรางหนาตา ๑. ความเชื่อมนในตนเอง ๒. การแตงกาย ๒. ความกระตือรือรน / ตั้งใจ ๓. การปรากฏตัว ๓. ความรอบรู ๔. กิริยาทาทาง ๔. ความคิดริเริ่ม ๕. การสบสายตา ๕. ความจํา ๖. การใชน้ําเสียง ๖. ความจริงใจ ๗. การใชถอยคําภาษา ๗. ปฏิภาณไหวพริบ ๘. ความรับผิดชอบ ๙. อารมณขัน นอกจากคุณสมบัติ ๙ ประการในตารางขางตนแลว นักพูดหรือวิทยกรที่ดียังควรมีคุณสมบัติอีก ๕ ประการ คือ “ เปนนัก ฟง ยังศึกษา ทาวิจารณ งานริเริ่ม เติมความสุข “ ซึ่งขยายความใหสมบูรณไดวา ๑. เปนนักฟงที่ดี ๒. ศึกษาหาความรูอยูเสมอ ๓. ยอมรับฟงคําวิจารณ ๔. เปนตัวของตัวเอง ๕. มีความสุขในการถายทอดความรูใหผูอื่น ทฤษฎีการพูด ทฤษฎีการพูดมีอยูหลายทฤษฎีดวยกัน แตที่นาสนใจไดแก ทฤษฎี ๓ สบาย ของ รอ.ดร.จิตร จํานงค สุภาพ ซึ่งผูเสนอทฤษฎีไดใหขอสรุปของทฤษฎี ๓ สบาย (The Theory Of Three Pleasant Speech) หมายถึงการพูดที่ฟงสบายหู ดูสบายตา พาสบายใจ ฟงสบายหู ไดแกการพูดดวยวจีสุจริต รูจักการใชถอยคําภาษาที่ถูกตองรูจักใชเสียงและการพุด ที่มีจังหวะ ถูกตอง เหมาะสม
  • 8. ดูสบาย ไดแกบุคลิกภาพมาตรฐานเบื้องตน ศิลปการแสดง การพูดเบื้องตน การแสดงทาทางประกอบดี พาสบายใจ ไดแกการเลือกเรื่องดี การเตรียมการพูดที่ดี การจัดลําดับความคิด การสรางโครงเรื่องดี การพูดที่ฟงสบายหู ดูสบายตา และพาสบายใจนี้เจาของทฤษฎีไดเสนอไวดวยวาผูพูดจะจองพูดจากหัวใจทั้งสี่ หองคือ พูดจากใจ คือการแสดงออกมาจากความจริงใจไมเสแสรง มีความมั่นใจ แนใจในตัวผูฟง ที่ขึ้นใจ คือเขาใจเรื่องที่พูดแยางกระจางแจง ถูกตองไมโมเมยกเมฆหรือเดา ดวยความตั้งใจ คือมีความอยากจะพุดกระตือรือรน กระฉับกระเฉงไมเฉื่อยชา หรือแสดงอาการลักษณะเบื่อเซ็ง จนสุดใจ คือเปรียบเสมือนการสวมวิญญาณ ลงไปในคําพูดแตละคําอยางมีชีวิตชีวา มีความรูสึกเหมือนกับตัวเอง อยูในสถานการณนั้นจริง ๆ ผูเขียนเห็นดวยเปนอยางยิ่งวาที่สุดของการพูดทุกครั้ง ควรจะใชทฤษฎี ๓ สบาย ประกอบการพูดใหมากที่สุดและ ควรจะยึดบันได ๑๓ ขั้นที่นําไปสูความสําเร็จในการพูด ตามที่เจาของทฤษฎีเสนอแนะไวดังนี้คือ ๑. เตรียมใหพรอม ๒. ซักซอมใหดี ๓. ทาทีใหสงา ๔. หนาคาใหสุขุม ๕. ทักที่ประชุมไมวกวน ๖. เริ่มตนใหโนมนาว ๗. เรื่องราวกระชับ ๘. ตากจับที่ผูฟง ๙. เสียงดังใหพอดี ๑๐.อยาใหมีเออ อา ๑๑.ดูเวลาใหพอครบ ๑๒.สรุปจบใหจับใจ และ ๑๓.ยิ้มแยมแจมใสตลอดการพูด หลักการพัฒนาการพูด ๑. อานหนังสือ ไดฟงหรือพบประโยคหรือวลี คํากลอน คําขวัญ สําคัญ ๆ ที่ดีมีคุณคาจดไวเปนขอมูล ๒. จัดลําดับความคิดที่จะพุดใหสอดคลองกันหรือรอยรัดเหมือนเขียนเรียงความ ๓. พูดจากหัวใจที่จริงใจดวยความตั้งใจ ๔. วิเคราะหหรือหยั่งสถานการณการพูดการฟง ๕. กอนพูด เตรียมตัว เตรียมรางกายใหพรอม ๖. เตรีนมเครื่องชวยพูดใหพรอม ๗. ตองพูดใหไดเหมือนกับการเขียน ๘. ระลึกเสมอวาการพูดนั้นเปนทั้งศาสตรและศิลป ๙. กําหนดหรือลําดับเรื่องไวในใจและจําใหขึ้นใจ ขอพึงหลีกเลี่ยงในการพูด ๑. อยาออกตัว เชน วันนี้เตรียมมาไมพรอมพูดไมดี ๒. อยาขออภัย เชน การพูดอาจผิดพลาด ๓. อยาถอมตัว เชน ผมไมใชคนเกงมีประสิทธิภาพนอย ๔. อยาออมคอม เชน บรรยายไปเรื่อย ๆ ขาดจุดเดนที่นาสนใจ ถอยคําที่วิทยากรควรหลีกเลี่ยงในการขึ้นตนหรือลงทาย “ ขาพเจารูสึกยินดีและเปนเกียรติอยางยิ่งที่ไดมาพูดในวันนี้ ” “ เตรียมมาไมเต็มที่ ดังนั้นหากผิดพลาดไป ขอโทษ ” “ ผมพูดมาก็มากแลวจึงขอจบเพียงเทานี้ ” “ ขาพเจาไมมีอะไรจะกลาวอีกแลว จึงใครขอยุติไวเพียงแคนี้สวัสดีครับ “ “ ที่พูดมาทั้งหมดนั้น หวังวาคงเปนประโยชนแกทานไมมากก็นอย ขอบคุณมากครับ สวัสดี” “ ความคิดของดิฉันก็มีเพียงเทานี้แหละคะ ขอบคุณทานทั้งหลายที่อุตสาหฟงดิฉันพูดจนจบ” ขอแนะนําสําหรับวิทยากร เมื่อลงจากเวทีแลว สิ่งที่ควรปฏิบัติคือ ๑. ควบคุมจิตใจใหสงบ ๒. อยารูสึกเสียดายถอยคําบางคําที่ลืมพูด ๓. ไมหลงระเริงคําสรรเสริญเยินยอ ๔. อดทนฟงคําวิจารณของผูอื่นอยางสนใจ ๕. บันทึกขอบกพรองเพื่อพิจารณาแกไขตอไป
  • 9. สรุป การพูดเปนทั้งศาสตรและศิลป มนุษยเกือบทุกคนพูดไดตั้งแตวัยเด็กและมีการพัฒนาการใชภาษาเพื่อการ สื่อสารมาโดยตลอด แตมิไดหมายความวามนุษยทุกคนจะพูดเปน จึงมีคําพังเพยที่วา “ คารมเปนตอรูปหลอเปน รอง ” การเปนวิทยากรที่ดีตองประกอบดวยบุคลิกภาพและคุณสมบัติหลายประการ รวมถึงการใชพลังทั้งหมด ประสานกัน ระหวางกายกับจิต ปฏิภาณไหวพริบ ถายทอดออกสูผูฟงโดยใช พลังจิต ภาษาพูด ภาษาทาทาง ที่ ไดรับการเตรียมการ ฝกฝนมาอยางดียอมจะกอใหเกิดการประสบความสําเร็จสูง พูดดี มีสาระ นาศรัทธา คิดใหรอบคอบ ชอบดวยใจความ งดงามดวยถอยคํา จดจําดวยสาระ เสริมทักษะดวยคารม ประสมดวยตัวอยาง กระจางดวยเหตุผล แยบยลดวยกลวิธี มีมนุษยสัมพันธ พูดจบแลวนั้นประทับใจ (สุนีย สินธุเดชะ)
  • 10. บทที่ ๓ วิทยากรกับการฝกอบรม ปจจุบันสภาพเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมของประเทศเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว ทําใหพัฒนาการดานตาง ๆ ของ ประเทศรุดหนาพรอมทั้งเกิดปญหาที่เนื่องมาจากการพัฒนาที่สลับซับซอนเพิ่มเติมขึ้นคูขนานกันไป การเตรียมทรัพยากร มนุษยใหพรอมที่จะรับมือกับปญหาตาง ๆ อยางรูเทาทันจึงตกเปนภาระหนาที่ของการจัดการศึกษาอยางปฏิเสธไมได นอกจากการรับการศึกษาจากหลักสูตรปกติของสถาบันการศึกษาตาง ๆ แลว การจัดการฝกอบรมก็เปนอีกวิถีทางหนึ่งของ การจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ดวยเหตุนี้วิทยากรที่ดีจึงควรใสใจกับกระบวนการฝกอบรมทั้งระบบ ทั้งนี้เพื่อใหสามารถ นําความรูความเขาใจไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ การฝกอบรมที่จะสงผลใหบุคลากรที่รับการฝกอบรมเปนผูที่มีความรูความเขาใจตลอดจนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไป ในทางที่ดีเปนบุคลากรที่มีคุณภาพนั้น ยอมขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการทั้งในดานบุคคล องคการและกระบวนการการ ฝกอบรมซึ่งจะไดกลาวถึงเปนลําดับดังนี้ การฝกอบรมหมายถึงอะไร การฝกอบรม หมายถึง กระบวนการในการที่จะทําใหผูเขารับการอบรม เกิดความรู ความเขาใจ เกิดความชํานาญ และ เกิดทัศนคติที่เหมาะสม เกี่ยวกับเรื่องที่อบรม จนกระทั่งผูเขารับการอบรมเกิดการเรียนรูและสามารถเปลี่ยนแปลงความคิด หรือพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงคของการฝกอบรมอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การเปลี่ยนแปลงความคิดและพฤติกรรมของคน การเปลี่ยนแปลงความคิดและพฤตืกรรมของคนจากจุดหนึ่งที่เรายังไมพอใจไปยังจุดที่เราพอใจนั้น ควรปฏิบัติดังนี้ 1.ใหความรู (Knowledge) 2.ใหเกิดความเขาใจ (Understand) 3.ใหเกิดทักษะโดยการใหลงมือปฏิบัติจริง (Skill) 4.ใหเกิดทัศนคติ (Attitude) การฝกอบรม คือการทําใหผูเขารับการอบรมเกิดการเรียนรูและปฏิบัติไดจริงมิใชเพียงทําใหไดรับความรูเทานั้น การทําใหเกิดการเรียนรู คือ กระบวนการจัดการเรียนการอน (Instrution) ไมใชเพียงแตการสอน (Teaching) หรือ การ บรรยาย (Lecture) เทานั้น วิทยากรคือผืที่ทําใหเกิดการเรียนรู ดังนั้นการเรียนรูจึงเกิดจากิจกรรมของวิทยากรรวมกับกิจกรรมของผูเขารับการ ฝกอบรมภายใตสถานการณที่วิทยากรเปนผูกําหนดและอํานวยการใหเปนไปโดยยึดผูเขารับการฝกอบรมเปนศูนยกลาง หลักสําคัญที่ทําใหเกิดการเรียนรู มี 2 ประการคือ 1.วิทยากรเปนผูกระตุนและอํานวยความสะดวกในการเรียนรูของผูเขารับการอบรม 2.ผูเขารับการอบรมตองทํากิจกรรมเพื่อใหเกิดการเรียนรูดวยตนเอ บทบาทผูจัดการฝกอบรม ในการจัดการฝกอบรมแตละครั้ง บุคลาการที่มีหนาที่ในการจัดฝกอบรมแบงออกไดเปนหลายประเภท บุคลาการเหลานี้ มีบทบาทหนาที่แตกตางกันไปตามภารกิจแตก็ลวนมีความสําคัญตอการจัดการฝกอบรมทั้งสิ้น อาทิ เชน ผูบริหารองคการ เปนผูที่มีบทบาทสําคัญในการใหการสนับสนุนดานงบประมาณ เวลา ใหคําปรึกษา แนะนํา จัด บุคลากรใหรับผิดชอบงานไดอยางเหมาะสม เห็นคุณคา และความสําคัญของการฝกอบรม
  • 11. ผูบริหารการฝกอบรม เปนผูรับผิดชอบในการฝกอบรมจะตองมีความรู ความสามารถหลายดาน เชน การวางแผน กําหนดโครงการ และการบริหารงบประมาณไดอยางเหมาะสม ตลอดจนเขาใจนวัตกรรมการฝกอบรม เปนตน นอกจากนั้น ผูบริหารงานฝกอบรมเปนบุคคลสําคัย จึงจําเปนตองพัฒนาตนเองและมีคุณสมบัติที่ดีหลายประการ คือ 1.มีความรูความสามารถในการฝกอบรม มีความคิดริเริ่มและคิดกวางไกล 2.เปนนักประสานงานที่ดีสามารถทํางานกับทุกคนได 3.เปนนักวางแผนและนักปฏิบัติที่ดี 4.ศึกษาและมีความเขาใจปรัชญา จิตวิทยาการฝกอบรมจิตวิทยาผูใหญ 5.มีมนุษยสัมพันธดี ยิ้มแย็มแจมใส มีความเปนกัลยาณมิตรกับทุกคน 6.มีความสามารถในการแกปยหาไดดี 7.เปนผูกระตุนที่ดีเพื่อใหผูเขารับการอบรมตื่นตัวและมีความกระตือรือรน 8.เปนผูคิดคํานึงถึงการใหมากกวาการรับ และคํานึงถึงผลประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน 9.มีบุคลิกภาพและการแตงกายที่ดี มีความเชื่อมั่นในตนเองและพูดมีศิลปะ 10.เปนผูใหความรวมมือ สงเสริม สนับสนุน เสนอแนะใหวิทยากรปฏิบัติงานตามบทบาทและภารกิจไดอยางเต็มที่ วิทยากร มีความสําคัญอยางมากในเวทีการฝกอบรม เปนผูมีความรูความสามารถในการถายทอด มีเทคนิคในการจัดสื่อ เครื่องมือตลอดจนการนําเสนอที่เหมาะสมกับเวลาและผูเขารับการฝกอบรม ผูเขารับการอบรม มีสวนสําคัญในการทําใหการอบรมสําเร็จถามีความสมัครใจ เต็มใจ กระตือรือรน และใหความรวมมือ ในการปฏิบัติกิจกรรม ตลอดจนการนําความรูไปพัฒนางาน จะเห็นไดวาวิทยากรเปนสื่อกลางที่มีบทบาทสําคัญมาก ในการทําใหผูเขารับการอบรมเกิดความรู ความเขาใจ ทักษะ และทัศนคติที่เหมาะสมเกี่ยวกับเรื่องที่อบรม จนกระทั่งเกิดการเรียนรูและเป,ยนแปลงความคิดหรือพฤติกรรมตามที่ ตองการ บทบาทและหนาที่สําคัญของวิทยากร ในการจัดการฝกอบรม ผูที่มีบทบาทสําคัญที่สุด ที่จะกอใหเกิดการเรียนรูหรือชวยใหการจัดการฝกอบรมเกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากนอยเพียงใด ก็คือวิทยากรการฝกอบรม วึ่งบทบาทและหนาที่ที่สําคัญของวิทยากรมีอยู 6 ประการใหญ ๆ ดวยกัน คือ 1. จัดเตรียมหลักสูตรการฝกอบรม กําหนดเปาหมาย ปรัชญาของการฝกอบรม และกําหนดรายละเอียดของเนื้อหาในการ ดําเนินการฝกอบรม 2. จัดเตรียมโปรแกรมการฝกอบรม ศึกษาหาขอมูลเกี่ยวกับผุเขารับการฝกอบรมและนําขอมูลเหลานั้นมาใชใหเกิด ประโยชน ในการเตรียมโปรแกรมการฝกอบรมจะเปนไปอยางละเอียดและรอบคอบ รวมทั้งจัดเตรียมทีมงานใหมีความ พรอมในการที่จะเปนวิทยากรฝกอบรม 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณและเครื่องมือที่จําเปนจะตองใช เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการฝกอบรม เชน วีดีโอ โปรเจคเตอร เครื่องฉายภาพทึบแสง แผนใสสี สไลด ฯลฯ 4. ประสานงานในเรื่องการจัดเตรียมงาน เตรียมพรอมทุกดานที่เกี่ยวของกับกระบวนการในการจัดฝกอบรม เพื่อความ
  • 12. สะดวกและราบรื่นในการดําเนินการตามโครงการ เชน สถานที่ อาหาร ระบบไฟฟา แสง สี เสียง ฯลฯ 5. รวมปรึกษาหารือทีมงาน เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมการฝกอบรมใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ชวยใหสมาชิกผูเขา รับการฝกอบรมไดรับความรูความเขาใจ บรรลุผลตามจุดมุงหมายที่ตั้งเอาไวซึ่งวิทยากรจะตองดําเนินการดังตอไปนี้ 5.1 สรางบรรยากาศการเรียนรู วิทยากรการฝกอบรม จะตองเปนผูที่สรางบรรยากาศเพื่อจูงใจ สงเสริม และเรงเราให สมาชิกเกิดความสนใจที่จะเรียนรู รวมทั้งจัดประสบการณการเรียนรูหลายรูปแบบที่จะชวยใหผูเขารับการอบรมเกิดความ เขาใจเนื้อหาที่เรียนมากยิ่งขึ้น 5.2 วิทยากรจะตองเปนผูที่ถายทอดขอมูล ความรู ความคิด ประสบการณ ใหผูเขารับการฝกอบรมในฐานะนักวิชาการ เพื่อสรางความรูความเขาใจที่ถูกตองใหผูเขารับการฝกอบรมและวิทยากรจะตองมีทัสนคติที่ดีตอผูเขารับการฝกอบรมดวย 5.3 วิทยากรจะตองทําตัวเปนตนแบบ เปนแมพิมพหรือเปนแบบอยางที่ดีแกผูเขารับการฝกอบรม สิ่งใดที่วิทยากรตองการ ใหผูเขารับการฝกอบรมประพฤติปฏิบัติ วิทยากรควรประพฤติปฏิบัติใหเปนแบบอยางดวย เพื่อความศักดิ์สิทธิ์ในเชิง วิชาการ 5.4 วิทยากรจะตองทําหนาที่เปนคตัวกลาง เชื่อมโยงและประสานความคิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อความหมายใน การสรางความเชาใจใหกับผูเขารับการฝกอบรมไดเขาใจถูกตองตรงกัน พรอมทั้งคอยชี้แนะและแกปญหากลุมในบาง โอกาส เพราะกระบวนการการเรียนรูโดยอาศัยวิธีการเรียนจากกิจกรรมกลุมสัมพันธเปนไปในลักษระที่กลุมจะตองแสดง ความคิดและทํางานรวมกันเปนทีม 6. เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการในการฝกอบรม วิทยากรจะตองทําหนาที่ประเมินผลการฝกอบรมวาบรรลุเปาหมายมากนอย เพียงใด และแจงผลการประเมินใหกับผูเขารับการฝกอบรมไดทราบดวย จากที่กลาวมาแลวจะเห็นไดวา วิทยากรเปนหัวใจสําคัญที่จะชวยใหการฝกอบรมสัมฤทธิผลหรือลมเหลว เพราะบทบาท ในกระบวนการเรียนการสอนอยูที่วิทยากร ทุกคนเปนวิทยากรได แตจะเปนวิทยากรที่ดีหรือไมเพียงใดขึ้นอยูกับการพัฒนา ตนเองใหมีความรู ความสามารถ ทักษะ บุคลิกภาพ และคุณลักษณะดังตอไปนี้ 1. วิทยากรจะตองเปนผูมีบุคคลิกที่ดี เปนที่นาเชื่อถือ และเปนกันเองกับผูเขารับการฝกอบรม เพื่อสรางบรรยากาศแหง ความสมานฉันทและจูงใจผูเขารับการฝกอบรม 2. วิทยากรจะตองมีทัศนคติที่ดีตอผูเขารับการฝกอบรมทุกคน 3. วิทยากรจะตองมีทักษะในการฟงและการสั่ง ทั้งในรูปของถอยคําสํานวนภาษาและการจับใจความสําคัญ คือสามารถ รับฟงคนอื่นไดอยางเขาใจแจมแจง และจะตองเคารพในความคิดเห็นของผูอื่น 4. วิทยากรจะตองไวตอการรับความรูสึกสามารถ อานใจสังเกตความตองการของผูอื่นและการวิเคราะหสถานการณและ ถูกตอง 5. วิทยากรจะตองใจกวาง กลาที่จะยอมรับความผิดพลาดของตนเอง 6. วิทยากรจะตองเปนผูที่มีความสนใจผูอื่น ไมใชเรียกรองใหผูอื่นมาสนใจวิทยากร 7. วิทยากรจะตองเปนนักมนุษยสัมพันธ อานใจเขาใจเราไมยกตนขมทานหรือแสดงอํานาจ 8. วิทยากรจะตองไมวิพากษวิจารณ หรือแปลพฤติกรรมของผูอื่นโดยไมจําเปน 9. วิทยากรจะตองไมเอาปญหาของตนเองมาเปนจุดสรางความสนใจใหกับผูอื่นจนกระทั่งลืมความตองการหรือ วัตถุประสงคของกลุม 10. วิทยากรจะตองมีเทคนิควิธีการรอบดาน เพื่อชวยใหผูรับการอบรมสนใจและเกิดความรู
  • 13. 11. วิทยากรจะตองรูจักนําความคิดเห็นของผูอื่นมาใชใหเปนประโยชน 12. วิทยากรจะตองมีความสามารถในการวิเคราะห เชื่อมโยงความคิดและสรุปความคิดเห็นตาง ๆ ไดดี 13. วิทยากรจะตองเปนผูที่มีปฏิภาณไหวพริบดีเยี่ยม แกปญหาเฉพาะหนาอยางเหมาะสม ขั้นตอนของการดําเนินการฝกอบรม ในการฝกอบรมแตละครั้ง แมวาวิทยากรจะมีบทบาทเฉพาะในบางชวงเวลาของการฝกอบรมตามที่ไดพรรณนามาแลว ขางตนก็ตามแตเพื่อใหเกิดประโยชนแกผูที่สนใจศึกษาเรื่องการจัดการฝกอบรมมากยิ่งขึ้น สมควรที่จะนําแผนของการ ดําเนินการฝกอบรม 3 ขั้นตอนคือ การดําเนินงานกอนการฝกอบรม การดําเนินการระหวางการฝกอบรม การดําเนินงาน หลังการฝกอบรม มานําเสนอไวดวยดังนี้ แผนดําเนินการฝกอบรม การดําเนินงาน ผูรับผิดชอบ/กําหนดเวลา การดําเนินการกอนการฝกอบรม 1. ติดตอวิทยากรเปนการภายใน พรอมทั้งแจงรานละเอียดเกี่ยวกับการฝกอบรมที่วิทยากรควรทราบ เชน หัวขอวิชานั้น ๆ จํานวนและคุณสมบัติของผูเขารับการอบรม วันและเวลาสําหรับหัวขอนั้น ๆ เปนตน นอกจากนั้นจะตองสอบถามวิทยากร เกี่ยว กับการจัดรถรับ-สง ดารจัดหองฝกอบรมอุปกรณที่จะใช และ เอกสารประกอบสําหรับหัวขอนั้น ๆ 2. ติตดอสอบถามสถานที่ดูงานหรือทัศนศึกษาเปนการภายในพรอมทั้งแจงวัตถุประสงค ขอบเขตของการดูงาน ตลอดจน จํานวนผูเขาชม วัน เวลาของการดูงาน 3. จัดพิมพหลักสูตรและโครงการฝกอบรม 4. คัดเลือกผูเขารับการฝกอบรม และจัดทําบัญชีรายชื่อผูเขา รับการฝกอบรมสําหรับ - วิทยากร ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติของผูเขารับการฝกอบรมที่วิทยากรควรทราบ เชน ชื่อ อายุ ตําแหนง หนวยงานตนสังกัด วุฒิ ประสบการณการทํางาน เปนตน ผูเขารับการอบรม ซึ่งมีรายละเอียดในเรื่อง ชื่อ ตําแหนง ν หนวยงานตนสังกัด ลงชื่อประจําวัน ν 5. จัดเตรียมเงินที่จะใชจายในโครงการฝกอบรม 6. จัดเตรียมเอกสารพื้นฐานและเอกสารประกอบการฝกอบรม 7. จัดเตรียมประวัติวิทยากรในโครงการ 8. จัดเตรียมแบบประเมินผลและสังเกตการณของแตละรายวิชาและของโครงการโดยสวนรวม 9. การจัดเตรียมสถานที(เชน โตะ เกาอี้ แจกันดอกไม เปนตน) โสตทัศนูปกรณ (เชน เครื่องฉายภาพขามศีรษะ แผนใส ที่ ่ เขียนแผนใส กระดานดํา เปนตน) และอุปกรณอื่น ๆ (เชน ตะกรา เอกสาร กรรไกร ที่เจาะกระดาษ ที่เย็บกระดาษ สกอต เทป ตะกราใสผง เปนตน) เพื่อใชในการฝกอบรม 10. ติดตอประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อขอความชวยเหลือในเรื่อง
  • 14. -การจัดและการใชสถานที่ในการฝกอบรม -การจัดรถรับ-สงวิทยากร และรับ-สงผูเขารับการอบรมไปดุงาน -การจัดสถานที่จอดรถสําหรับวิทยากร -โสตทัศนูปกรณที่ใชในการฝกอบรม -การจัดเลี้ยงเครื่องดื่มในพิธีเปด-ปดและระหวางฝกอบรม -การจัดพิมพเอกสาร ฯลฯ 11. จัดทํากําหนดการพิะเปดการฝกอบรม 12. ทําหนังสือเชิญวิทยากร และหนังสือขออนุญาตจากผูบังคับบัยชาของวิทยากร พรอมทั้ง รายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตร การฝกอบรม รายชื่อผูเขารับการอบรม แบบประเมินผลการอบรมโดยวิทยากร 13. ทําหนังสือถึงหนวยงาน เพื่อขออนุญาตเขาดูงานในหนวยงานนั้น 14. เตรียมรางคํากลาวรายงาน คํากลาวในพิธีการเปดการฝกอบรม 15. ทําหนังสือเชิญหัวหนาหนวยงานเปนผูกลาวรายงานในพิธีการเปดการฝกอบรม(ควรสงลวงหนาประมาณ 1 สัปดาห) 16. ทําหนังสือเชิญผูมีเกียรติมารวมในพิะเปดการฝกอบรมพรอมทั้งแนบกําหนดการพิธีเปด 17. จัดปายตาง ๆ คือ -ปายวิทยากร(ตั้งโตะ) -ปายชื่อผูเขารับการฝกอบรม(ตั้งโตะ ติดเสื้อ) -ปายลงทะเบียน -ปายบอกทางมายังหองฝกอบรม 18. เตรียมแฟมสําหรับผูเขารับการฝกอบรม ประกอบดวย -กําหนดการพิธีเปดการฝกอบรม -รายละเอียดโครงการ -เอกสารพื้นฐาน -กระดาษจดบันทึก -รายชื่อผูเขารับการอบรม 19. เตรียมแฟมลงทะเบียน แฟมเซ็นชื่อ 20. เตรียมวุฒิบัตร 21. เตรียมการทั่วไปสําหรับวันเปดการฝกอบรม -สถานที่ ไดแก โตะหมูบุชา โตะ เกาอี้ ไมโครโฟน ดอกไม ธูปเทียน -ตอนรับประธาน ผูมีเกียรติ ผูเขารับการฝกอบรม -รับลงทะเบียน -การเลี้ยงน้ําชา -เตรียมสําเนารางคํากลาวรายงาน และคํากลาวในพิธีเปดการฝกอบรม
  • 15. -สงรางคํากลาวถึงประธานและผูกลาวรายงานกอนวันพิธีเปด 1 วัน 22. เรียนตเอนประธานและผูกลาวรายงานกอนวันพิธีเปด การดําเนินการระหวางฝกอบรม 1. จัดเตรียมแฟมเซ็นชื่อประจําวัน 2. จัดเตรียมเอกสารที่จะแจกแตละวันและกระดาษบันทึก 3. จัดเตรียมสถานที(จัดโตะ เปลี่ยนปายชื่อวิทยากร เปลี่ยนปายชื่อผูเขารับการฝกอบรม) โสตทัศนูปกรณ(เครื่องขยาย ่ เสียง เครื่องฉายภาพขามศีรษะแผนใส ที่เขียนแผนใสฯลฯ) 4. เตือนวิทยากรกอนการบรรยายลวงหนา 1 สัปดาห 5. เตรียมเครื่องดื่มสําหรับวิทยากรและผูเขารับการฝกอบรม 6. เตรียมรถรับ-สงวิทยากรหรือสถานที่จอดรถสําหรับวิทยากร 7. เตรียมวิทยากรแทนหรือจัดกิจกรรมทดแทน ในกรณีวิทยากรไมมา 8. ตอนรับ อํานวยความสะดวก สงวิทยากร 9. แนะนําและขอบคุณวิทยากร 10. จัดเตรียมเงินสมนาคุณวิทยากร 11. อํานวยความสะดวกใหแกผูเขารับการฝกอบรม 12. สังเกตุการฝกอบรมตลอดระยะเวลาการฝกอบรมตลอดจนดูแลเวลาใหเปนไปตามกําหนดการ 13. แจกแบบประเมินผล รวบรวมผลจากการประเมิน เพื่อทําการวิเคราะหและปรับปรุงแกไข 14. จัดทํากําหนดการพิธีปดการฝกอบรม 15. จัดเตรียมวุฒิบัตร และเสนอเซ็นลวงหนา 16. รางคํากลาวรายงานและคํากลาวปดการฝกอบรม 17. ทําหนังสือเชิญประธานปกการฝกอบรม และแจกวุมิบัตรพรอมทั้งแนบคํากลาวปดการฝกอบรม และกําหนดการพิธีปด การฝกอบรม 18. ทําหนังสือเชิญวิทยากรและผูมีเกียรติในพิธีปดการฝกอบรมพรอมทั้งแนบกําหนดการพิธีปดการฝกอบรม 19. ทําหนังสือขอบคุณวิทยากรและหนวยงานที่ใหการอนุเคราะหชวยเหลือตาง ๆ 20. ทําหนังสือสงตัวผูเขารับการฝกอบรมกลับคืนตนสังกัด 21. เตรียมการทั่วไป สําหรับวันปดการฝกอบรม(กิจกรรมสวนใหญจะคลายคลึงกับวันเปดการฝกอบรม) 22. จัดเตรียมแบบทดสอบหลังการฝกอบรม แบบประเมินผลโครงการ และใหผูรับการฝกอบรมประเมินผลในวันสุดทาย ของการฝกอบรม ระยะหลังการฝกอบรม 1.สงหนังสือขอบคุณวิทยากรและหนวยงานที่เกี่ยวของ 2.สงหนังสือสงตัวผูเขารับการฝกอบรมกลับคืนตนสังกัด 3.รวบรวมและวิเคราะหผลการฝกอบรม 4.รายงานผลการฝกอบรมตอฝายบริหาร
  • 16. 5.ติดตามผลการฝกอบรม 6.รวบรวมและวิเคราะหผลที่ไดจากการติดตาม และทํารายงานเสนอตอฝายบริหาร 7.จัดการเรื่องการเงิน โดยนําหลักฐานการจายเงินตาง ๆ ในโครงการมอบใหฝายการเงิน 8.เปนตัวกลางในการติดตอประสานงานระหวางผูรับการฝกอบรมตอไป 9.จัดทําเนียบรุนผูเขารับการฝกอบรม หมายเหตุ แผนการดําเนินการฝกอบรมนี้เสนอเปนเพียงตัวอยางหรือแนวทางเทานั้น ซึ่งผูดําเนินการฝกอบรมและผูที่ เกี่ยวของสามารถนําไปปรับมใชไดตามความเหมาะสม ประโยชนของการฝกอบรม ขอสรุปของการจัดการฝกอบรมอาจนําเสนอไดโดยประโยชนที่เกิดขึ้นในระดับตาง ๆ ทั้งตอบุคลากร หนวยงานและผูที่ เกี่ยวของอื่น ๆ ดังนี้ ประโยชนตอหนวยงาน 1. เพื่อเพิ่มรายไดและผลกําไรของหนวยงาน 2. เพื่อลดคาใชจายหรือเพิ่มประสิทธิภาพใหแกหนวยงาน 3. เพื่อชวยใหเจาหนาที่หรือพนักงาน สามารถขยายงานไดอยางตอเนื่องทั้งในแนวตั้งและแนวนอน 4. เพื่อปองกันปญหาโดยการเสริมสรางความรู ควงามเขาใจกับบุคลากรเพื่อหลีกเลี่ยงปญหาระหวางการปฏิบัติงานได 5. เปนกรรมวิธีที่กอใหเกิดความสามัคคีของบุคลากรที่ทํางานในหนวยงานเดียวกัน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณืซึ่ง กันและกันชวยใหเกิดความเขาใจกันมทากยิ่งขึ้น ประโยชนตอหัวหนางาน 1. ทําใหผลงานรวมของหนวยงานสูงสุดทั้งปริมาณและคุณภาพ 2. ลดคาใชจายในการตรวจสอบ การควบคุมและการทํางานแทนผูบังคับบัญชา 3. ทําใหผูบังคับบัญชาระดับสูงมีความไววางใจในความสามารถในการบริหารงาน ประโยชนตอผูเขารับการอบรม 1. เสริมสรางความรูใหม ๆ ที่ทันสมัยและสรางวิสัยทัศน 2. พัฒนาบุคลิกภาพของตนเองและปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานใหเหมาะสมกับภารกิจที่ตองปฏิบัติ 3. สามารถปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายไดทั้งในเชิงปริมาณและคุรภาพ 4. เสริมสรางขวัญกําลังใจและความเชื่อมั่นในตนเอง มีความพรอมในการปฏิบัติงานสูง 5. เกิดความมุมานะพยายามพัฒนางานเพื่อความกาวหนาในอนาคต(ตําแหนงงาน)