SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ประวัติและกิจการลูกเสือโลก

ประวัติและกิจการขององคการลูกเสือโลก
1. กําเนิดของการลูกเสือและการขยายตัวของกิจการลูกเสือ
Robert Stephenson Smyth Baden-Powell เปนชื่อเต็มของ บี-พี (B.P.) ผูใหกําเนิดลูกเสือโลก
บิดาชื่อเอชจี เบเดนโพเอล เปนนักวิทยาศาสตรสนใจในธรรมชาติศึกษามาก โดยเปนศาสตราจารย
ในมหาวิทยาลัย Oxford
ครอบครัวมิสูจะร่ํารวย บิดาตายเมื่อ B.P. อายุได 3 ขวบ B.P. ถนัดในการวาดเขียน สามารถใชมือ
ซายขวาไดถนัดทั้งสองมือเทาๆกัน เพื่อจะทําใหเพื่อนสนุกสนาน ขบขัน เขามักทําเสียงนกหรือเสียงสัตวรอง
ใหเพื่อนๆฟง
ชีวิตในวัยเรียน
B.P. มิไดเปนนักเรียนหรือนักกีฬาที่ดีเดนนัก แตเมื่อเขารวมในกิจกรรมตางๆของโรงเรียนแลวเขาจะ
ทําอยางเอาจริงเอาจัง
เขาเปนคนรางเล็ก แตรางกายแข็งแรง สุขภาพดี
ใกลโรงเรียนมีปาอยูแหงหนึ่ง นักเรียนถูกหามมิใหเขาไปเที่ยวเลนในปานี้ แตก็ยั่วยวนใจนักเรียนที่
ชอบผจญภัย ใหเขาไปเที่ยวเลนมาก B.P. แอบหนีไปเที่ยวในปานี้บอยๆ และเขาจะจับกระตายมาทําเปน
อาหาร โดยใชไฟมิใหเกิดควันเพื่อปดครูมิใหรู
B.P. เรียนการใชมีด ขวาน และวิธีการเคลื่อนไหวในปาโดยมิใหมีเสียง สัตวปาเปนที่ดึงดูดใจของ
B.P.มาก เขามักซุมตัวอยูนานๆเพื่อศึกษาธรรมชาติของสัตวเหลานั้น
เมื่ออายุ 19 ป B.P. ยังไมแนใจวาเขาตองการเปนอะไรดี เขาชอบเดินทางไปตางประเทศ แตมารดา
ของเขาอยากใหไปเรียนที่มหาวิทยาลัย Oxford เชนเดียวกับพี่ชาย แตเมื่อจบโรงเรียนมัธยมแลวเขากลับไป
สอบเขาเปนนักเรียนโรงเรียนนายรอยในกองทัพบก เพราะเห็นประกาศติดไวตามขางถนน
เขาสอบไลไดดีมาก จนเปนที่แปลกใจของตัวเขาเองและคนอื่นที่รูจักเขา เขาไดรับการยกเวนมิตอง
เขารับการฝกอบรมตามขั้นตอนธรรมดาของนักเรียนนายรอยทหารบกที่ Sand Hurst และไดรับการบรรจุเขา
เปนนายทหารในกองรอยที่ 13 ในประเทศอินเดีย
ในป ค.ศ.1876 เขาลงเรือเดินทางไปอินเดีย ปฏิบัติหนาที่อยางขยันขันแข็ง
ในป ค.ศ.1884 ไดรับคําสั่งใหกลับอังกฤษ B.P. รูสึกวาชีวิตในกรมทหารนาเบื่อหนาย
ในป ค.ศ.1887 ลุงของ B.P. ไดรับคําสั่งจากกองทัพบกใหไปประจําที่ Cape Town ในแอฟริกาใตซึ่ง
ไดนํา B.P. ไปเปนนายทหารคนสนิท

พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน
แผนที่ 1

ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ

http://www.krukengscout.th.gs
ประวัติและกิจการลูกเสือโลก

ความยุงยากไดเกิดขึ้นกับพวก Zulu B.P. ไดเขารวมกับกองกําลังทหารอังกฤษลอมจับหัวหนาเผา
Zulu ซึ่ง Dinizulu ไดมอบสายคลองคอลูกปด (Necklace) ใหแก B.P. หลายปตอมา B.P.จึงไดมอบสรอยนี้
ใหแก Gilwell Park ซึ่งเปนเครื่องหมายวูดแบดจ ตอมาจนถึงปจจุบัน
ป 1895 B.P. ได รั บ มอบหมายให เ ดิ น ทางไปยั ง Ashanti ในแอฟริ ก าตะวั น ตกเพื่ อ ปราบ King
Prempeh
ในการเดินทางไปยัง Ashanti ครั้งนีไดมีสิ่งเกี่ยวของกับกิจการลูกเสือ อยู 3 ประการ กลาวคือ
1.หมวกปก ในเมือง Ashanti B.P.ไดสวมหมวกป หรือหมวกคาวบอยเปนครั้งแรก และไดสวมเปน
ประจําอยูตลอดมา เพราะเหตุน้ีชาวเมืองจึงเรียก B.P.วา Kantankye คนสวมหมวกใหญหรือคน
หมวกปกกวาง
2.ไมพลอง B.P.สังเกตเห็นวาหัวหนาวิศวกรที่ควบคุมการทําถนนและสรางที่พักจากฝงแอฟริกา
ตะวันตกไปยังเมืองหลวงของ Ashanti นั้น มักถือไมพลองยาว มีเครื่องหมายแบงเปนฟุตและนิ้ว
B.P.อธิบายวาไมพลองมีประโยชนมาก ใชเปนถอค้ํายันเวลาขามทองรอง ใชวัดความลึกของบึงน้ํา
ได ใชเปนเครื่องวัดสวนสูงได
3.การจับมือซาย B.P.ไดรับความรูดวยวาการจับมือซายนั้นชาวเมือง Ashanti ถือวาเปนเครื่องหมาย
แหงความเปนมิตร
B.P. กลับอังกฤษพรอมดวยชื่อเสียงดียิ่งขึ้น และไดเลื่อนยศทางทหารดวย ป 1897 เขาไดเดินทางไป
อินเดียอีก
ป ค.ศ.1899 B.P. ไดรับอนุญาตใหลาพักและเดินทางกลับอังกฤษ เมื่อไปถึงอังกฤษเขามีหนังสือเลม
หนึ่งชื่อ Aids to Scouting “สิ่งสนับสนุนกิจการสอดแนม” ซึ่งเขาไดเขียนขณะที่พักผอนในแควน Kashmir
หนังสือเลมนี้วาดวยวิธีการสอดแนมสําหรับทหาร B.P.ตั้งใจจะใหหนังสือเลมนี้เปนคูมือของทหาร อาจใชได
ทุกเหลา แตหนังสือนี้กลับเปนที่สนใจของเยาวชนวัยรุนดวย
B.P. อยูที่อังกฤษไดไมนานนัก สงครามไดเกิดขึ้นในแอฟริกาใตระหวางอังกฤษกับพวก Boers
(Boers คือ พวก Dutch ที่ไดอพยพไปตั้งถิ่นฐานอยูในแอฟริกาใต)
B.P. ไดรับคําสั่งใหเดินทางไปแอฟริกาใตใหจัดตั้งกองทหารขึ้น เพื่อปองกันดินแดนดานเหนือและ
ดานตะวันออกเฉียงเหนือ
สงครามเมือง Mafeking
ป ค.ศ.1899 มีการประกาศสงครามระหวางอังกฤษกับพวก Boers ของฮอลันดา
Boers มีทหาร 9,000 คน เดินทัพเขาบุกเมือง Mafeking เพราะคิดวาอยูในที่ราบอาจบุกไดงาย และไม
มีการปองกันที่เขมแข็ง
พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน
แผนที่ 2

ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ

http://www.krukengscout.th.gs
ประวัติและกิจการลูกเสือโลก

B.P. มีทหารประมาณ 1,000 คน ไมมีประสบการณในการทําสงครามมากอน มีพลเมืองในMafeking
ประมาณ 8,000 คน แตพลเมืองไมรวมมือในการทําสงครามดวยปนใหญ กระสุนก็ลาสมัย ฝาย Boers มีอาวุธ
ที่ทันสมัย
ทําไมเมือง Mafeking จึงปะทะขาศึกไดถึง 7 เดือน
B.P. เปนผูรอบรู มีใจราเริง ไมยอทอตอความยากลําบาก
พวก Boers ไมรูวา B.P. คิดจะทําอะไรตอไป พวก Boers ตองคาดคะเนอยูตลอดเวลา
B.P. ไมไดนั่งอยูเฉยๆ B.P.รูวาการปองกันที่ดีคือการรุก B.P.รูดวยวา ถาใหทุกคนมีงานทํา ขวัญของ
เขาจะดี เมื่อผจญขาศึก
แผนการยุทธบางอยางของ B.P. เปนแผนหลอกลวง เชน ฝงทุนระเบิดหลอกรอบเมือง Mafeking
ประดิษฐไฟฉายเคลื่อนที่ดวยแกส Acetylene ทําใหพวก Boers คิดวาในเมือง Mafeking มีไฟฉายรอบเมือง
ทําลวดหนามปลอมลอมเมือง โดยใหทหารทําทาเดินขามโดยกาวสูงๆหลอกๆ พวก Boers นึกวามีลวดหนาม
รอบเมือง Mafeking
ทุกคืน B.P. ออกจากเขตเมืองเพื่อดูวาปนขาศึกอยูที่ไหน พวก Boers เคลื่อนเขามาใกลเมืองหรือไม
B.P.ไมไดนอนตอนกลางคืน แตเขานอนตอนกลางวันแทน
วันคืนผานไป สถานการณภายในเมืองคับขันมากขึ้น อาหารเริ่มขาดแคลนมากขึ้นทุกวัน มาลาถูกฆา
กินเปนอาหารไปมาก แนวรบขยายกวางออกไป ทหารตายมากขึ้น พลรบลดจํานวนนอยลง
หนวยสอดแนมของเมือง Mafeking
คณะเสนาธิการของ B.P. คิดจะใชเด็กหนุมชาวเมืองใหเปนผูสื่อขาว ทําหนาที่บุรุษพยาบาล จึงหา
เครื่องแบบสีกากี และหมวกปกกวาง (หมวกคาวบอย) พับปกใหเขาและมอบใหเด็กหนุมคนหนึ่งชื่อ Good
Year เปนผูนํา
ตอนแรกเด็กหนุมเหลานี้ใชลาเปนพาหนะ แตตอมาลาถูกฆากินเปนอาหารหมด เด็กหนุมจึงไดใช
จักรยานแทน สมรรถภาพ ความกลาหาญ จิตใจที่ราเริงของเด็กหนุมเหลานี้ประทับใจ B.P.มาก
วันหนึ่งเมื่อเด็กหนุมคนหนึ่งขับขี่จักรยานฝากระสุนขาศึก ซึ่งกําลังยิงตอสูกัน เขามาหา B.P. B.P.
พูดกับเด็กคนนั้นวา ถาเธอขี่จักรยานเชนนี้ในขณะที่มีการยิงตอสูกัน เธอจะถูกยิงตายสักวันหนึ่ง เด็กหนุม
ตอบวา “ผมถีบรถเร็วมากครับ เขาคงยิงผมไมถูก”
ในที่สุดขาวที่วากองทัพทหารอังกฤษมาชวยก็มาถึง เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 1900 กองทหารชวยก็
มาถึง
เมื อง Mafeking ได ยื น หยั ด ต อ สูพ วก Boers ถึ ง 217 วั น ขา วนี้ ไ ดแ พร ไ ปถึ ง เมื อ งลอนดอน ชาว
อังกฤษดีใจมาก B.P.ไดกลายเปนวีรบุรุษไปโดยฉับพลัน
พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน
แผนที่ 3

ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ

http://www.krukengscout.th.gs
ประวัติและกิจการลูกเสือโลก

การลูกเสือสําหรับเด็กชาย (Scouting for Boys)
B.P. กลับถึงอังกฤษ เขาแปลกใจที่ไดเห็นหนังสือคูมือทหาร Aids to Scouting มาใชฝกอบรม
เด็กชายในโรงเรียน และในสโมสรเยาวชนตางๆ
เพื่อนๆไดแนะนําให B.P.เขียนหนังสือนี้เสียใหม เพื่อใชอบรมเยาวชน B.P.จึงนําเด็กจํานวน 20 คน
ซึ่งเปนบุตรของเพื่อนบาง และเปนเด็กจากสโมสรเยาวชนบางนําเด็กเหลานี้ไปอยูคายที่เกาะ Brown Sea
Island ในอาว Poole ในปลายเดือนกรกฎาคม 1907 ถึงตนเดือนสิงหาคม 1907 (31 ก.ค.-9ส.ค.)
B.P.แบงเด็ก 20 คน เปน 4หมู เรียกชื่อวา Wolves, Curlew, Bulls และ Ravans นี่เปนกองลูกเสือ
สามัญกองแรกที่เกิดขึ้น
ภายหลังการนําเด็กหนุมไปอยูคายที่เกาะ Brown Sea แลว B.P.ไดเขียนหนังสือ Scouting for Boys
จนแลวเสร็จ ไดพิมพเปน 6 ตอน พิมพออกจําหนายหางกันทุก 2 สัปดาห ราคาเลมละ 4 เพนนี เลมแรก
ออกจําหนายในเดือนมกราคม 1908 จําหนายไดดีมาก เยาวชนอานกันมาก แลวรวมกันตั้งเปนหมูขึ้น แลวไป
ชักชวนผูใหญที่เขาเห็นวาเหมาะสมที่จะเปนผูนําเขาได มาเปนผูนําหรือผูกํากับ
กิจการลูกเสือไดกระจายและมีจํานวนทวีมากขึ้นอยางรวดเร็ว
กิจการลูกเสือขยายไป
นอกจากอังกฤษ และประเทศในเครือจักรภพ Chile เปนประเทศแรกที่รับเอากิจการลูกเสือใน ค.ศ.
1909
ป ค.ศ.1910 – อเมริกา โดย Mr.William D. Boyce นักหนังสือพิมพชาวอเมริกัน
ป ค.ศ.1911 – ไทย
คริสตาลพาเลซ Crystal Palace
ป 1909 ลูกเสือในราชอาณาจักรมาชุมนุม (Rally) กันเปนครั้งแรกจํานวนนับหมื่นคน
B.P. ไปรวมชุมนุมดวย เด็กหญิงกลุมหนึ่งสวมหมวกลูกเสือเชนเด็กชาย เด็กหญิงเหลานั้นอธิบายตอ
B.P.วาเขาตองการเปนลูกเสือเชนพี่ชายของเขา
ป ค.ศ.1916 ไดจัดตั้งลูกเสือสํารองขึ้น Cub Scouts
ป ค.ศ.1918 ไดจัดตั้งลูกเสือวิสามัญ Rover Scouts
กิจการเนตรนารี (Girl Guide)
กิจการเนตรนารี (Girl Guide) จึงไดเกิดขึ้นในปนี้ (1916)
พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน
แผนที่ 4

ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ

http://www.krukengscout.th.gs
ประวัติและกิจการลูกเสือโลก

First Jamboree
ป ค.ศ.1914-1918
เปนประหวางสงครามโลก ครั้งที่ 1
ป ค.ศ.1920
ไดมีการชุมนุม (Jamboree) ครั้งแรกที่ Olympia กรุงลอนดอน ประเทศ
อังกฤษ มีลูกเสือมาชุมนุม 30,000 คน จาก 21 ประเทศ
ในการชุมนุมครั้งนี้ B.P.ไดรับการประกาศแตงตั้งจากคณะลูกเสือที่ไปชุมนุมใหเปนประมุขลูกเสือ
โลก Chief Scout of the World
คณะผูกํากับลูกเสือมีมติวา จะมีการประชุมกันทุก 2 ป และจัดตั้งสํานักงานขึ้นเรียกวา International
Bureau
B.P. ถึงแกอนิจกรรมที่ประเทศเคนยา ค.ศ.1940 ในทวีปแอฟริกา หลุมฝงศพอยูที่เมืองไนเยอรี
ประเทศเคนยา
และไดเขียนสาสนฉบับสุดทายถึงลูกเสือ ดังมีขอความสําคัญ ดังนี้
1.จงทําตนเองใหมีอนามัยและแข็งแรงในขณะที่เปนเด็ก
2.จงมีความพอใจในสิ่งที่เธอมีอยู และทําสิ่งนั้นใหดีที่สุด
3.จงมองเรื่องราวตางๆในแงดี แทนที่จะมองในแงราย
4.ทางอันแทจริงที่จะหาความสุข คือ โดยการใหความสุขแกผูอื่น
5.จงพยายามปลอยอะไรทิ้งไวในโลกนี้ใหดีกวาที่เธอไดพบ
6.จงยึดมั่นในคําปฏิญาณของลูกเสือของเธอไวเสมอ
2. กิจการองคการลูกเสือโลก
การลูกเสือโลกเปนขบวนการทางการศึกษาสําหรับเยาวชน มีวัตถุประสงคที่จะสรางบุคลิกภาพและ
พัฒนาการทางดานสังคม เปนองคการอาสาสมัคร ไมเกี่ยวของกับการเมือง เปดโอกาสสําหรับคนทั่วไป โดย
ขึ้นอยูบนพื้นฐานดังนี้
ปฏิบัติตามหลักการสําคัญของการลูกเสือที่ไดกําหนดขึ้นโดยผูใหกําเนิดลูกเสือโลก และยึดมั่นตาม
คําสอนของศาสนาที่ตนเคารพนับถือ
มีความจงรักภักดีตอชาติบานเมือง ชวยสรางเสริมสันติภาพความเขาใจอันดีและใหความรวมมือ มี
ความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง เขารวมในการพัฒนาสังคมดวยการยกยองและเคารพในเกียรติของ
บุคคลอื่นๆ และเพื่อความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทั่วโลก
เปนวิธีการพัฒนาเยาวชนใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบบนพื้นฐานคําปฏิญาณตามกฎของ
ลูกเสือ เรียนรูโดยการกระทําวิธีการระบบหมู พัฒนาความกาวหนาของบุคคลโดยใชหลักสูตรและวิชาพิเศษ
ลูกเสือ และกิจกรรมกลางแจง
พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน
แผนที่ 5

ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ

http://www.krukengscout.th.gs
ประวัติและกิจการลูกเสือโลก

องคการลูกเสือโลก คือ องคการนานานชาติ ที่มิใชองคการของรัฐบาลใด มีองคประกอบที่สําคัญ 3
ประการ คือ สมัชชาลูกเสือโลก, คณะกรรมการลูกเสือโลก และสํานักงานลูกเสือโลก
2.1 สมัชชาลูกเสือโลก (World Scout Conference)
สมัชชาลูกเสือโลก คือที่ประชุมของผูแทนคณะลูกเสือประเทศตางๆทั่วโลก เริ่มมีการ
ประชุมกันเปนครั้งแรกเมื่อป 1920 (พ.ศ.2463) และหลังจากนั้น ปกติมีการประชุมทุกๆ 2 ป ตั้งแตครั้งที่ 1 ถึง
ครั้งที่ 32 และจะเปลี่ยนเปนการประชุมทุกระยะ 3 ป โดยเริ่มตั้งแตครั้งที่ 33 เปนตนไป ซึ่งจัดขึ้น ณ ประเทศ
ไทย ในป พ.ศ.2536 ประเทศตางๆที่ไดจัดประชุมสมัชชาลูกเสือโลกแลว มีดังนี้
1. ครั้งที่ 1
พ.ศ. 2463
ประเทศอังกฤษ
2. ครั้งที่ 2
พ.ศ. 2465
ประเทศฝรั่งเศส
3. ครั้งที่ 3
พ.ศ. 2467
ประเทศเดนมารก
4. ครั้งที่ 4
พ.ศ. 2469
ประเทศสวิตเซอรแลนด
5. ครั้งที่ 5
พ.ศ. 2472
ประเทศอังกฤษ
6. ครั้งที่ 6
พ.ศ. 2474
ประเทศออสเตรีย
7. ครั้งที่ 7
พ.ศ. 2476
ประเทศฮังการี
8. ครั้งที่ 8
พ.ศ. 2478
ประเทศสวีเดน
9. ครั้งที่ 9
พ.ศ. 2480
ประเทศเนเธอรแลนด
10. ครั้งที่ 10 พ.ศ. 2482
ประเทศสกอตแลนด
11. ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2490
ประเทศฝรั่งเศส
12. ครั้งที่ 12 พ.ศ. 2492
ประเทศนอรเวย
13. ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2494
ประเทศออสเตรีย
14. ครั้งที่ 14 พ.ศ. 2496
ประเทศลิกเตนสไตน
15. ครั้งที่ 15 พ.ศ. 2498
ประเทศแคนาดา
16. ครั้งที่ 16 พ.ศ. 2500
ประเทศอังกฤษ
17. ครั้งที่ 17 พ.ศ. 2502
ประเทศอินเดีย
18. ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2504
ประเทศโปรตุเกส
19. ครั้งที่ 19 พ.ศ. 2506
ประเทศกรีซ
20. ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2508
ประเทศเม็กซิโก
21. ครั้งที่ 21 พ.ศ. 2510
ประเทศสหรัฐอเมริกา
22. ครั้งที่ 22 พ.ศ. 2512
ประเทศฟนแลนด
พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน
แผนที่ 6

ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ

http://www.krukengscout.th.gs
ประวัติและกิจการลูกเสือโลก

23. ครั้งที่ 23
24. ครั้งที่ 24
25. ครั้งที่ 25
26. ครั้งที่ 26
27. ครั้งที่ 27
28. ครั้งที่ 28
29. ครั้งที่ 29
30. ครั้งที่ 30
31. ครั้งที่ 31
32. ครั้งที่ 32
33. ครั้งที่ 33

พ.ศ. 2514
พ.ศ. 2516
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2520
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2524
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2528
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2533
พ.ศ. 2536

ประเทศญี่ปุน
ประเทศเคนยา
ประเทศเดนมารก
ประเทศแคนาดา
ประเทศอังกฤษ
ประเทศเซเนกัล
ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประเทศเยอรมนีตะวันตก
ประเทศออสเตรีย
ประเทศฝรั่งเศส
ประเทศไทย (เริ่มตนการประชุม 3 ปตอครั้ง)

2.2 คณะกรรมการลูกเสือโลก มีหนาที่โดยยอดังนี้
2.2.1 สงเสริมกิจการลูกเสือทั่วโลก
2.2.2 แตงตั้งเลขาธิการ และรองเลขาธิการของสํานักงานลูกเสือโลก
2.2.3 ควบคุมการปฏิบัติงานของสํานักงานลูกเสือโลก
2.2.4 เงินทุนสําหรับสงเสริมกิจการลูกเสือ
2.2.5 พิจารณาใหเครื่องหมายลูกเสือสดุดี Bronze Wolf ของคณะลูกเสือโลกแกผูที่ไดมีสวน
ชวยเหลือกิจการลูกเสืออยางดีเดน
คนไทย 5 คนที่ไดรับเครื่องหมายลูกเสือสดุดี บรอนซวูซฟ (Bronze Wolf)
ค.ศ. 1971
นายอภัย จันทวิมล
ค.ศ. 1976
นายจิตร ทังสุบุตร
ค.ศ. 1980
นายกอง วิสุทธารมณ
ค.ศ. 1984
นายเพทาย อมาตยกุล
ค.ศ. 1990
นายแพทยบุญสม มารติน
คนไทย 2 ทานที่เคยไดรับเลือกเปนกรรมการลูกเสือโลก คือ
นายอภัย จันทวิมล
(1965-1971)
นายแพทยบุญสม มารติน
(1981-1987)

พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน
แผนที่ 7

ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ

http://www.krukengscout.th.gs
ประวัติและกิจการลูกเสือโลก

2.3 สํานักงานลูกเสือโลก (World Scout Bureau)
1920 ตั้งขึ้นที่กรุงลอนดอน เรียกวา International Bureau
1958 ยายไปอยูที่กรุงออตตาวา ประเทศแคนาดา
1961 เปลี่ยนชื่อเปน World Bureau
ในการประชุมสมัชชาครั้งที่ 18 ที่กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส
1968 ยายไปอยูที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด
สํานักงานลูกเสือโลกมีเลขาธิการเปนผูบังคับบัญชา และมีเจาหนาที่ประมาณ 40 คน เปน
ผูชวย นอกจากนี้ยังมีสํานักงานสาขาอีก 5 เขต คือ
เขตอินเตอร-อเมริกา ตั้งอยูที่ ซานโฮเซ
ประเทศคอสตาริกา
เขตเอเชีย-แปซิฟก
ตั้งอยูที่ มะนิลา
ประเทศฟลิปปนส
เขตอาหรับ
ตั้งอยูที่ ไคโร
ประเทศอียิปต
เขตยุโรป
ตั้งอยูที่ เจนีวา
ประเทศสวิสเซอรแลนด
เขตแอฟริกา
ตั้งอยูที่ ไนโรบี
ประเทศเคนยา
สํานักงานลูกเสือโลกมีหนาที่โดยยอดังนี้
2.3.1 ดําเนินการตามมติของสมัชชาและคณะกรรมการลูกเสือโลก
2.3.2 ติดตอกับประเทศสมาชิกและองคการที่เกี่ยวของ
2.3.3 ประสานงาน
2.3.4 สงเสริมกิจการลูกเสือโดยทั่วไป
2.4 การชุมนุมลูกเสือโลก (World Jamboree)
คือ การจัดใหลูกเสือประเทศตางๆทั่วโลก ไปอยูคายพักแรม ณ สถานที่ที่กําหนดใหและให
ลูกเสือที่ไปรวมการชุมนุมไดมีโอกาสประกอบกิจกรรมตางๆตามที่กําหนดไว
การชุมนุมลูกเสือโลกครั้งแรกจัดขึ้นที่ ประเทศอังกฤษ ในป ค.ศ.1920 (พ.ศ.2463)
หลังจากนั้นโดยปกติมีการชุมนุมลูกเสือโลกทุกๆ 4 ป
ครั้งที่ 1
ป ค.ศ.1920 (2463)
Olympia, London
อังกฤษ
ครั้งที่ 2
ป ค.ศ.1924 (2467)
Ermelunedn, Copenhagen
เดนมารก
ครั้งที่ 3
ป ค.ศ.1929 (2472)
Arrowe Park
อังกฤษ
ฮังการี
ครั้งที่ 4
ป ค.ศ.1933 (2476)
Godollo
ครั้งที่ 5
ป ค.ศ.1937 (2480)
Vegelengzang
เนเธอรแลนด
พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน
แผนที่ 8

ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ

http://www.krukengscout.th.gs
ประวัติและกิจการลูกเสือโลก

ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 7
ครั้งที่ 8
ครั้งที่ 9
ครั้งที่ 10
ครั้งที่ 11
ครั้งที่ 12
ครั้งที่ 13
ครั้งที่ 14
ครั้งที่ 15
ครั้งที่ 16

ป ค.ศ.1947 (2490)
ป ค.ศ.1951 (2494)
ป ค.ศ.1955 (2498)
ป ค.ศ.1957 (2500)
ป ค.ศ.1959 (2502)
ป ค.ศ.1963 (2506)
ป ค.ศ.1967 (2511)
ป ค.ศ.1971 (2514)
ป ค.ศ.1975 (2518)
ป ค.ศ.1983 (2526)
ป ค.ศ.1988 (2531)

ครั้งที่ 17
ครั้งที่ 20

ป ค.ศ.1991 (2534)
ป ค.ศ.2003 (2546)

Moisson
Bad Ischl
Niagara-on-Lake
Sutton Coldfield
Makiling Park
Marathon
Farragut State Park
Asagiri Hights
Lillehammor
Calgary, Alberta
Cataract Scout Park,
New South Wales
Seoul
หาดยาว

ฝรั่งเศส
ออสเตรีย
แคนนาดา
อังกฤษ
ฟลิปปนส
กรีซ
สหรัฐอเมริกา
ญี่ปุน
นอรเวย
แคนาดา
ออสเตรเลีย
เกาหลี
ประเทศไทย

2.5 การประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย-แปซิฟก (Asia-Pacific Scout Conference)
เดิมเรียกวา Far East Scout Conference ประชุมครั้งแรกเมื่อป 1958 หลังจากนั้นมีการ
ประชุมทุก 2 ป ในปที่ไมมีการประชุมสมัชชาลูกเสือโลก ตอมาในป 1970 ไดมีการเปลี่ยนชื่อเปน AsiaPacific Scout Conference
เดิมกรรมการลูกเสือเขตเอเชีย-แปซิฟก มี 8 คน อยูในตําแหนงคราวละ 4 ป และเลือกกันเอง
เปนประธาน ทุกๆ 2 ป ที่มีการประชุมสมัชชาเขต กรรมการ 4 คน จะออกจากตําแหนงตามวาระและมีการ
เลือกตั้งกรรมการแทนผูที่ออกตามวาระหรือลาออก หรือถึงแกกรรม
คนไทยที่เคยเปนกรรมการลูกเสือเขตฯ ไดแก
นายแพทยแสง สุทธิพงศ
(1960-1964)
นายอภัย จันทวิมล
(1964-1968)
(ไดรับเลือกเปนประธานกรรมการฯ)
(1966-1968)
นายจิตร ทังสุบุตร
(1968-1972)
นายเพทาย อมาตยกุล
(1972-1976)
นายแพทยบุญสม มารติน
(1976-1980)
พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน
แผนที่ 9

ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ

http://www.krukengscout.th.gs
ประวัติและกิจการลูกเสือโลก

พลโทเยี่ยม อินทรกําแหง
(1980-1982)
นายสําอาง พวงบุตร
(1982-1986)
นายอาณัฐชัย รัตตกุล
(1986-1992)
ที่ประชุมสมัชชาลูกเสือเขตฯ เปนผูพิจารณากําหนดสถานที่ประชุมลวงหนาตามคําเชิญของ
ประเทศเจาของบาน
ครั้งที่ 1
ป ค.ศ.1958 (พ.ศ.2501) ประเทศฟลิปปนส
ครั้งที่ 2
ป ค.ศ.1960 (พ.ศ.2503) ประเทศพมา
ครั้งที่ 3
ป ค.ศ.1962 (พ.ศ.2505) ประเทศไทย
ครั้งที่ 4
ป ค.ศ.1964 (พ.ศ.2507) ประเทศมาเลเซีย
ครั้งที่ 5
ป ค.ศ.1966 (พ.ศ.2509) ประเทศจีนไตหวัน
ครั้งที่ 6
ป ค.ศ.1968 (พ.ศ.2511) ประเทศเกาหลีใต
ครั้งที่ 7
ป ค.ศ.1970 (พ.ศ.2513) ประเทศนิวซีแลนด
ครั้งที่ 8
ป ค.ศ.1972 (พ.ศ.2515) ประเทศฟลิปปนส
ครั้งที่ 9
ป ค.ศ.1974 (พ.ศ.2517) ประเทศสิงคโปร
ครั้งที่ 10
ป ค.ศ.1976 (พ.ศ.2519) ประเทศอิหราน
ครั้งที่ 11
ป ค.ศ.1978 (พ.ศ.2521) ประเทศฮองกง
ครั้งที่ 12
ป ค.ศ.1980 (พ.ศ.2523) ประเทศออสเตรเลีย
ครั้งที่ 13
ป ค.ศ.1982 (พ.ศ.2525) ประเทศอินโดนีเซีย
ครั้งที่ 14
ป ค.ศ.1984 (พ.ศ.2527) ประเทศนิวซีแลนด
ครั้งที่ 15
ป ค.ศ.1986 (พ.ศ.2529) ประเทศไทย
ครั้งที่ 16
ป ค.ศ.1989 (พ.ศ.2532) ประเทศจีนไตหวัน
ครั้งที่ 17
ป ค.ศ.1992 (พ.ศ. 2535) ประเทศอินโดนีเซีย
(เริ่มตนการประชุม 3 ปตอครั้ง)
เมื่อการประชุมกรรมการลูกเสือเอเชีย-แปซิฟก ครั้งที่ 12 ป 1980 (พ.ศ.2527) ที่ประเทศ
ออสเตรเลีย ไดมีมติใหเปลี่ยนแปลงจํานวนกรรมการลูกเสือเขตเปน 10 คน อยูในตําแหนงคราวละ 6 ป จะ
ออกในสมัยประชุมครั้งละ 5 คน และมีการเลือกกรรมการลูกเสือเขตใหมอีก 5 คน เขามาแทนที่ และที่
ประชุมไดมีมติใหเปลี่ยนแปลงวาระการประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย-แปซิฟก 2 ป ตอครั้ง เปน 3 ปตอครั้ง
เริ่มตั้งแตการประชุมครั้งที่ 16 ป 1989 (พ.ศ.2532) ที่ประเทศจีนไตหวัน

พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน
แผนที่ 10

ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ

http://www.krukengscout.th.gs
ประวัติและกิจการลูกเสือโลก

2.6 คาบํารุงประจําปจายใหสํานักงานลูกเสือ
คํานวณจากจํานวนลูกเสือและเจาหนาที่ลูกเสือในเครื่องแบบ ในอัตราคนละ 0.46 สวิสฟ
รังก (ประมาณ 8 บาท)
ในป พ.ศ.2526 ประเทศไทยจา ยเงิน ค าบํารุงประจํ าปใ ห สํานัก งานลู ก เสื อโลกเปน เงิ น
1,087,512.20 บาท (97,625 สวิสฟรังก)
ตามเอกสารของสํานักงานลูกเสือโลก เมื่อ 8 สิงหาคม 1975 (พ.ศ.2518) ไทยมีลูกเสือและ
เจาหนาที่ลูกเสือรวม 534,805 คน เปนอันดับ 5 ของโลก
แต ต ามรายงานการลู ก เสื อ ประจํ า ป 2518 เรามี ลู ก เสื อ ทั้ ง 4 ประเภท 887,550 คน
ผูบังคับบัญชา 53,145 คน รวม 940,695 คน
การจายเงินคาบํารุงประจําปใหสํานักงานลูกเสือโลก จึงเปนภาระที่หนักมาก

พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน
แผนที่ 11

ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ

http://www.krukengscout.th.gs

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

วิชาเข็มทิศ ลูกเสือกองที่ 1 หมู่ที่
วิชาเข็มทิศ   ลูกเสือกองที่ 1  หมู่ที่วิชาเข็มทิศ   ลูกเสือกองที่ 1  หมู่ที่
วิชาเข็มทิศ ลูกเสือกองที่ 1 หมู่ที่krunum2554
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธChattichai
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นRitthinarongron School
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)Iam Champooh
 
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)Kruthai Kidsdee
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม IsBoonwiset Seaho
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 

Was ist angesagt? (20)

วิชาเข็มทิศ ลูกเสือกองที่ 1 หมู่ที่
วิชาเข็มทิศ   ลูกเสือกองที่ 1  หมู่ที่วิชาเข็มทิศ   ลูกเสือกองที่ 1  หมู่ที่
วิชาเข็มทิศ ลูกเสือกองที่ 1 หมู่ที่
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 

Andere mochten auch

สาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือสาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือpreecha klamrassamee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10watdang
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
ลูกเสือ-เนตรนารี
ลูกเสือ-เนตรนารีลูกเสือ-เนตรนารี
ลูกเสือ-เนตรนารีJirapat Chomvilai
 
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]preecha klamrassamee
 
ประเทศสมาชิกอาเซียน
ประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศสมาชิกอาเซียน
ประเทศสมาชิกอาเซียนNew Nan
 
ตำ น า น รั ก... ข น ม ก บ ฎ
ตำ น า น รั ก...  ข น ม ก บ ฎตำ น า น รั ก...  ข น ม ก บ ฎ
ตำ น า น รั ก... ข น ม ก บ ฎNew Nan
 
มีคนถามว่า ทำไมผมถึงไม่ชอบ
มีคนถามว่า ทำไมผมถึงไม่ชอบมีคนถามว่า ทำไมผมถึงไม่ชอบ
มีคนถามว่า ทำไมผมถึงไม่ชอบNew Nan
 
สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือProud N. Boonrak
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1watdang
 
นครปอมเปอี
นครปอมเปอีนครปอมเปอี
นครปอมเปอีNew Nan
 
กบฏนักมวย
กบฏนักมวยกบฏนักมวย
กบฏนักมวยNew Nan
 
เปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงเปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงNew Nan
 
เงื่อนลูกเสือ
เงื่อนลูกเสือเงื่อนลูกเสือ
เงื่อนลูกเสือ23250945
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)ดอย บาน ลือ
 
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองหลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองwatdang
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56krupornpana55
 

Andere mochten auch (20)

สาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือสาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
ลูกเสือ-เนตรนารี
ลูกเสือ-เนตรนารีลูกเสือ-เนตรนารี
ลูกเสือ-เนตรนารี
 
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
ประเทศสมาชิกอาเซียน
ประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศสมาชิกอาเซียน
ประเทศสมาชิกอาเซียน
 
ตำ น า น รั ก... ข น ม ก บ ฎ
ตำ น า น รั ก...  ข น ม ก บ ฎตำ น า น รั ก...  ข น ม ก บ ฎ
ตำ น า น รั ก... ข น ม ก บ ฎ
 
มีคนถามว่า ทำไมผมถึงไม่ชอบ
มีคนถามว่า ทำไมผมถึงไม่ชอบมีคนถามว่า ทำไมผมถึงไม่ชอบ
มีคนถามว่า ทำไมผมถึงไม่ชอบ
 
สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือ
 
005 บทที่ 5 วิชาชาวค่าย
005 บทที่ 5 วิชาชาวค่าย005 บทที่ 5 วิชาชาวค่าย
005 บทที่ 5 วิชาชาวค่าย
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 
นครปอมเปอี
นครปอมเปอีนครปอมเปอี
นครปอมเปอี
 
กบฏนักมวย
กบฏนักมวยกบฏนักมวย
กบฏนักมวย
 
เปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริงเปิดพื้นที่จริง
เปิดพื้นที่จริง
 
เงื่อนลูกเสือ
เงื่อนลูกเสือเงื่อนลูกเสือ
เงื่อนลูกเสือ
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองหลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
 

Mehr von New Nan

ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1New Nan
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยNew Nan
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+finalNew Nan
 
ขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาNew Nan
 
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตNew Nan
 
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่New Nan
 
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นNew Nan
 
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน New Nan
 
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์New Nan
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7New Nan
 
ประเภทเถา
ประเภทเถาประเภทเถา
ประเภทเถาNew Nan
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้นNew Nan
 
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)New Nan
 
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ 10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ New Nan
 
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ New Nan
 
20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +New Nan
 
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !New Nan
 
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิพุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิNew Nan
 
เรื่องสั้นชวนคิด3
เรื่องสั้นชวนคิด3เรื่องสั้นชวนคิด3
เรื่องสั้นชวนคิด3New Nan
 
เรื่องสั้นชวนคิด2
เรื่องสั้นชวนคิด2เรื่องสั้นชวนคิด2
เรื่องสั้นชวนคิด2New Nan
 

Mehr von New Nan (20)

ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
ภูมิศาสตร์กายภาพ เล่ม 1
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทยภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
 
Korea+final
Korea+finalKorea+final
Korea+final
 
ขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยาขุนนางอยุธยา
ขุนนางอยุธยา
 
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคตญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
ญี่ปุ่น ฝ่าวิกฤตสู่อนาคต
 
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
ญี่ปุ่น การก่อตัวเป็นชาติใหม่
 
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่นโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
 
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
ไม่เป็นไร ใครๆ เขาก็ทำกัน
 
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
7 คำถามที่คุณต้องเจอในการสอบสัมภาษณ์
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
 
ประเภทเถา
ประเภทเถาประเภทเถา
ประเภทเถา
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้น
 
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
ท่าเด็ด 11 ลีลา (เหมาะสำหรับคู่รักมือใหม่จนถึงคู่รักระดับชิงแชมป์)
 
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ 10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
10 เรื่องบนเตียงที่ผู้ชายทำพลาดประจำ
 
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้ คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
คู่มือล้างพิษตับและลำไส้
 
20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +20 คำที่ทำไม่ได้ +
20 คำที่ทำไม่ได้ +
 
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !9 อาหารกินแล้วฉลาด !
9 อาหารกินแล้วฉลาด !
 
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิพุทธวจนฉบับภพภูมิ
พุทธวจนฉบับภพภูมิ
 
เรื่องสั้นชวนคิด3
เรื่องสั้นชวนคิด3เรื่องสั้นชวนคิด3
เรื่องสั้นชวนคิด3
 
เรื่องสั้นชวนคิด2
เรื่องสั้นชวนคิด2เรื่องสั้นชวนคิด2
เรื่องสั้นชวนคิด2
 

ประวัติลูกเสือโลก

  • 1. ประวัติและกิจการลูกเสือโลก ประวัติและกิจการขององคการลูกเสือโลก 1. กําเนิดของการลูกเสือและการขยายตัวของกิจการลูกเสือ Robert Stephenson Smyth Baden-Powell เปนชื่อเต็มของ บี-พี (B.P.) ผูใหกําเนิดลูกเสือโลก บิดาชื่อเอชจี เบเดนโพเอล เปนนักวิทยาศาสตรสนใจในธรรมชาติศึกษามาก โดยเปนศาสตราจารย ในมหาวิทยาลัย Oxford ครอบครัวมิสูจะร่ํารวย บิดาตายเมื่อ B.P. อายุได 3 ขวบ B.P. ถนัดในการวาดเขียน สามารถใชมือ ซายขวาไดถนัดทั้งสองมือเทาๆกัน เพื่อจะทําใหเพื่อนสนุกสนาน ขบขัน เขามักทําเสียงนกหรือเสียงสัตวรอง ใหเพื่อนๆฟง ชีวิตในวัยเรียน B.P. มิไดเปนนักเรียนหรือนักกีฬาที่ดีเดนนัก แตเมื่อเขารวมในกิจกรรมตางๆของโรงเรียนแลวเขาจะ ทําอยางเอาจริงเอาจัง เขาเปนคนรางเล็ก แตรางกายแข็งแรง สุขภาพดี ใกลโรงเรียนมีปาอยูแหงหนึ่ง นักเรียนถูกหามมิใหเขาไปเที่ยวเลนในปานี้ แตก็ยั่วยวนใจนักเรียนที่ ชอบผจญภัย ใหเขาไปเที่ยวเลนมาก B.P. แอบหนีไปเที่ยวในปานี้บอยๆ และเขาจะจับกระตายมาทําเปน อาหาร โดยใชไฟมิใหเกิดควันเพื่อปดครูมิใหรู B.P. เรียนการใชมีด ขวาน และวิธีการเคลื่อนไหวในปาโดยมิใหมีเสียง สัตวปาเปนที่ดึงดูดใจของ B.P.มาก เขามักซุมตัวอยูนานๆเพื่อศึกษาธรรมชาติของสัตวเหลานั้น เมื่ออายุ 19 ป B.P. ยังไมแนใจวาเขาตองการเปนอะไรดี เขาชอบเดินทางไปตางประเทศ แตมารดา ของเขาอยากใหไปเรียนที่มหาวิทยาลัย Oxford เชนเดียวกับพี่ชาย แตเมื่อจบโรงเรียนมัธยมแลวเขากลับไป สอบเขาเปนนักเรียนโรงเรียนนายรอยในกองทัพบก เพราะเห็นประกาศติดไวตามขางถนน เขาสอบไลไดดีมาก จนเปนที่แปลกใจของตัวเขาเองและคนอื่นที่รูจักเขา เขาไดรับการยกเวนมิตอง เขารับการฝกอบรมตามขั้นตอนธรรมดาของนักเรียนนายรอยทหารบกที่ Sand Hurst และไดรับการบรรจุเขา เปนนายทหารในกองรอยที่ 13 ในประเทศอินเดีย ในป ค.ศ.1876 เขาลงเรือเดินทางไปอินเดีย ปฏิบัติหนาที่อยางขยันขันแข็ง ในป ค.ศ.1884 ไดรับคําสั่งใหกลับอังกฤษ B.P. รูสึกวาชีวิตในกรมทหารนาเบื่อหนาย ในป ค.ศ.1887 ลุงของ B.P. ไดรับคําสั่งจากกองทัพบกใหไปประจําที่ Cape Town ในแอฟริกาใตซึ่ง ไดนํา B.P. ไปเปนนายทหารคนสนิท พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน แผนที่ 1 ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ http://www.krukengscout.th.gs
  • 2. ประวัติและกิจการลูกเสือโลก ความยุงยากไดเกิดขึ้นกับพวก Zulu B.P. ไดเขารวมกับกองกําลังทหารอังกฤษลอมจับหัวหนาเผา Zulu ซึ่ง Dinizulu ไดมอบสายคลองคอลูกปด (Necklace) ใหแก B.P. หลายปตอมา B.P.จึงไดมอบสรอยนี้ ใหแก Gilwell Park ซึ่งเปนเครื่องหมายวูดแบดจ ตอมาจนถึงปจจุบัน ป 1895 B.P. ได รั บ มอบหมายให เ ดิ น ทางไปยั ง Ashanti ในแอฟริ ก าตะวั น ตกเพื่ อ ปราบ King Prempeh ในการเดินทางไปยัง Ashanti ครั้งนีไดมีสิ่งเกี่ยวของกับกิจการลูกเสือ อยู 3 ประการ กลาวคือ 1.หมวกปก ในเมือง Ashanti B.P.ไดสวมหมวกป หรือหมวกคาวบอยเปนครั้งแรก และไดสวมเปน ประจําอยูตลอดมา เพราะเหตุน้ีชาวเมืองจึงเรียก B.P.วา Kantankye คนสวมหมวกใหญหรือคน หมวกปกกวาง 2.ไมพลอง B.P.สังเกตเห็นวาหัวหนาวิศวกรที่ควบคุมการทําถนนและสรางที่พักจากฝงแอฟริกา ตะวันตกไปยังเมืองหลวงของ Ashanti นั้น มักถือไมพลองยาว มีเครื่องหมายแบงเปนฟุตและนิ้ว B.P.อธิบายวาไมพลองมีประโยชนมาก ใชเปนถอค้ํายันเวลาขามทองรอง ใชวัดความลึกของบึงน้ํา ได ใชเปนเครื่องวัดสวนสูงได 3.การจับมือซาย B.P.ไดรับความรูดวยวาการจับมือซายนั้นชาวเมือง Ashanti ถือวาเปนเครื่องหมาย แหงความเปนมิตร B.P. กลับอังกฤษพรอมดวยชื่อเสียงดียิ่งขึ้น และไดเลื่อนยศทางทหารดวย ป 1897 เขาไดเดินทางไป อินเดียอีก ป ค.ศ.1899 B.P. ไดรับอนุญาตใหลาพักและเดินทางกลับอังกฤษ เมื่อไปถึงอังกฤษเขามีหนังสือเลม หนึ่งชื่อ Aids to Scouting “สิ่งสนับสนุนกิจการสอดแนม” ซึ่งเขาไดเขียนขณะที่พักผอนในแควน Kashmir หนังสือเลมนี้วาดวยวิธีการสอดแนมสําหรับทหาร B.P.ตั้งใจจะใหหนังสือเลมนี้เปนคูมือของทหาร อาจใชได ทุกเหลา แตหนังสือนี้กลับเปนที่สนใจของเยาวชนวัยรุนดวย B.P. อยูที่อังกฤษไดไมนานนัก สงครามไดเกิดขึ้นในแอฟริกาใตระหวางอังกฤษกับพวก Boers (Boers คือ พวก Dutch ที่ไดอพยพไปตั้งถิ่นฐานอยูในแอฟริกาใต) B.P. ไดรับคําสั่งใหเดินทางไปแอฟริกาใตใหจัดตั้งกองทหารขึ้น เพื่อปองกันดินแดนดานเหนือและ ดานตะวันออกเฉียงเหนือ สงครามเมือง Mafeking ป ค.ศ.1899 มีการประกาศสงครามระหวางอังกฤษกับพวก Boers ของฮอลันดา Boers มีทหาร 9,000 คน เดินทัพเขาบุกเมือง Mafeking เพราะคิดวาอยูในที่ราบอาจบุกไดงาย และไม มีการปองกันที่เขมแข็ง พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน แผนที่ 2 ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ http://www.krukengscout.th.gs
  • 3. ประวัติและกิจการลูกเสือโลก B.P. มีทหารประมาณ 1,000 คน ไมมีประสบการณในการทําสงครามมากอน มีพลเมืองในMafeking ประมาณ 8,000 คน แตพลเมืองไมรวมมือในการทําสงครามดวยปนใหญ กระสุนก็ลาสมัย ฝาย Boers มีอาวุธ ที่ทันสมัย ทําไมเมือง Mafeking จึงปะทะขาศึกไดถึง 7 เดือน B.P. เปนผูรอบรู มีใจราเริง ไมยอทอตอความยากลําบาก พวก Boers ไมรูวา B.P. คิดจะทําอะไรตอไป พวก Boers ตองคาดคะเนอยูตลอดเวลา B.P. ไมไดนั่งอยูเฉยๆ B.P.รูวาการปองกันที่ดีคือการรุก B.P.รูดวยวา ถาใหทุกคนมีงานทํา ขวัญของ เขาจะดี เมื่อผจญขาศึก แผนการยุทธบางอยางของ B.P. เปนแผนหลอกลวง เชน ฝงทุนระเบิดหลอกรอบเมือง Mafeking ประดิษฐไฟฉายเคลื่อนที่ดวยแกส Acetylene ทําใหพวก Boers คิดวาในเมือง Mafeking มีไฟฉายรอบเมือง ทําลวดหนามปลอมลอมเมือง โดยใหทหารทําทาเดินขามโดยกาวสูงๆหลอกๆ พวก Boers นึกวามีลวดหนาม รอบเมือง Mafeking ทุกคืน B.P. ออกจากเขตเมืองเพื่อดูวาปนขาศึกอยูที่ไหน พวก Boers เคลื่อนเขามาใกลเมืองหรือไม B.P.ไมไดนอนตอนกลางคืน แตเขานอนตอนกลางวันแทน วันคืนผานไป สถานการณภายในเมืองคับขันมากขึ้น อาหารเริ่มขาดแคลนมากขึ้นทุกวัน มาลาถูกฆา กินเปนอาหารไปมาก แนวรบขยายกวางออกไป ทหารตายมากขึ้น พลรบลดจํานวนนอยลง หนวยสอดแนมของเมือง Mafeking คณะเสนาธิการของ B.P. คิดจะใชเด็กหนุมชาวเมืองใหเปนผูสื่อขาว ทําหนาที่บุรุษพยาบาล จึงหา เครื่องแบบสีกากี และหมวกปกกวาง (หมวกคาวบอย) พับปกใหเขาและมอบใหเด็กหนุมคนหนึ่งชื่อ Good Year เปนผูนํา ตอนแรกเด็กหนุมเหลานี้ใชลาเปนพาหนะ แตตอมาลาถูกฆากินเปนอาหารหมด เด็กหนุมจึงไดใช จักรยานแทน สมรรถภาพ ความกลาหาญ จิตใจที่ราเริงของเด็กหนุมเหลานี้ประทับใจ B.P.มาก วันหนึ่งเมื่อเด็กหนุมคนหนึ่งขับขี่จักรยานฝากระสุนขาศึก ซึ่งกําลังยิงตอสูกัน เขามาหา B.P. B.P. พูดกับเด็กคนนั้นวา ถาเธอขี่จักรยานเชนนี้ในขณะที่มีการยิงตอสูกัน เธอจะถูกยิงตายสักวันหนึ่ง เด็กหนุม ตอบวา “ผมถีบรถเร็วมากครับ เขาคงยิงผมไมถูก” ในที่สุดขาวที่วากองทัพทหารอังกฤษมาชวยก็มาถึง เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 1900 กองทหารชวยก็ มาถึง เมื อง Mafeking ได ยื น หยั ด ต อ สูพ วก Boers ถึ ง 217 วั น ขา วนี้ ไ ดแ พร ไ ปถึ ง เมื อ งลอนดอน ชาว อังกฤษดีใจมาก B.P.ไดกลายเปนวีรบุรุษไปโดยฉับพลัน พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน แผนที่ 3 ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ http://www.krukengscout.th.gs
  • 4. ประวัติและกิจการลูกเสือโลก การลูกเสือสําหรับเด็กชาย (Scouting for Boys) B.P. กลับถึงอังกฤษ เขาแปลกใจที่ไดเห็นหนังสือคูมือทหาร Aids to Scouting มาใชฝกอบรม เด็กชายในโรงเรียน และในสโมสรเยาวชนตางๆ เพื่อนๆไดแนะนําให B.P.เขียนหนังสือนี้เสียใหม เพื่อใชอบรมเยาวชน B.P.จึงนําเด็กจํานวน 20 คน ซึ่งเปนบุตรของเพื่อนบาง และเปนเด็กจากสโมสรเยาวชนบางนําเด็กเหลานี้ไปอยูคายที่เกาะ Brown Sea Island ในอาว Poole ในปลายเดือนกรกฎาคม 1907 ถึงตนเดือนสิงหาคม 1907 (31 ก.ค.-9ส.ค.) B.P.แบงเด็ก 20 คน เปน 4หมู เรียกชื่อวา Wolves, Curlew, Bulls และ Ravans นี่เปนกองลูกเสือ สามัญกองแรกที่เกิดขึ้น ภายหลังการนําเด็กหนุมไปอยูคายที่เกาะ Brown Sea แลว B.P.ไดเขียนหนังสือ Scouting for Boys จนแลวเสร็จ ไดพิมพเปน 6 ตอน พิมพออกจําหนายหางกันทุก 2 สัปดาห ราคาเลมละ 4 เพนนี เลมแรก ออกจําหนายในเดือนมกราคม 1908 จําหนายไดดีมาก เยาวชนอานกันมาก แลวรวมกันตั้งเปนหมูขึ้น แลวไป ชักชวนผูใหญที่เขาเห็นวาเหมาะสมที่จะเปนผูนําเขาได มาเปนผูนําหรือผูกํากับ กิจการลูกเสือไดกระจายและมีจํานวนทวีมากขึ้นอยางรวดเร็ว กิจการลูกเสือขยายไป นอกจากอังกฤษ และประเทศในเครือจักรภพ Chile เปนประเทศแรกที่รับเอากิจการลูกเสือใน ค.ศ. 1909 ป ค.ศ.1910 – อเมริกา โดย Mr.William D. Boyce นักหนังสือพิมพชาวอเมริกัน ป ค.ศ.1911 – ไทย คริสตาลพาเลซ Crystal Palace ป 1909 ลูกเสือในราชอาณาจักรมาชุมนุม (Rally) กันเปนครั้งแรกจํานวนนับหมื่นคน B.P. ไปรวมชุมนุมดวย เด็กหญิงกลุมหนึ่งสวมหมวกลูกเสือเชนเด็กชาย เด็กหญิงเหลานั้นอธิบายตอ B.P.วาเขาตองการเปนลูกเสือเชนพี่ชายของเขา ป ค.ศ.1916 ไดจัดตั้งลูกเสือสํารองขึ้น Cub Scouts ป ค.ศ.1918 ไดจัดตั้งลูกเสือวิสามัญ Rover Scouts กิจการเนตรนารี (Girl Guide) กิจการเนตรนารี (Girl Guide) จึงไดเกิดขึ้นในปนี้ (1916) พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน แผนที่ 4 ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ http://www.krukengscout.th.gs
  • 5. ประวัติและกิจการลูกเสือโลก First Jamboree ป ค.ศ.1914-1918 เปนประหวางสงครามโลก ครั้งที่ 1 ป ค.ศ.1920 ไดมีการชุมนุม (Jamboree) ครั้งแรกที่ Olympia กรุงลอนดอน ประเทศ อังกฤษ มีลูกเสือมาชุมนุม 30,000 คน จาก 21 ประเทศ ในการชุมนุมครั้งนี้ B.P.ไดรับการประกาศแตงตั้งจากคณะลูกเสือที่ไปชุมนุมใหเปนประมุขลูกเสือ โลก Chief Scout of the World คณะผูกํากับลูกเสือมีมติวา จะมีการประชุมกันทุก 2 ป และจัดตั้งสํานักงานขึ้นเรียกวา International Bureau B.P. ถึงแกอนิจกรรมที่ประเทศเคนยา ค.ศ.1940 ในทวีปแอฟริกา หลุมฝงศพอยูที่เมืองไนเยอรี ประเทศเคนยา และไดเขียนสาสนฉบับสุดทายถึงลูกเสือ ดังมีขอความสําคัญ ดังนี้ 1.จงทําตนเองใหมีอนามัยและแข็งแรงในขณะที่เปนเด็ก 2.จงมีความพอใจในสิ่งที่เธอมีอยู และทําสิ่งนั้นใหดีที่สุด 3.จงมองเรื่องราวตางๆในแงดี แทนที่จะมองในแงราย 4.ทางอันแทจริงที่จะหาความสุข คือ โดยการใหความสุขแกผูอื่น 5.จงพยายามปลอยอะไรทิ้งไวในโลกนี้ใหดีกวาที่เธอไดพบ 6.จงยึดมั่นในคําปฏิญาณของลูกเสือของเธอไวเสมอ 2. กิจการองคการลูกเสือโลก การลูกเสือโลกเปนขบวนการทางการศึกษาสําหรับเยาวชน มีวัตถุประสงคที่จะสรางบุคลิกภาพและ พัฒนาการทางดานสังคม เปนองคการอาสาสมัคร ไมเกี่ยวของกับการเมือง เปดโอกาสสําหรับคนทั่วไป โดย ขึ้นอยูบนพื้นฐานดังนี้ ปฏิบัติตามหลักการสําคัญของการลูกเสือที่ไดกําหนดขึ้นโดยผูใหกําเนิดลูกเสือโลก และยึดมั่นตาม คําสอนของศาสนาที่ตนเคารพนับถือ มีความจงรักภักดีตอชาติบานเมือง ชวยสรางเสริมสันติภาพความเขาใจอันดีและใหความรวมมือ มี ความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง เขารวมในการพัฒนาสังคมดวยการยกยองและเคารพในเกียรติของ บุคคลอื่นๆ และเพื่อความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทั่วโลก เปนวิธีการพัฒนาเยาวชนใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบบนพื้นฐานคําปฏิญาณตามกฎของ ลูกเสือ เรียนรูโดยการกระทําวิธีการระบบหมู พัฒนาความกาวหนาของบุคคลโดยใชหลักสูตรและวิชาพิเศษ ลูกเสือ และกิจกรรมกลางแจง พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน แผนที่ 5 ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ http://www.krukengscout.th.gs
  • 6. ประวัติและกิจการลูกเสือโลก องคการลูกเสือโลก คือ องคการนานานชาติ ที่มิใชองคการของรัฐบาลใด มีองคประกอบที่สําคัญ 3 ประการ คือ สมัชชาลูกเสือโลก, คณะกรรมการลูกเสือโลก และสํานักงานลูกเสือโลก 2.1 สมัชชาลูกเสือโลก (World Scout Conference) สมัชชาลูกเสือโลก คือที่ประชุมของผูแทนคณะลูกเสือประเทศตางๆทั่วโลก เริ่มมีการ ประชุมกันเปนครั้งแรกเมื่อป 1920 (พ.ศ.2463) และหลังจากนั้น ปกติมีการประชุมทุกๆ 2 ป ตั้งแตครั้งที่ 1 ถึง ครั้งที่ 32 และจะเปลี่ยนเปนการประชุมทุกระยะ 3 ป โดยเริ่มตั้งแตครั้งที่ 33 เปนตนไป ซึ่งจัดขึ้น ณ ประเทศ ไทย ในป พ.ศ.2536 ประเทศตางๆที่ไดจัดประชุมสมัชชาลูกเสือโลกแลว มีดังนี้ 1. ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2463 ประเทศอังกฤษ 2. ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2465 ประเทศฝรั่งเศส 3. ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2467 ประเทศเดนมารก 4. ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2469 ประเทศสวิตเซอรแลนด 5. ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2472 ประเทศอังกฤษ 6. ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2474 ประเทศออสเตรีย 7. ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2476 ประเทศฮังการี 8. ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2478 ประเทศสวีเดน 9. ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2480 ประเทศเนเธอรแลนด 10. ครั้งที่ 10 พ.ศ. 2482 ประเทศสกอตแลนด 11. ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2490 ประเทศฝรั่งเศส 12. ครั้งที่ 12 พ.ศ. 2492 ประเทศนอรเวย 13. ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2494 ประเทศออสเตรีย 14. ครั้งที่ 14 พ.ศ. 2496 ประเทศลิกเตนสไตน 15. ครั้งที่ 15 พ.ศ. 2498 ประเทศแคนาดา 16. ครั้งที่ 16 พ.ศ. 2500 ประเทศอังกฤษ 17. ครั้งที่ 17 พ.ศ. 2502 ประเทศอินเดีย 18. ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2504 ประเทศโปรตุเกส 19. ครั้งที่ 19 พ.ศ. 2506 ประเทศกรีซ 20. ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2508 ประเทศเม็กซิโก 21. ครั้งที่ 21 พ.ศ. 2510 ประเทศสหรัฐอเมริกา 22. ครั้งที่ 22 พ.ศ. 2512 ประเทศฟนแลนด พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน แผนที่ 6 ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ http://www.krukengscout.th.gs
  • 7. ประวัติและกิจการลูกเสือโลก 23. ครั้งที่ 23 24. ครั้งที่ 24 25. ครั้งที่ 25 26. ครั้งที่ 26 27. ครั้งที่ 27 28. ครั้งที่ 28 29. ครั้งที่ 29 30. ครั้งที่ 30 31. ครั้งที่ 31 32. ครั้งที่ 32 33. ครั้งที่ 33 พ.ศ. 2514 พ.ศ. 2516 พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2524 พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2528 พ.ศ. 2531 พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2536 ประเทศญี่ปุน ประเทศเคนยา ประเทศเดนมารก ประเทศแคนาดา ประเทศอังกฤษ ประเทศเซเนกัล ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศเยอรมนีตะวันตก ประเทศออสเตรีย ประเทศฝรั่งเศส ประเทศไทย (เริ่มตนการประชุม 3 ปตอครั้ง) 2.2 คณะกรรมการลูกเสือโลก มีหนาที่โดยยอดังนี้ 2.2.1 สงเสริมกิจการลูกเสือทั่วโลก 2.2.2 แตงตั้งเลขาธิการ และรองเลขาธิการของสํานักงานลูกเสือโลก 2.2.3 ควบคุมการปฏิบัติงานของสํานักงานลูกเสือโลก 2.2.4 เงินทุนสําหรับสงเสริมกิจการลูกเสือ 2.2.5 พิจารณาใหเครื่องหมายลูกเสือสดุดี Bronze Wolf ของคณะลูกเสือโลกแกผูที่ไดมีสวน ชวยเหลือกิจการลูกเสืออยางดีเดน คนไทย 5 คนที่ไดรับเครื่องหมายลูกเสือสดุดี บรอนซวูซฟ (Bronze Wolf) ค.ศ. 1971 นายอภัย จันทวิมล ค.ศ. 1976 นายจิตร ทังสุบุตร ค.ศ. 1980 นายกอง วิสุทธารมณ ค.ศ. 1984 นายเพทาย อมาตยกุล ค.ศ. 1990 นายแพทยบุญสม มารติน คนไทย 2 ทานที่เคยไดรับเลือกเปนกรรมการลูกเสือโลก คือ นายอภัย จันทวิมล (1965-1971) นายแพทยบุญสม มารติน (1981-1987) พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน แผนที่ 7 ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ http://www.krukengscout.th.gs
  • 8. ประวัติและกิจการลูกเสือโลก 2.3 สํานักงานลูกเสือโลก (World Scout Bureau) 1920 ตั้งขึ้นที่กรุงลอนดอน เรียกวา International Bureau 1958 ยายไปอยูที่กรุงออตตาวา ประเทศแคนาดา 1961 เปลี่ยนชื่อเปน World Bureau ในการประชุมสมัชชาครั้งที่ 18 ที่กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส 1968 ยายไปอยูที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด สํานักงานลูกเสือโลกมีเลขาธิการเปนผูบังคับบัญชา และมีเจาหนาที่ประมาณ 40 คน เปน ผูชวย นอกจากนี้ยังมีสํานักงานสาขาอีก 5 เขต คือ เขตอินเตอร-อเมริกา ตั้งอยูที่ ซานโฮเซ ประเทศคอสตาริกา เขตเอเชีย-แปซิฟก ตั้งอยูที่ มะนิลา ประเทศฟลิปปนส เขตอาหรับ ตั้งอยูที่ ไคโร ประเทศอียิปต เขตยุโรป ตั้งอยูที่ เจนีวา ประเทศสวิสเซอรแลนด เขตแอฟริกา ตั้งอยูที่ ไนโรบี ประเทศเคนยา สํานักงานลูกเสือโลกมีหนาที่โดยยอดังนี้ 2.3.1 ดําเนินการตามมติของสมัชชาและคณะกรรมการลูกเสือโลก 2.3.2 ติดตอกับประเทศสมาชิกและองคการที่เกี่ยวของ 2.3.3 ประสานงาน 2.3.4 สงเสริมกิจการลูกเสือโดยทั่วไป 2.4 การชุมนุมลูกเสือโลก (World Jamboree) คือ การจัดใหลูกเสือประเทศตางๆทั่วโลก ไปอยูคายพักแรม ณ สถานที่ที่กําหนดใหและให ลูกเสือที่ไปรวมการชุมนุมไดมีโอกาสประกอบกิจกรรมตางๆตามที่กําหนดไว การชุมนุมลูกเสือโลกครั้งแรกจัดขึ้นที่ ประเทศอังกฤษ ในป ค.ศ.1920 (พ.ศ.2463) หลังจากนั้นโดยปกติมีการชุมนุมลูกเสือโลกทุกๆ 4 ป ครั้งที่ 1 ป ค.ศ.1920 (2463) Olympia, London อังกฤษ ครั้งที่ 2 ป ค.ศ.1924 (2467) Ermelunedn, Copenhagen เดนมารก ครั้งที่ 3 ป ค.ศ.1929 (2472) Arrowe Park อังกฤษ ฮังการี ครั้งที่ 4 ป ค.ศ.1933 (2476) Godollo ครั้งที่ 5 ป ค.ศ.1937 (2480) Vegelengzang เนเธอรแลนด พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน แผนที่ 8 ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ http://www.krukengscout.th.gs
  • 9. ประวัติและกิจการลูกเสือโลก ครั้งที่ 6 ครั้งที่ 7 ครั้งที่ 8 ครั้งที่ 9 ครั้งที่ 10 ครั้งที่ 11 ครั้งที่ 12 ครั้งที่ 13 ครั้งที่ 14 ครั้งที่ 15 ครั้งที่ 16 ป ค.ศ.1947 (2490) ป ค.ศ.1951 (2494) ป ค.ศ.1955 (2498) ป ค.ศ.1957 (2500) ป ค.ศ.1959 (2502) ป ค.ศ.1963 (2506) ป ค.ศ.1967 (2511) ป ค.ศ.1971 (2514) ป ค.ศ.1975 (2518) ป ค.ศ.1983 (2526) ป ค.ศ.1988 (2531) ครั้งที่ 17 ครั้งที่ 20 ป ค.ศ.1991 (2534) ป ค.ศ.2003 (2546) Moisson Bad Ischl Niagara-on-Lake Sutton Coldfield Makiling Park Marathon Farragut State Park Asagiri Hights Lillehammor Calgary, Alberta Cataract Scout Park, New South Wales Seoul หาดยาว ฝรั่งเศส ออสเตรีย แคนนาดา อังกฤษ ฟลิปปนส กรีซ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน นอรเวย แคนาดา ออสเตรเลีย เกาหลี ประเทศไทย 2.5 การประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย-แปซิฟก (Asia-Pacific Scout Conference) เดิมเรียกวา Far East Scout Conference ประชุมครั้งแรกเมื่อป 1958 หลังจากนั้นมีการ ประชุมทุก 2 ป ในปที่ไมมีการประชุมสมัชชาลูกเสือโลก ตอมาในป 1970 ไดมีการเปลี่ยนชื่อเปน AsiaPacific Scout Conference เดิมกรรมการลูกเสือเขตเอเชีย-แปซิฟก มี 8 คน อยูในตําแหนงคราวละ 4 ป และเลือกกันเอง เปนประธาน ทุกๆ 2 ป ที่มีการประชุมสมัชชาเขต กรรมการ 4 คน จะออกจากตําแหนงตามวาระและมีการ เลือกตั้งกรรมการแทนผูที่ออกตามวาระหรือลาออก หรือถึงแกกรรม คนไทยที่เคยเปนกรรมการลูกเสือเขตฯ ไดแก นายแพทยแสง สุทธิพงศ (1960-1964) นายอภัย จันทวิมล (1964-1968) (ไดรับเลือกเปนประธานกรรมการฯ) (1966-1968) นายจิตร ทังสุบุตร (1968-1972) นายเพทาย อมาตยกุล (1972-1976) นายแพทยบุญสม มารติน (1976-1980) พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน แผนที่ 9 ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ http://www.krukengscout.th.gs
  • 10. ประวัติและกิจการลูกเสือโลก พลโทเยี่ยม อินทรกําแหง (1980-1982) นายสําอาง พวงบุตร (1982-1986) นายอาณัฐชัย รัตตกุล (1986-1992) ที่ประชุมสมัชชาลูกเสือเขตฯ เปนผูพิจารณากําหนดสถานที่ประชุมลวงหนาตามคําเชิญของ ประเทศเจาของบาน ครั้งที่ 1 ป ค.ศ.1958 (พ.ศ.2501) ประเทศฟลิปปนส ครั้งที่ 2 ป ค.ศ.1960 (พ.ศ.2503) ประเทศพมา ครั้งที่ 3 ป ค.ศ.1962 (พ.ศ.2505) ประเทศไทย ครั้งที่ 4 ป ค.ศ.1964 (พ.ศ.2507) ประเทศมาเลเซีย ครั้งที่ 5 ป ค.ศ.1966 (พ.ศ.2509) ประเทศจีนไตหวัน ครั้งที่ 6 ป ค.ศ.1968 (พ.ศ.2511) ประเทศเกาหลีใต ครั้งที่ 7 ป ค.ศ.1970 (พ.ศ.2513) ประเทศนิวซีแลนด ครั้งที่ 8 ป ค.ศ.1972 (พ.ศ.2515) ประเทศฟลิปปนส ครั้งที่ 9 ป ค.ศ.1974 (พ.ศ.2517) ประเทศสิงคโปร ครั้งที่ 10 ป ค.ศ.1976 (พ.ศ.2519) ประเทศอิหราน ครั้งที่ 11 ป ค.ศ.1978 (พ.ศ.2521) ประเทศฮองกง ครั้งที่ 12 ป ค.ศ.1980 (พ.ศ.2523) ประเทศออสเตรเลีย ครั้งที่ 13 ป ค.ศ.1982 (พ.ศ.2525) ประเทศอินโดนีเซีย ครั้งที่ 14 ป ค.ศ.1984 (พ.ศ.2527) ประเทศนิวซีแลนด ครั้งที่ 15 ป ค.ศ.1986 (พ.ศ.2529) ประเทศไทย ครั้งที่ 16 ป ค.ศ.1989 (พ.ศ.2532) ประเทศจีนไตหวัน ครั้งที่ 17 ป ค.ศ.1992 (พ.ศ. 2535) ประเทศอินโดนีเซีย (เริ่มตนการประชุม 3 ปตอครั้ง) เมื่อการประชุมกรรมการลูกเสือเอเชีย-แปซิฟก ครั้งที่ 12 ป 1980 (พ.ศ.2527) ที่ประเทศ ออสเตรเลีย ไดมีมติใหเปลี่ยนแปลงจํานวนกรรมการลูกเสือเขตเปน 10 คน อยูในตําแหนงคราวละ 6 ป จะ ออกในสมัยประชุมครั้งละ 5 คน และมีการเลือกกรรมการลูกเสือเขตใหมอีก 5 คน เขามาแทนที่ และที่ ประชุมไดมีมติใหเปลี่ยนแปลงวาระการประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย-แปซิฟก 2 ป ตอครั้ง เปน 3 ปตอครั้ง เริ่มตั้งแตการประชุมครั้งที่ 16 ป 1989 (พ.ศ.2532) ที่ประเทศจีนไตหวัน พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน แผนที่ 10 ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ http://www.krukengscout.th.gs
  • 11. ประวัติและกิจการลูกเสือโลก 2.6 คาบํารุงประจําปจายใหสํานักงานลูกเสือ คํานวณจากจํานวนลูกเสือและเจาหนาที่ลูกเสือในเครื่องแบบ ในอัตราคนละ 0.46 สวิสฟ รังก (ประมาณ 8 บาท) ในป พ.ศ.2526 ประเทศไทยจา ยเงิน ค าบํารุงประจํ าปใ ห สํานัก งานลู ก เสื อโลกเปน เงิ น 1,087,512.20 บาท (97,625 สวิสฟรังก) ตามเอกสารของสํานักงานลูกเสือโลก เมื่อ 8 สิงหาคม 1975 (พ.ศ.2518) ไทยมีลูกเสือและ เจาหนาที่ลูกเสือรวม 534,805 คน เปนอันดับ 5 ของโลก แต ต ามรายงานการลู ก เสื อ ประจํ า ป 2518 เรามี ลู ก เสื อ ทั้ ง 4 ประเภท 887,550 คน ผูบังคับบัญชา 53,145 คน รวม 940,695 คน การจายเงินคาบํารุงประจําปใหสํานักงานลูกเสือโลก จึงเปนภาระที่หนักมาก พิมพโดย…อ.สุนทร สารสิน แผนที่ 11 ผูชวยผูตรวจการลูกเสือ http://www.krukengscout.th.gs