SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร

• ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปัจจุบันเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สารมีบทบาทต่ อชี วิ ต
ประจาวันเป็ นอย่ างมาก เช่ น มีการใช้ คอมพิวเตอร์ ในการทางาน ใช้ อนเตอร์ เน็ตเพือสืบค้นข้ อมูล หรือรับ – ส่ งข้ อมูล
                                                                  ิ             ่
ระหว่างกัน ตลอดจนใช้ โทรศัพท์ เคลือนที่ (Mobile Phone) หรือโทรศัพท์ มือถือในการติดต่ อสื่อสารองค์กรทั้ง
                                      ่
ภาครัฐ แ ล ะ เ อ ก ช น ไ ด้ นาเ ท ค โ น โ ล ยีสารสนเทศ และการสื่อสารเข้ ามาใช้ งานในทุกระดับชั้นขององค์กร เช่ น งาน
ด้ านบริหาร การจัดการ และการปฏิบัตการ รัฐบาลได้ เห็นความสาคัญของระบบเทคโนโลยีทางด้ านคอมพิวเตอร์ และ
                                        ิ
ระบบสื่อสาร จึงประกาศให้ ปี พ.ศ. 2538 เป็ นชีวตความเป็ นอยู่ในปัจจุบัน มีความเกียวข้ องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและ
                                                ิ                                 ่
การสื่อสารต่ างๆมากมาย ปี แห่ งเทคโนโลยีสารสนเทศไทยมีการลงทุนเกียวกับโครงการพืนฐานทางด้ านเทคโนโลยี
                                                                     ่                ้
สารสนเทศ และการสื่อสารเป็ นจานวนมาก เช่ น มีการขยายระบบโทรศัพท์ และขยายเครือข่ ายการสื่อสาร มี การสร้ าง
ระบบฐานข้ อมูล ทะเบียนราษฎร์ และการสร้ างระบบจัดเก็บภาษีอากรด้ วยคอมพิวเตอร์ การเรียนทางไกลผ่านทาง
เครือข่ ายคอมพิวเตอร์
• 2. การสังซื้ อสิ นค้าและชาระเงินด้วยบัตรเครดิตผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ การเบิกเงิน
          ่
  ด้วยบัตรเอทีเอ็มจากตูเ้ อทีเอ็มของธนาคารต่างๆ คาว่า “เทคโนโลยีสารสนเทศ
  (Information Technology : IT) เรี ยกย่อว่า “ไอที” ประกอบด้วยคาว่า
  “เทคโนโลยี” และคาว่า “สารสนเทศ” นามารวมกันเป็ น “เทคโนโลยีสารสนเทศ” คา
  ว่าเทคโนโลยี

• 3. สารสนเทศและการสื่ อสาร (Information and Communication
  Technology : ICT) หรื อเรี ยกย่อว่า “ไอซี ที” ประกอบด้วยคาที่มีความหมาย
  ดังนี้ – เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์
  มาประยุกต์ในการพัฒนาเครื่ องมือ เครื่ องใช้ อุปกรณ์ วิธีการหรื อกระบวนการ เพื่อ
  ช่วยในการหรื อแก้ปัญหาต่างๆทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล หรื อ
  องค์กร – สารสนเทศ (Information) หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจากการนาข้อมูลมา
  ผ่านกระบวนการต่างๆอย่างมีระบบ จนได้สิ่งที่เป็ นประโยชน์ มีคุณค่าและสาระ หรื อ
  มีเนื้อหาและรู ปแบบที่เหมาะสมตามความต้องการของผูใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                                          ้
  หมายถึง การนาความรู ้ทางด้านวิทยา
• ศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ เพื่อสร้ างหรื อจัดการกับ สารสนเทศอย่างเป็ นระบบและรวดเร็ ว โดย
  อาศัยเทคโนโลยีทางด้ านคอมพิวเตอร์ ทังนี ้เพื่อให้ เกิดประโยชน์ตอบุคคล กลุมบุคคล หรื อ
                                             ้                      ่            ่
  องค์กร ทั ้งนี ้เทคโนโลยีสารสนเทศยังต้ องพึงพาเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและโทร คมนาคม
                                               ่
  ซึงเป็ นวิธีการที่จะส่งข้ อมูลจากที่หนึงไปอีกที่หนึง เพื่อการแลกเปลี่ยนหรื อเผยแพร่ข้อมูลและ
    ่                                    ่           ่
  สารสนเทศได้ อย่างรวดเร็ ว ทันต่อการใช้ ประโยชน์ ผ่านอุปกรณ์สื่อสาร เช่น วิทยุ โทรศัพท์
  เครื่ องโทรสาร คอมพิวเตอร์ คลื่นวิทยุ และดาวเทียม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  ตามแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประเทศไทย พ.ศ. 2545 – 2549
  หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้ องกับข่าวสารข้ อมูล และการสื่อสารนับตังแต่การสร้ าง การนา
                                                                         ้
  มาวิเคราะห์หรื อการประมวลผล การรับและการส่งข้ อมูล การจัดเก็บ และการนาข้ อมูล
  กลับไปใช้ งานใหม่ ระบบการสื่อสารและโทรคมนาคมที่เชื่อมโยงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทวมุม        ั่
  โลก

                                                 • นางสาวเจนจิรา ศรี คงคา ม4/10 เลขที่ 12
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
• องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
• มี 5 องค์ประกอบ ได้ แก่ ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์ แวร์ ข้ อมูล บุคลากร และขั้นตอนการปฏิบัตงาน        ิ
•  ฮาร์ ดแวร์ เป็ นองค์ประกอบสาคัญ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ รอบข้ าง
• ซอฟต์ แวร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นชุดคาสั่งที่สั่งให้ ฮาร์ ดแวร์ ทางาน
• ข้ อมูล เป็ นส่ วนที่จะนาไปจัดเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์
•  บุคลากรเป็ นผู้ที่มีส่วนเกียวข้ องกับงานคอมพิวเตอร์
                              ่
• ขั้นตอนการปฏิบตงาน เป็ นสิ่งที่จะต้ องเข้ าใจเพือให้ ทางานได้ ถูกต้ องเป็ นระบบ
                       ั ิ                        ่
• 1. ฮาร์ ดแวร์
• ฮาร์ ดแวร์ เป็ นองค์ประกอบสาคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ รอบข้ าง รวมทั้ง
  อุปกรณ์ สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ เข้ าเป็ นเครือข่ าย เช่ น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดตรวจเมื่อพิจารณาเครื่อง
  คอมพิวเตอร์ สามารถแบ่ งเป็ น 3 หน่ วย คือ
•       หน่ วยรับข้ อมูล (input unit) ได้ แก่ แผงแป้ นอักขระ เมาส์
•       หน่ วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)
•         หน่ วยแสดงผล (output unit) ได้ แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์
• 2 . ซอฟต์ แวร์

• ซอฟต์ แวร์ หรื อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นองค์ ประกอบที่สาคัญประการที่สอง ซึ่งก็
  คือลาดับขันตอนของคาสั่งที่จะสั่งงานให้ ฮาร์ ดแวร์ ทางาน เพื่อประมวลผลข้ อมูลให้
              ้
  ได้ ผลลัพธ์ ตามความต้ องการของการใช้ งาน ในปั จจุบันมีซอฟต์ แวร์ ระบบ
  ปฏิบัตงาน ซอฟต์ แวร์ ควบคุมระบบงาน ซอฟต์ แวร์ สาเร็จ และซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
         ิ
  สาหรั บงานต่ างๆ ลักษณะการใช้ งานของซอฟต์ แวร์ ก่อนหน้ านี ้
• ซอฟต์ แวร์ คือ ชุดคาสั่งที่ส่ ังงานคอมพิวเตอร์ แบ่ งออกได้ หลายประเภท เช่ น

• 1. ซอฟต์ แวร์ ระบบ คือ ซอฟต์ แวร์ ท่ ใช้ จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ และ
                                         ี
  อุปกรณ์ ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ เช่ น ระบบปฏิบัตการวินโดว์ ส ระบบปฏิบัตการดอส
                                                ิ                      ิ
  ระบบปฏิบัตการยูนิกซ์
              ิ

• 2. ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ คือ ซอฟต์ แวร์ ท่ พฒนาขึนเพื่อใช้ งานด้ านต่ างๆ ตาม
                                           ี ั   ้
  ความต้ องการของผู้ใช้ เช่ น ซอฟต์ แวร์ กราฟิ ก ซอฟต์ แวร์ ประมวลคา
  ซอฟต์ แวร์ ตารางทางาน ซอฟต์ แวร์ นาเสนอข้ อมูล
•   3. ข้ อมูล

•    ข้ อมูล เป็ นองค์ ประกอบที่สาคัญอีกประการหนึ่งของระบบสารสนเทศ อาจจะเป็ นตัวชี้ความสาเร็จหรือ
    ความล้ มเหลวของระบบได้ เนื่องจากจะต้ องมีการเก็บข้ อมูลจากแหล่ งกาเนิด ข้ อมูลจะต้ องมีความถูกต้ อง
    มีการกลันกรองและตรวจสอบแล้ วเท่ านั้นจึงจะมีประโยชน์ ข้ อมูลจาเป็ นจะต้ องมีมาตรฐาน โดยเฉพาะ
              ่
    อย่ างยิงเมื่อใช้ งานในระดับกลุ่มหรือระดับองค์ กร ข้ อมูลต้ องมีโครงสร้ างในการจัดเก็บที่เป็ นระบบระเบียบ
            ่
    เพือการสื บค้ นที่รวดเร็วมีประสิ ทธิภาพ
       ่

• 4. บุคลากร

•    บุคลากรในระดับผู้ใช้ ผู้บริหาร ผู้พฒนาระบบ นักวิเคราะห์ ระบบ และนักเขียนโปรแกรม เป็ น
                                        ั
    องค์ ประกอบสาคัญในความสาเร็จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรู้ ความสามารถทางคอมพิวเตอร์
    มากเท่ าใดโอกาสที่จะใช้ งานระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ ได้ เต็มศักยภาพและคุ้มค่ ายิงมากขึน
                                                                                           ่    ้
    เท่ านั้น โดยเฉพาะระบบสารสนเทศในระดับบุคคลซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ มีขีดความสามารถมากขึน ทาให้
                                                                                             ้
    ผู้ใช้ มีโอกาสพัฒนาความสามารถของตนเองและพัฒนาระบบงานได้ เองตามความต้ องการ สาหรับระบบ
    สารสนเทศในระดับกลุ่มและองค์ กรที่มีความซับซ้ อนจะต้ องใช้ บุคลากรในสาขาคอมพิวเตอร์ โดยตรงมา
    พัฒนาและดูแลระบบงาน
• 5. ขั ้นตอนการปฏิบติงาน
                    ั

•     ขันตอนการปฏิบติงานที่ชดเจนของผู้ใช้ หรื อของบุคลากรที่เกี่ยวข้ องก็เป็ นเรื่ องสาคัญอีก
         ้               ั        ั
    ประการหนึง เมื่อได้ พฒนาระบบงานแล้ วจาเป็ นต้ องปฏิบติงานตามลาดับขันตอนในขณะที่
                ่            ั                                 ั               ้
    ใช้ งานก็จาเป็ นต้ องคานึงถึงลาดับขั ้นตอนการปฏิบติของคนและความสัมพันธ์กบเครื่ อง ทัง้
                                                         ั                           ั
    ในกรณีปกติและกรณีฉกเฉิน เช่น ขันตอนการบันทึกข้ อมูล ขันตอนการประมวลผล ขันตอน
                               ุ           ้                       ้                      ้
    ปฏิบติเมื่อเครื่ องชารุดหรื อข้ อมูลสูญหาย และขันตอนการทาสาเนาข้ อมูลสารองเพื่อความ
           ั                                          ้
    ปลอดภัย เป็ นต้ น สิงเหล่านี ้จะต้ องมีการซักซ้ อม มีการเตรี ยมการ และการทาเอกสารคูมือ
                           ่                                                                ่
    การใช้ งานที่ชดเจน
                   ั

•

                                                • นางสาว ณัฐสุดา พูนพ่วง ม.4/10 เลขที่ 22
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
                    การสื่ อสาร
• ประโยชน์ และตัวอย่ างของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร

• 1.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารถูกนามาใช้ เพืออานวยความสะดวกในการบริหารด้ าน
                                                    ่
• การบริหารด้ านการศึกษา เช่ น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนียงใช้ เป็ น
                                                                                    ้ั
  เครื่องมือในการเพิมโอกาสทางด้ านการศึกษาและเพิมประสิ ทธิภาพการเรียนการสอน การศึกษา
                    ่                           ่
  ทางไกลผ่ านทางดาวเทียม บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ยงช่ วยเสริม ประสิ ทธิภาพการเรียนการสอนในวิชา
                                                  ั
  ต่ างๆ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์

• 2. เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารถูกนามาใช้ เริ่มตั้งแต่ การทาทะเบียนคนไข้ การรักษาพยาบาล
  ทั่วไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่ างๆ ได้ อย่ างรวดเร็วและแม่ นยา นอกจากนียงใช้ ในห้ องทดลอง
                                                                                         ้ั
  การศึกษาและการวิจัยทางการแพทย์ งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี สามารถค้ นคว้ าข้ อมูลทางการแพทย์ รักษา
  คนไข้ ด้วยระบบการรักษาทางไกลตลอดเวลาผ่ านเครือข่ ายการสื่ อ สารเครื่องเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ ที่ เ รี ย
  กว่ า อี เอ็ ม ไอสแกนเนอร์ (EMI scanner) ถูกนามาใช้ ถ่ายภาพสมองมนุษย์ เพือตรวจหาความผิ ด
                                                                                       ่
  ปกติ ใ นสมอง และต่ อ มาได้ พั ฒ นาให้ ถ่ ายภาพหน้ าตัด ได้ ทั่วร่ างกาย เรียกชื่อว่ า ซีเอที (CAT-
  Computerized Axial Tomographyscanner: CAT scanner) เป็ นต้ น
• 3. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ ประโยชน์ในด้ าน
  การเกษตรกรรม เช่น การจัดทาระบบข้ อมูลเพื่อการเกษตรและ
  พยากรณ์ผลผลิตด้ านการเกษตร นอกจากนี ้ ยังช่วยพัฒนา
• ความก้ าวหน้ าทางด้ านอุตสาหกรรม การประดิษฐ์ ห่นยนต์เพื่อใช้ ทางาน
                                                    ุ
  บ้ าน และหุ่นยนต์เพื่องานอุตสาหกรรมที่ต้องเสี่ยงภัยและเป็ นอันตราย
  ต่อสุขภาพ รวมถึงงานที่ต้องทาช้ าๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ และ
  โรงงานแบตเตอรี่ ปั จจุบนเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารเข้ ามามี
                          ั
  บทบาทอย่างมากในการผลิตและควบคุมคุณภาพสินค้ า การส่งสินค้ า
  ตามใบสังสินค้ า การควบคุมวัสดุคงคลัง และการคิดราคาต้ นทุนสินค้ า
          ่
• 4. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ ในด้ านการเงินและการ
  ธนาคาร โดยใช้ ช่วยงานด้ านการบัญชี การฝากถอนเงิน โอนเงิน บริ จาค
  สินเชื่อ แลกเปลี่ยนเงินตรา บริ การข่าวสารการธนาคาร การใช้ คอมพิวเตอร์
  ด้ านการเงินการธนาคารที่ร้ ูจกและนิยมใช้ กนทัวไป เช่น บริ การฝากถอนเงิน
                               ั            ั ่
  การโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้ เกิดความสะดวกรวดเร็ วต่อการดาเนิน
  ธุรกิจต่างๆ

• 5. มี การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกัน อย่างแพร่หลาย เช่น ใช้
  ในการควบคุมประสานงาน วงจรสื่อสารทหาร การแปลรหัสลับในงานจาร
  กรรมระหว่างประเทศ การส่งดาวเทียมและการคานวณวิ ถี การโคจรของ
  จรวดไปสู่ อวกาศสานักงานตารวจแห่งชาติ ของประเทศไทยมรศูนย์ประมวล
  ข่าวสาร มีระบบจัดทาทะเบียนปื น ทะเบียนประวัตอาชญากร ทาให้ เกิด
                                                ิ
  ความสะดวกและรวดเร็ วในการสืบค้ นข้ อมูลเพื่อการสืบสวนคดีตางๆ
                                                           ่
• 6. มีการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในส่วนที่ เกี่ยวการ
  เดินทาง เช่น การเดินทางโดยรถไฟ มีการเชื่อมโยงข้ อมูลการจองที่นงไป
                                                                  ั่
  ยังทุกสถานี ทาให้ สะดวกต่อผู้โดยสารการเช็คอินของสายการบิน ได้ จด   ั
  ทาเครื่ องมือที่สะดวกต่อลูกค้ า ในรูปแบบของการเช็คอินด้ วยตนเอง

• 7. มีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการออกแบบ หรื อจา
  ลองสภาวการณ์ตางๆ เช่น การรับแรงสันสะเทือนของอาคารเมื่อเกิด
                    ่                ่
  แผ่นดินไหว โดยการคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ ใกล้ เคียงความ
  จริงตัวอย่างซอฟต์แวร์ คานวณการเกิดแผ่นดินไหว
• 8. องค์กรในภาคธุรกิจใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  ในการบริ หารจัดการ เพื่อช่วยเพิ่มความยืดหยุนให้ กับองค์กรในการทางาน
                                                   ่
  ทาให้ การประสานงานหรื อการทากิจ กรรมต่างๆ ของแต่ละหน่วยงานใน
  องค์กร หรื อระหว่างองค์กรเป็ นไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ ้น นอกจากนี ้
  ยังสามารถนามาใช้ ปรับปรุงการให้ บริ การกับลูกค้ าซึงเป็ นการสร้ างภาพพจน์
                                                          ่
  ที่ดีขององค์กรต่อลูกค้ าทัว ไปสิง เหล่ า นี ้นับเป็ นการสร้ างโอกาสความ
                             ่    ่
  ได้ เปรี ยบในการแข่งขันให้ กบองค์กร เช่น การให้ บริ การชาระค่าสินค้ า ผ่าน
                               ั
  จุดชาระค่าบริ การการสัง ซื ้อสินค้ า ทางอินเทอร์ เน็ต และการตรวจสอบราคา
                           ่
  สินค้ าผ่านเครื่ องอ่านราคาสินค้ า

                          • นางสาวณัฐณิชา กุลพัฒนานันท์ ม.4/10 เลขที่ 6
แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
1.4.1 ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เมื่อพิจารณาเครื อข่ายการสื่ อสาร
    ทัวไปจากอดีตจนถึงปั จจุบน เห็นได้ชดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่ อสารแบบพกพามาก
          ่                          ั       ั
    ขึ้นเรื่ อยๆ เริ่ มจากวิทยุเรี ยกตัว (pager) ซึ่ งเป็ นเครื่ องรับข้อความ มาเป็ น
    โทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานด้านอื่นๆได้
    นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรู ป ฟังเพลง ฟัง
    วิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกงานสั้นๆ โทรศัพท์บางรุ่ นมีลกษณะเป็ นเครื่ องช่วยงานส่ วน
                                                                ั
    บุคคล (Personal Digital Assistant : PDA) ซึ่ งสามารถเชื่อต่อกับ
    อินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทาให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บาง
    รุ่ นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus) คือใช้ปากกาป้ อนข้อมูลทางหน้าจอ บางรุ่ นสามารถ
    สังการด้วยเสี ยง ตัวอย่างอุปกรณ์สื่อสารและสารสนเทศแบบพกพา
        ่
• ในอนาคตอันใกล้ มนุษย์จะมีอปกรณ์ที่ทนสมัยใช้ กนมากขึ ้น นอกเหนือจาก
                                  ุ       ั           ั
  การพูดคุยแบบเห็นหน้ าผ่านอินเทอร์ เน็ต มนุษย์สามารถพูดคุยแบบเห็นหน้ า
  ผ่านทางโทรศัพท์มือถือ ทาให้ สามารถติดต่อกันได้ ด้วยค่าใช้ จ่ายที่ถกลงู
  สามารถส่งข้ อความ ภาพ และเสียง ได้ โดยง่ายดาย สะดวกรวดเร็ ว อีกทังยัง   ้
  ค้ นหาข้ อมูลด้ วยภาษาที่เป็ นธรรมชาติมากขึ ้นด้ วยเว็บรุ่นที่สาม ( Web
  3.0 ) แทนที่จะเป็ นการใช้ คาหลักเหมือนดังที่ใช้ ในปั จจุบน ตัวอย่างการใช้
                                                              ั
  งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แบบพกพารุ่นใหม่

• ดังนันอุปกรณ์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคตมี
         ้
  แนวโน้ มเป็ นดังนี ้คือ มีขนาดเล็กลง พกพาได้ ง่าย แต่มีประสิทธิภาพสูงขึ ้น
  เช่น เก็บข้ อมูลได้ มากขึ ้น ประมวลผลได้ เร็ วขึ ้น ใช้ งานได้ หลากหลายมากขึ ้น
  โดยมีการผนวกอุปกรณ์หลายๆอย่างไว้ ในเครื่ องเดียว ( all-in-one ) ที่
  รูปที่ 1.25 ตัวอย่างอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต
• สาคัญอุปกรณ์เหล่านี้ตองใช้งานง่ายขึ้น รวมถึงสามารถสังงานด้วยเสี ยงได้ นอกจากนี้ ยังมีระบบ
                          ้                              ่
รักษาความปลอดภัยที่ดีข้ ึน โดยอาศัยลายนิ้วมือหรื อจอม่านตา แทนการพิมพ์รหัสแบบในปั จจุบน ั
ตัวอย่างอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารในอนาคต
1.4.2 ด้านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็ นระบบที่ใช้
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อตรงเพียงชุดเดียว ( stand alone )

• ต่อมามีการเชื่อต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ขอมูลร่ วมกัน หรื อ
                                                                               ้
  ใช้เครื่ องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิดเป็ นระบบรับและให้บริ การ หรื อเรี ยกว่าระบบรับ-ให้บริ การ (
  client-server system ) โดยมีเครื่ องให้บริ การ ( server ) และเครื่ องรับบริ การ (
  client )รู ปที่ 1.26 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อตรงเพียงชุดเดียว ( stand alone )

• การให้บริ การบนเว็บก็นาหลักการของระบบรับ-ให้บริ การมาใช้ช่วยให้การทางานง่าย สะดวก
  รวดเร็ว เพราะสามารถทางานจากที่ใดก็ได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยมีเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ (
  web server ) เป็ นเครื่ องให้บริ การ
• เมื่อการใช้งานอินเทอร์เน็ตเป็ นไปอย่างแพร่ หลาย การพัฒนาระบบเครื อข่ายเพื่อให้
  ผูใช้สามารถสื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้โดยตรง โดยที่เครื่ องให้บริ การมีหน้าที่
    ้
  เพียงแค่เก็บตาแหน่งของเครื่ องผูใช้งานที่มีขอมูลนั้นๆอยู่ เพื่อให้เครื่ องอื่นสามารถ
                                  ้           ้
             ่ ้                                                            ่
  ทราบที่อยูที่มีขอมูลดังกล่าว และเข้าถึงข้อมูลนั้นได้ เรี ยกระบบแบบนี้วาเครื อข่าย
  ระดับเดียวกัน ( Peer-to-Peer network: P2P network)

• ปั จจุบนมีการใช้แลนไร้สาย ( wireless LAN ) ในสถาบันการศึกษา และองค์กร
          ั
  หลายแห่ง การให้บริ การแลนไร้สาย หรื อ ( Wi-Fi ) ตามห้างสรรพสิ นค้า ร้านขาย
  เครื่ องดื่ม หรื อห้องรับรองของโรงแรมใหญ่ ภายใต้ความร่ วมมือของผูให้บริ การ ทาให้
                                                                   ้
  นักธุรกิจสามารถดาเนินธุรกรรมผ่านระบบอินเทอร์เน็ตแบบไร้สายได้ หรื อบางราย
  อาจซื้ อบริ การอินเทอร์เน็ตแบบไร้สายผ่านทางโทรศัพท์มือถือ นอกจากนี้ยงเริ่ มมีการ
                                                                        ั
  ใช้เทคโนโลยีติดตามตาแหน่งรถด้วยจีพีเอส ( Global Positioning
  System: GPS ) กับรถแท็กซี่ เพื่อความปลอดภัยทั้งผูโดยสารและผูขบรถ
                                                         ้           ้ั
• 1.4.3 ด้านเทคโนโลยี ระบบทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสิ นใจได้เองจะเข้ามา
  แทนที่มากขึ้น เช่น ระบบแนะนาเส้นทางจราจร ระบบจอดรถ ระบบตรวจหา
  ตาแหน่งของวัตถุ ระบบควบคุมความปลอดภัยภายในอาคาร ระบบทางาน
  อัตโนมัติเช่นนี้ อาจกลายเป็ นระบบหลักในการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ โดย
  เข้ามาแทนที่การทางานของมนุษย์ มีการเชื่อมต่อเครื อข่ายอย่างกว้างขวางไปยัง
  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่เป็ นอยูในปั จจุบน ตัวอย่างระบบจอดรถอัตโนมัติ
                                         ่        ั

                                • นางสาว เบญญา เนตรทิพย์ ม.4/10 เลขที่ 15
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
                     สื่ อสาร
• ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร

• ความก้าวหน้าของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว เพื่อ
  สนองความต้องการด้านต่างๆ ของผูใช้ในปั จจุบนซึ่ งมีผใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและ
                                       ้          ั     ู้
  การสื่ อสารทัวโลกประมาณพันล้านคน และเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ ทุกปี ผูใช้สามารถใช้งานอุปกรณ์
               ่                                                 ้
  ดังกล่าวได้ทุกที่ ทุกเวลา จึงทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ทั้งที่เกิดประโยชน์และโทษ
  เช่น

• 1) ด้านสังคม สภาพเหมือนจริ ง การใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางานต่างๆ จนเกิดเป็ น
  สังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรื อที่รู้จกกันว่า ไวเบอร์สเปซ (cyber space) ซึ่ งมี
                                                ั
  กิจกรรมต่างๆ เช่น การพูดคุย การซื้ อสิ นค้า และการบริ การ การทางานผ่านเครื อข่าย
  คอมพิวเตอร์ทาให้เกิดสภาพที่เหมือนจริ ง (virtual) เช่น เกมเสมือนจริ ง ห้องสมุดเสมือน
  จริ ง พิพิธภัณฑ์เสมือนจริ ง ห้องประชุมเสมือนจริ ง และที่ทา
• งานเสมือนจริ ง ซึ่งทาไห้ลดเวลาในการเดินทางและสามารถใช้งานได้ทุสาหรับเกม
                                    ั ้
  เสมือนจริ ง อาจสร้างปั ญหาให้กบผูใช้ท่ีไม่สามารถแยกแยะระหว่างเกมหรื อชีวตจริ ง อาจ
                                                                             ิ
  ใช้ความรุ นแรงเลียนแบบเกม และเกิดปั ญหาอาชญากรรมตามที่เป็ นข่าวในสังคมปั จจุบน    ั
  การใช้เงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Cash) การใช้เงินตราจะเริ่ มเปลี่ยนรู ปแบบเป็ นการใช้เงิน
  อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น ทาให้พกเงินสดน้อยลง เพิมความสะดวกในการซื้อสิ นค้าและการ
                                                   ่
  บริ การต่างๆ ด้วยบัตรที่มีลกษณะเป็ นบัตรสมาร์ต หรื อสมาร์ตการ์ด (smart card)
                                ั
                                              ั
  ดังรู ปที่ 1.32 ซึ่งบัตรใบเดียวสามารถใช้ได้กบธุรกรรมหลายประเภท ตั้งแต่เป็ นบัตร
  ประจาตัวประชาชน ใบอนุญาตขับขี่ บัตรประจาตัวพนักงานหรื อบัตรประจาตัวนักเรี ยน
  นักศึกษา บัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต ตลอดจนบัตรสมาชิกห้างสรรพสิ นค้า ร้านค้า และ
  ร้านอาหารต่างๆ
• เนื่องจากพฤติกรรมการใช้ เงินที่เปลี่ยนแปลงไปดังกล่าว ข้ อมูลส่วนบุคคลจะ
  ถูกจัดเก็บไว้ ในระบบอิเล็กทรอนิกส์มากขึ ้น อาจมีผ้ ประสงค์ร้ายลักลอบนา
                                                     ู
  ข้ อมูล เช่น ชื่อ-นามสกุล เลขที่บตรประจาตัวประชาชน เบอร์ โทรศัพท์ และ
                                     ั
  รหัสที่ใช้ ในการถอนเงิน ซึงเป็ นข้ อมูลส่วนบุคคลมาใช้ ในทางที่ผิด เช่น
                             ่
  ลักลอบเข้ าสูระบบฐานข้ อมูลบัญชีเงินฝากของธนาคาร เพื่อโอนเงินเข้ าบัญชี
                  ่
  ของตนเอง การโทรศัพท์มาแอบอ้ างเป็ นเจ้ าหน้ าที่ของกรมสรรพากร หลอก
  ให้ ทาการโอนเงินจากบัญชีออกไปให้ โดยบอกว่าจะทาการคืนเงินภาษี ทาง
  ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ตัวอย่างการก่ออาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

• บริ การนาเสนอแบบตามคาขอหรื อออนดีมานด์ (on demand) เป็ นการ
  เข้ าถึงข้ อมูลตามความต้ องการของผู้ใช้ ได้ ตลอดเวลา เช่น การเลือกชม
  รายการโทรทัศน์ หรื อฟั งรายการวิทยุย้อนหลังได้ ทางเว็บไซด์ แทนการ
  ติดตามดูรายการโทรทัศน์ หรื อฟั งรายการวิทยุ ตามตารางที่ทางสถานี
  กาหนดไว้ ลวงหน้ า
                ่
• การศึกษาออนดีมานด์ (education on demand) เป็ นการเปิ ด
  เว็บไซต์ของสถาบันการศึกษา ณ ที่ใด เวลา ใดก็ได้ แล้วเลือกวิชาเรี ยน
  บทเรี ยนได้ ซึ่งเป็ นลักษณะหนึ่งของอีเลิร์นนิง (e-Learning) ตัวอย่าง
  ของการนาเสนอรายการโทรทัศน์แบบออนดีมานด์การได้รับเทคโนโลยีมาก
  เกินไป (technology overlord) การพัฒนาของเทคโนโลยีเป็ นไป
  อย่างต่อเนื่องและรวดเร็ ว โดยมีรูปแบบที่หลากหลาย ทาให้น่าสนใจ และ
  สะดวกในการเข้าถึง สิ่ งเหล่านี้เป็ นแรงดึงดูดให้บุคคลเกิดความลุ่มหลงจน
  เกิดเป็ นอาการติดเทคโนโลยี เช่น ติดการใช้โทรศัพท์มือถือ การถ่ายคลิป การ
  เข้าถึงข้อมูลในอินเทอร์เน็ต การส่ งข้อความออนไลน์ การใช้อีเมล์

• เล่นเกมออนไลน์ ซึ่งอาจนาไปสู่ ปัญหาสุ ขภาพ รวมถึงการทาลายสัมพันธภาพ
  ทางสังคม เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อน หรื อเพื่อนร่ วมงานได้ ผูติดเทคโนโลยีมี
                                                              ้
  อาการในลักษณะเดียวกับผูติดสิ่ งเสพติดอย่างการพนัน สุ รา หรื อยาเสพติด
                          ้
• เริ่ มต้ นจากการแสวงหาเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างสม่าเสมอ เพิ่มระดับการใช้ งาน
  เทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง จนถึงในภาวะที่ไม่สามารถหยุดการใช้ งานได้ เกิดความรู้สก   ึ
  กระวนกระวายใจเมื่อลืมโทรศัพท์มือถือหรื ออยูในสถานที่ที่เชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตไม่ได้
                                               ่
  ถึงแม้ จะตระหนักถึงผลที่ตามมาเป็ นอย่างดีก็ตาม ดังนันผู้ปกครองจึงควรเอาใจใส่
                                                       ้
  ติดตามเทคโนโลยีให้ อยูในขอบเขตที่เหมาะสม ส่งเสริ มให้ มีการใช้ เวลาว่างในการทา
                          ่
  กิจกรรมอื่นๆ ที่เป็ นประโยชน์ แทนการใช้ เทคโนโลยีที่มากเกินไป

• 2) ด้ านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้ เกิดสังคม
  โลกาภิวฒน์(globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศน์ที่จะส่ง
           ั
  กระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ ทวโลก สามารถรับรู้ขาวสารได้ ทนที ใช้
                                              ั่              ่         ั
  อินเทอร์ เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจซึงแต่เดิมมีขอบเขตจากัด
                                                          ่
  ภายในประเทศ ก็กระจายเป็ นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยน
  สินค้ าและบริ การอย่างกว้ างขวางและรวดเร็ ว ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลก
  จึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ ้น
• 3) ด้านสิ่ งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มีประโยชน์ใน
  ด้านธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เช่น ระบบป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้
  ภาพถ่ายดาวเทียม หรื อภาพถ่ายทางอากาศร่ วมกับการจดเก็บรักษาข้อมูล
  ระดับน้ าทะเล ความสู งของคลื่นจากระบบเรดาร์ เป็ นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุ
  และนาข้อมูลมาวางแผนและสร้างระบบเพื่อป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่งแต่ละ
  แห่งได้อย่างเหมาะสม

• นอกจากนี้ในรถยนต์ท่ีใช้เครื่ องยนต์แบบผสม (hybrid engine) เพื่อ
  รักษาสิ่ งแวดล้อมก็ตองใช้เทคโนโลยีเพื่อควบคุมให้เครื่ องยนต์ลดการเผาไหม้
                          ้
  น้ ามันเชื้อเพลิง เป็ นการช่วยลดมลภาวะจากก๊าซ-ไนโตรเจนออกไซด์
  ไฮโดรคาร์บอน และก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ ที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน
  ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารช่วยรักษาธรรมชาติและ
  สิ่ งแวดล้อม
• ขยะ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ จอภาพ คีย์บอร์ ด เมาส์ เครื่ องพิมพ์ ที่เสีย
  หรื อไม่ใช้ งานแล้ ว รวมถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่ถกทิ ้งเป็ นขยะ ซึงต่างจากขยะทัวไป
                                                            ู                ่             ่
  เช่น ถุงพลาสติก และเศษอาหาร โดยในขยะอิเล็กทรอนิกส์ชิ ้นหนึงๆ มีสวนประกอบที่เป็ น
                                                                         ่     ่
  โลหะและพลาสติก รวมถึงวัสดุอื่นๆ ที่ประกอบกันอย่างซับซ้ อน ยากต่อการแยกออกมา
  โดยเฉพาะในแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ มีรายงานพบว่าขยะเหล่านี ้นอกจากจะมีปริ มาณ
  เพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ วแล้ ว ยังปลดปล่อยสารพิษปะปนเข้ าสูสงแวดล้ อม การแยกชิ ้นส่วนขยะ
                                                              ่ ิ่
  อิเล็กทรอนิกส์แล้ วนากลับมาหลอมใช้ ใหม่ หรื อรี ไซเคิล จึงทาได้ ยากมากกว่าขยะทัวไป   ่
  เพราะต้ องมีขั ้นตอนวิธีที่เหมาะสม จึงต้ องมีการศึกษาอย่างละเอียดโดยผู้เชี่ยวชาญและต้ อง
  จัดการอย่างมีระบบ ดังนั ้นจึงควรใช้ อปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้ ค้ มค่า จะซื ้อใหม่เมื่ออุปกรณ์
                                         ุ                           ุ
  นันไม่สามารถซ่อมได้ แล้ ว และไม่เปลี่ยนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บอยๆตามกระแสนิยม
     ้                                                                 ่
  ตัวอย่างขยะอิเล็กทรอนิกส์

                                            • นางสาว รพีพรรณ ดวงตา ม.4/10 เลขที่ 17
ตัวอย่างอาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร

• ตัวอย่างอาชีพทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

• 1. ทาหน้ าที่บริ หารและจัดการระบบคอมพิวเตอร์ ในองค์กร โดยดูแลการติดตังและบารุง
                                                                        ้
  รักษาระบบปฏิบติการ การติดตังฮาร์ ดแวร์ การติดตังและการปรับปรุงซอฟต์แวร์ สร้ าง
                    ั             ้              ้
  ออกแบบและบารุงรักษาบัญชีผ้ ใช้ สาหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้ าหน้ าที่ควบคุมระบบอาจต้ อง
                                ู
  ดูแลและบริ หารระบบเครื อข่ายด้ วย

• 2. ทาหน้ าที่บริ หารและจัดการออกแบบระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และดูแลรักษาความ

• ปลอดภัยของระบบ เครื อข่าย ขององค์กร เช่น ตรวจสอบการใช้ งานเครื อข่ายของพนักงาน

• และติดตั ้งโปรแกรมปองกันผู้บกรุกเครื อข่าย
                     ้        ุ
• 3. ทาหน้าที่ ซ่อม บารุ งรักษา เครื่ องคอมพิวเตอร์ ติดตั้งโปรแกรม หรื อ
  ติดตั้งฮาร์ดแวร์ต่างๆ และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดจากการใช้งานอุปกรณ์
  คอมพิวเตอร์ในองค์กร

• 4. ทาหน้าที่เขียนหรื อพัฒนาโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบนนี้การ
                                                             ั
  เขียนเกมคอมพิวเตอร์ เป็ นอาชีพที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในประเทศ
  ไทย

                              • นางสาวจินตนา โควณิ ช ม.4/10 เลขที่ 38
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อังห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อังpattaranit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารjongkoi
 
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Por Oraya
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารmay18323
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารiamopg
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkanokwan8941
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศครู อินดี้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimproncharita
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารpornchitafaii
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารTuaLek Kitkoot
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารjintara022
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 

Was ist angesagt? (19)

ห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อังห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ฟิต
ฟิตฟิต
ฟิต
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 

Ähnlich wie เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
09552062 e learning
09552062 e   learning09552062 e   learning
09552062 e learningKaow Oath
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารYui Yui
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารSirithorn609
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnut jpt
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Meaw Sukee
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารwchai1334
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMooktada Piwngam
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 

Ähnlich wie เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
09552062 e learning
09552062 e   learning09552062 e   learning
09552062 e learning
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Group1
Group1Group1
Group1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
07
0707
07
 
07
0707
07
 

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  • 2. ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร • ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปัจจุบันเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สารมีบทบาทต่ อชี วิ ต ประจาวันเป็ นอย่ างมาก เช่ น มีการใช้ คอมพิวเตอร์ ในการทางาน ใช้ อนเตอร์ เน็ตเพือสืบค้นข้ อมูล หรือรับ – ส่ งข้ อมูล ิ ่ ระหว่างกัน ตลอดจนใช้ โทรศัพท์ เคลือนที่ (Mobile Phone) หรือโทรศัพท์ มือถือในการติดต่ อสื่อสารองค์กรทั้ง ่ ภาครัฐ แ ล ะ เ อ ก ช น ไ ด้ นาเ ท ค โ น โ ล ยีสารสนเทศ และการสื่อสารเข้ ามาใช้ งานในทุกระดับชั้นขององค์กร เช่ น งาน ด้ านบริหาร การจัดการ และการปฏิบัตการ รัฐบาลได้ เห็นความสาคัญของระบบเทคโนโลยีทางด้ านคอมพิวเตอร์ และ ิ ระบบสื่อสาร จึงประกาศให้ ปี พ.ศ. 2538 เป็ นชีวตความเป็ นอยู่ในปัจจุบัน มีความเกียวข้ องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและ ิ ่ การสื่อสารต่ างๆมากมาย ปี แห่ งเทคโนโลยีสารสนเทศไทยมีการลงทุนเกียวกับโครงการพืนฐานทางด้ านเทคโนโลยี ่ ้ สารสนเทศ และการสื่อสารเป็ นจานวนมาก เช่ น มีการขยายระบบโทรศัพท์ และขยายเครือข่ ายการสื่อสาร มี การสร้ าง ระบบฐานข้ อมูล ทะเบียนราษฎร์ และการสร้ างระบบจัดเก็บภาษีอากรด้ วยคอมพิวเตอร์ การเรียนทางไกลผ่านทาง เครือข่ ายคอมพิวเตอร์
  • 3. • 2. การสังซื้ อสิ นค้าและชาระเงินด้วยบัตรเครดิตผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ การเบิกเงิน ่ ด้วยบัตรเอทีเอ็มจากตูเ้ อทีเอ็มของธนาคารต่างๆ คาว่า “เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) เรี ยกย่อว่า “ไอที” ประกอบด้วยคาว่า “เทคโนโลยี” และคาว่า “สารสนเทศ” นามารวมกันเป็ น “เทคโนโลยีสารสนเทศ” คา ว่าเทคโนโลยี • 3. สารสนเทศและการสื่ อสาร (Information and Communication Technology : ICT) หรื อเรี ยกย่อว่า “ไอซี ที” ประกอบด้วยคาที่มีความหมาย ดังนี้ – เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ในการพัฒนาเครื่ องมือ เครื่ องใช้ อุปกรณ์ วิธีการหรื อกระบวนการ เพื่อ ช่วยในการหรื อแก้ปัญหาต่างๆทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล หรื อ องค์กร – สารสนเทศ (Information) หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจากการนาข้อมูลมา ผ่านกระบวนการต่างๆอย่างมีระบบ จนได้สิ่งที่เป็ นประโยชน์ มีคุณค่าและสาระ หรื อ มีเนื้อหาและรู ปแบบที่เหมาะสมตามความต้องการของผูใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ้ หมายถึง การนาความรู ้ทางด้านวิทยา
  • 4. • ศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ เพื่อสร้ างหรื อจัดการกับ สารสนเทศอย่างเป็ นระบบและรวดเร็ ว โดย อาศัยเทคโนโลยีทางด้ านคอมพิวเตอร์ ทังนี ้เพื่อให้ เกิดประโยชน์ตอบุคคล กลุมบุคคล หรื อ ้ ่ ่ องค์กร ทั ้งนี ้เทคโนโลยีสารสนเทศยังต้ องพึงพาเทคโนโลยีด้านการสื่อสารและโทร คมนาคม ่ ซึงเป็ นวิธีการที่จะส่งข้ อมูลจากที่หนึงไปอีกที่หนึง เพื่อการแลกเปลี่ยนหรื อเผยแพร่ข้อมูลและ ่ ่ ่ สารสนเทศได้ อย่างรวดเร็ ว ทันต่อการใช้ ประโยชน์ ผ่านอุปกรณ์สื่อสาร เช่น วิทยุ โทรศัพท์ เครื่ องโทรสาร คอมพิวเตอร์ คลื่นวิทยุ และดาวเทียม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประเทศไทย พ.ศ. 2545 – 2549 หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้ องกับข่าวสารข้ อมูล และการสื่อสารนับตังแต่การสร้ าง การนา ้ มาวิเคราะห์หรื อการประมวลผล การรับและการส่งข้ อมูล การจัดเก็บ และการนาข้ อมูล กลับไปใช้ งานใหม่ ระบบการสื่อสารและโทรคมนาคมที่เชื่อมโยงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทวมุม ั่ โลก • นางสาวเจนจิรา ศรี คงคา ม4/10 เลขที่ 12
  • 5. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ • องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ • มี 5 องค์ประกอบ ได้ แก่ ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์ แวร์ ข้ อมูล บุคลากร และขั้นตอนการปฏิบัตงาน ิ • ฮาร์ ดแวร์ เป็ นองค์ประกอบสาคัญ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ รอบข้ าง • ซอฟต์ แวร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นชุดคาสั่งที่สั่งให้ ฮาร์ ดแวร์ ทางาน • ข้ อมูล เป็ นส่ วนที่จะนาไปจัดเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์ • บุคลากรเป็ นผู้ที่มีส่วนเกียวข้ องกับงานคอมพิวเตอร์ ่ • ขั้นตอนการปฏิบตงาน เป็ นสิ่งที่จะต้ องเข้ าใจเพือให้ ทางานได้ ถูกต้ องเป็ นระบบ ั ิ ่ • 1. ฮาร์ ดแวร์ • ฮาร์ ดแวร์ เป็ นองค์ประกอบสาคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ รอบข้ าง รวมทั้ง อุปกรณ์ สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ เข้ าเป็ นเครือข่ าย เช่ น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดตรวจเมื่อพิจารณาเครื่อง คอมพิวเตอร์ สามารถแบ่ งเป็ น 3 หน่ วย คือ • หน่ วยรับข้ อมูล (input unit) ได้ แก่ แผงแป้ นอักขระ เมาส์ • หน่ วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) • หน่ วยแสดงผล (output unit) ได้ แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์
  • 6.
  • 7. • 2 . ซอฟต์ แวร์ • ซอฟต์ แวร์ หรื อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นองค์ ประกอบที่สาคัญประการที่สอง ซึ่งก็ คือลาดับขันตอนของคาสั่งที่จะสั่งงานให้ ฮาร์ ดแวร์ ทางาน เพื่อประมวลผลข้ อมูลให้ ้ ได้ ผลลัพธ์ ตามความต้ องการของการใช้ งาน ในปั จจุบันมีซอฟต์ แวร์ ระบบ ปฏิบัตงาน ซอฟต์ แวร์ ควบคุมระบบงาน ซอฟต์ แวร์ สาเร็จ และซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ ิ สาหรั บงานต่ างๆ ลักษณะการใช้ งานของซอฟต์ แวร์ ก่อนหน้ านี ้ • ซอฟต์ แวร์ คือ ชุดคาสั่งที่ส่ ังงานคอมพิวเตอร์ แบ่ งออกได้ หลายประเภท เช่ น • 1. ซอฟต์ แวร์ ระบบ คือ ซอฟต์ แวร์ ท่ ใช้ จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ และ ี อุปกรณ์ ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ เช่ น ระบบปฏิบัตการวินโดว์ ส ระบบปฏิบัตการดอส ิ ิ ระบบปฏิบัตการยูนิกซ์ ิ • 2. ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ คือ ซอฟต์ แวร์ ท่ พฒนาขึนเพื่อใช้ งานด้ านต่ างๆ ตาม ี ั ้ ความต้ องการของผู้ใช้ เช่ น ซอฟต์ แวร์ กราฟิ ก ซอฟต์ แวร์ ประมวลคา ซอฟต์ แวร์ ตารางทางาน ซอฟต์ แวร์ นาเสนอข้ อมูล
  • 8. 3. ข้ อมูล • ข้ อมูล เป็ นองค์ ประกอบที่สาคัญอีกประการหนึ่งของระบบสารสนเทศ อาจจะเป็ นตัวชี้ความสาเร็จหรือ ความล้ มเหลวของระบบได้ เนื่องจากจะต้ องมีการเก็บข้ อมูลจากแหล่ งกาเนิด ข้ อมูลจะต้ องมีความถูกต้ อง มีการกลันกรองและตรวจสอบแล้ วเท่ านั้นจึงจะมีประโยชน์ ข้ อมูลจาเป็ นจะต้ องมีมาตรฐาน โดยเฉพาะ ่ อย่ างยิงเมื่อใช้ งานในระดับกลุ่มหรือระดับองค์ กร ข้ อมูลต้ องมีโครงสร้ างในการจัดเก็บที่เป็ นระบบระเบียบ ่ เพือการสื บค้ นที่รวดเร็วมีประสิ ทธิภาพ ่ • 4. บุคลากร • บุคลากรในระดับผู้ใช้ ผู้บริหาร ผู้พฒนาระบบ นักวิเคราะห์ ระบบ และนักเขียนโปรแกรม เป็ น ั องค์ ประกอบสาคัญในความสาเร็จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรู้ ความสามารถทางคอมพิวเตอร์ มากเท่ าใดโอกาสที่จะใช้ งานระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ ได้ เต็มศักยภาพและคุ้มค่ ายิงมากขึน ่ ้ เท่ านั้น โดยเฉพาะระบบสารสนเทศในระดับบุคคลซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ มีขีดความสามารถมากขึน ทาให้ ้ ผู้ใช้ มีโอกาสพัฒนาความสามารถของตนเองและพัฒนาระบบงานได้ เองตามความต้ องการ สาหรับระบบ สารสนเทศในระดับกลุ่มและองค์ กรที่มีความซับซ้ อนจะต้ องใช้ บุคลากรในสาขาคอมพิวเตอร์ โดยตรงมา พัฒนาและดูแลระบบงาน
  • 9. • 5. ขั ้นตอนการปฏิบติงาน ั • ขันตอนการปฏิบติงานที่ชดเจนของผู้ใช้ หรื อของบุคลากรที่เกี่ยวข้ องก็เป็ นเรื่ องสาคัญอีก ้ ั ั ประการหนึง เมื่อได้ พฒนาระบบงานแล้ วจาเป็ นต้ องปฏิบติงานตามลาดับขันตอนในขณะที่ ่ ั ั ้ ใช้ งานก็จาเป็ นต้ องคานึงถึงลาดับขั ้นตอนการปฏิบติของคนและความสัมพันธ์กบเครื่ อง ทัง้ ั ั ในกรณีปกติและกรณีฉกเฉิน เช่น ขันตอนการบันทึกข้ อมูล ขันตอนการประมวลผล ขันตอน ุ ้ ้ ้ ปฏิบติเมื่อเครื่ องชารุดหรื อข้ อมูลสูญหาย และขันตอนการทาสาเนาข้ อมูลสารองเพื่อความ ั ้ ปลอดภัย เป็ นต้ น สิงเหล่านี ้จะต้ องมีการซักซ้ อม มีการเตรี ยมการ และการทาเอกสารคูมือ ่ ่ การใช้ งานที่ชดเจน ั • • นางสาว ณัฐสุดา พูนพ่วง ม.4/10 เลขที่ 22
  • 10. ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อสาร • ประโยชน์ และตัวอย่ างของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร • 1.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารถูกนามาใช้ เพืออานวยความสะดวกในการบริหารด้ าน ่ • การบริหารด้ านการศึกษา เช่ น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนียงใช้ เป็ น ้ั เครื่องมือในการเพิมโอกาสทางด้ านการศึกษาและเพิมประสิ ทธิภาพการเรียนการสอน การศึกษา ่ ่ ทางไกลผ่ านทางดาวเทียม บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ยงช่ วยเสริม ประสิ ทธิภาพการเรียนการสอนในวิชา ั ต่ างๆ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ • 2. เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารถูกนามาใช้ เริ่มตั้งแต่ การทาทะเบียนคนไข้ การรักษาพยาบาล ทั่วไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่ างๆ ได้ อย่ างรวดเร็วและแม่ นยา นอกจากนียงใช้ ในห้ องทดลอง ้ั การศึกษาและการวิจัยทางการแพทย์ งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี สามารถค้ นคว้ าข้ อมูลทางการแพทย์ รักษา คนไข้ ด้วยระบบการรักษาทางไกลตลอดเวลาผ่ านเครือข่ ายการสื่ อ สารเครื่องเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ ที่ เ รี ย กว่ า อี เอ็ ม ไอสแกนเนอร์ (EMI scanner) ถูกนามาใช้ ถ่ายภาพสมองมนุษย์ เพือตรวจหาความผิ ด ่ ปกติ ใ นสมอง และต่ อ มาได้ พั ฒ นาให้ ถ่ ายภาพหน้ าตัด ได้ ทั่วร่ างกาย เรียกชื่อว่ า ซีเอที (CAT- Computerized Axial Tomographyscanner: CAT scanner) เป็ นต้ น
  • 11.
  • 12. • 3. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ ประโยชน์ในด้ าน การเกษตรกรรม เช่น การจัดทาระบบข้ อมูลเพื่อการเกษตรและ พยากรณ์ผลผลิตด้ านการเกษตร นอกจากนี ้ ยังช่วยพัฒนา • ความก้ าวหน้ าทางด้ านอุตสาหกรรม การประดิษฐ์ ห่นยนต์เพื่อใช้ ทางาน ุ บ้ าน และหุ่นยนต์เพื่องานอุตสาหกรรมที่ต้องเสี่ยงภัยและเป็ นอันตราย ต่อสุขภาพ รวมถึงงานที่ต้องทาช้ าๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ และ โรงงานแบตเตอรี่ ปั จจุบนเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารเข้ ามามี ั บทบาทอย่างมากในการผลิตและควบคุมคุณภาพสินค้ า การส่งสินค้ า ตามใบสังสินค้ า การควบคุมวัสดุคงคลัง และการคิดราคาต้ นทุนสินค้ า ่
  • 13. • 4. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ ในด้ านการเงินและการ ธนาคาร โดยใช้ ช่วยงานด้ านการบัญชี การฝากถอนเงิน โอนเงิน บริ จาค สินเชื่อ แลกเปลี่ยนเงินตรา บริ การข่าวสารการธนาคาร การใช้ คอมพิวเตอร์ ด้ านการเงินการธนาคารที่ร้ ูจกและนิยมใช้ กนทัวไป เช่น บริ การฝากถอนเงิน ั ั ่ การโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้ เกิดความสะดวกรวดเร็ วต่อการดาเนิน ธุรกิจต่างๆ • 5. มี การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกัน อย่างแพร่หลาย เช่น ใช้ ในการควบคุมประสานงาน วงจรสื่อสารทหาร การแปลรหัสลับในงานจาร กรรมระหว่างประเทศ การส่งดาวเทียมและการคานวณวิ ถี การโคจรของ จรวดไปสู่ อวกาศสานักงานตารวจแห่งชาติ ของประเทศไทยมรศูนย์ประมวล ข่าวสาร มีระบบจัดทาทะเบียนปื น ทะเบียนประวัตอาชญากร ทาให้ เกิด ิ ความสะดวกและรวดเร็ วในการสืบค้ นข้ อมูลเพื่อการสืบสวนคดีตางๆ ่
  • 14. • 6. มีการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในส่วนที่ เกี่ยวการ เดินทาง เช่น การเดินทางโดยรถไฟ มีการเชื่อมโยงข้ อมูลการจองที่นงไป ั่ ยังทุกสถานี ทาให้ สะดวกต่อผู้โดยสารการเช็คอินของสายการบิน ได้ จด ั ทาเครื่ องมือที่สะดวกต่อลูกค้ า ในรูปแบบของการเช็คอินด้ วยตนเอง • 7. มีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการออกแบบ หรื อจา ลองสภาวการณ์ตางๆ เช่น การรับแรงสันสะเทือนของอาคารเมื่อเกิด ่ ่ แผ่นดินไหว โดยการคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ ใกล้ เคียงความ จริงตัวอย่างซอฟต์แวร์ คานวณการเกิดแผ่นดินไหว
  • 15. • 8. องค์กรในภาคธุรกิจใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการบริ หารจัดการ เพื่อช่วยเพิ่มความยืดหยุนให้ กับองค์กรในการทางาน ่ ทาให้ การประสานงานหรื อการทากิจ กรรมต่างๆ ของแต่ละหน่วยงานใน องค์กร หรื อระหว่างองค์กรเป็ นไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ ้น นอกจากนี ้ ยังสามารถนามาใช้ ปรับปรุงการให้ บริ การกับลูกค้ าซึงเป็ นการสร้ างภาพพจน์ ่ ที่ดีขององค์กรต่อลูกค้ าทัว ไปสิง เหล่ า นี ้นับเป็ นการสร้ างโอกาสความ ่ ่ ได้ เปรี ยบในการแข่งขันให้ กบองค์กร เช่น การให้ บริ การชาระค่าสินค้ า ผ่าน ั จุดชาระค่าบริ การการสัง ซื ้อสินค้ า ทางอินเทอร์ เน็ต และการตรวจสอบราคา ่ สินค้ าผ่านเครื่ องอ่านราคาสินค้ า • นางสาวณัฐณิชา กุลพัฒนานันท์ ม.4/10 เลขที่ 6
  • 16. แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 1.4.1 ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เมื่อพิจารณาเครื อข่ายการสื่ อสาร ทัวไปจากอดีตจนถึงปั จจุบน เห็นได้ชดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่ อสารแบบพกพามาก ่ ั ั ขึ้นเรื่ อยๆ เริ่ มจากวิทยุเรี ยกตัว (pager) ซึ่ งเป็ นเครื่ องรับข้อความ มาเป็ น โทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรู ป ฟังเพลง ฟัง วิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกงานสั้นๆ โทรศัพท์บางรุ่ นมีลกษณะเป็ นเครื่ องช่วยงานส่ วน ั บุคคล (Personal Digital Assistant : PDA) ซึ่ งสามารถเชื่อต่อกับ อินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทาให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บาง รุ่ นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus) คือใช้ปากกาป้ อนข้อมูลทางหน้าจอ บางรุ่ นสามารถ สังการด้วยเสี ยง ตัวอย่างอุปกรณ์สื่อสารและสารสนเทศแบบพกพา ่
  • 17.
  • 18. • ในอนาคตอันใกล้ มนุษย์จะมีอปกรณ์ที่ทนสมัยใช้ กนมากขึ ้น นอกเหนือจาก ุ ั ั การพูดคุยแบบเห็นหน้ าผ่านอินเทอร์ เน็ต มนุษย์สามารถพูดคุยแบบเห็นหน้ า ผ่านทางโทรศัพท์มือถือ ทาให้ สามารถติดต่อกันได้ ด้วยค่าใช้ จ่ายที่ถกลงู สามารถส่งข้ อความ ภาพ และเสียง ได้ โดยง่ายดาย สะดวกรวดเร็ ว อีกทังยัง ้ ค้ นหาข้ อมูลด้ วยภาษาที่เป็ นธรรมชาติมากขึ ้นด้ วยเว็บรุ่นที่สาม ( Web 3.0 ) แทนที่จะเป็ นการใช้ คาหลักเหมือนดังที่ใช้ ในปั จจุบน ตัวอย่างการใช้ ั งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แบบพกพารุ่นใหม่ • ดังนันอุปกรณ์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคตมี ้ แนวโน้ มเป็ นดังนี ้คือ มีขนาดเล็กลง พกพาได้ ง่าย แต่มีประสิทธิภาพสูงขึ ้น เช่น เก็บข้ อมูลได้ มากขึ ้น ประมวลผลได้ เร็ วขึ ้น ใช้ งานได้ หลากหลายมากขึ ้น โดยมีการผนวกอุปกรณ์หลายๆอย่างไว้ ในเครื่ องเดียว ( all-in-one ) ที่ รูปที่ 1.25 ตัวอย่างอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต
  • 19. • สาคัญอุปกรณ์เหล่านี้ตองใช้งานง่ายขึ้น รวมถึงสามารถสังงานด้วยเสี ยงได้ นอกจากนี้ ยังมีระบบ ้ ่ รักษาความปลอดภัยที่ดีข้ ึน โดยอาศัยลายนิ้วมือหรื อจอม่านตา แทนการพิมพ์รหัสแบบในปั จจุบน ั ตัวอย่างอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารในอนาคต 1.4.2 ด้านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็ นระบบที่ใช้ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อตรงเพียงชุดเดียว ( stand alone ) • ต่อมามีการเชื่อต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ขอมูลร่ วมกัน หรื อ ้ ใช้เครื่ องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิดเป็ นระบบรับและให้บริ การ หรื อเรี ยกว่าระบบรับ-ให้บริ การ ( client-server system ) โดยมีเครื่ องให้บริ การ ( server ) และเครื่ องรับบริ การ ( client )รู ปที่ 1.26 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อตรงเพียงชุดเดียว ( stand alone ) • การให้บริ การบนเว็บก็นาหลักการของระบบรับ-ให้บริ การมาใช้ช่วยให้การทางานง่าย สะดวก รวดเร็ว เพราะสามารถทางานจากที่ใดก็ได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยมีเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ ( web server ) เป็ นเครื่ องให้บริ การ
  • 20. • เมื่อการใช้งานอินเทอร์เน็ตเป็ นไปอย่างแพร่ หลาย การพัฒนาระบบเครื อข่ายเพื่อให้ ผูใช้สามารถสื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้โดยตรง โดยที่เครื่ องให้บริ การมีหน้าที่ ้ เพียงแค่เก็บตาแหน่งของเครื่ องผูใช้งานที่มีขอมูลนั้นๆอยู่ เพื่อให้เครื่ องอื่นสามารถ ้ ้ ่ ้ ่ ทราบที่อยูที่มีขอมูลดังกล่าว และเข้าถึงข้อมูลนั้นได้ เรี ยกระบบแบบนี้วาเครื อข่าย ระดับเดียวกัน ( Peer-to-Peer network: P2P network) • ปั จจุบนมีการใช้แลนไร้สาย ( wireless LAN ) ในสถาบันการศึกษา และองค์กร ั หลายแห่ง การให้บริ การแลนไร้สาย หรื อ ( Wi-Fi ) ตามห้างสรรพสิ นค้า ร้านขาย เครื่ องดื่ม หรื อห้องรับรองของโรงแรมใหญ่ ภายใต้ความร่ วมมือของผูให้บริ การ ทาให้ ้ นักธุรกิจสามารถดาเนินธุรกรรมผ่านระบบอินเทอร์เน็ตแบบไร้สายได้ หรื อบางราย อาจซื้ อบริ การอินเทอร์เน็ตแบบไร้สายผ่านทางโทรศัพท์มือถือ นอกจากนี้ยงเริ่ มมีการ ั ใช้เทคโนโลยีติดตามตาแหน่งรถด้วยจีพีเอส ( Global Positioning System: GPS ) กับรถแท็กซี่ เพื่อความปลอดภัยทั้งผูโดยสารและผูขบรถ ้ ้ั
  • 21. • 1.4.3 ด้านเทคโนโลยี ระบบทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสิ นใจได้เองจะเข้ามา แทนที่มากขึ้น เช่น ระบบแนะนาเส้นทางจราจร ระบบจอดรถ ระบบตรวจหา ตาแหน่งของวัตถุ ระบบควบคุมความปลอดภัยภายในอาคาร ระบบทางาน อัตโนมัติเช่นนี้ อาจกลายเป็ นระบบหลักในการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ โดย เข้ามาแทนที่การทางานของมนุษย์ มีการเชื่อมต่อเครื อข่ายอย่างกว้างขวางไปยัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่เป็ นอยูในปั จจุบน ตัวอย่างระบบจอดรถอัตโนมัติ ่ ั • นางสาว เบญญา เนตรทิพย์ ม.4/10 เลขที่ 15
  • 22. ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสาร • ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร • ความก้าวหน้าของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว เพื่อ สนองความต้องการด้านต่างๆ ของผูใช้ในปั จจุบนซึ่ งมีผใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและ ้ ั ู้ การสื่ อสารทัวโลกประมาณพันล้านคน และเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ ทุกปี ผูใช้สามารถใช้งานอุปกรณ์ ่ ้ ดังกล่าวได้ทุกที่ ทุกเวลา จึงทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ทั้งที่เกิดประโยชน์และโทษ เช่น • 1) ด้านสังคม สภาพเหมือนจริ ง การใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางานต่างๆ จนเกิดเป็ น สังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรื อที่รู้จกกันว่า ไวเบอร์สเปซ (cyber space) ซึ่ งมี ั กิจกรรมต่างๆ เช่น การพูดคุย การซื้ อสิ นค้า และการบริ การ การทางานผ่านเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ทาให้เกิดสภาพที่เหมือนจริ ง (virtual) เช่น เกมเสมือนจริ ง ห้องสมุดเสมือน จริ ง พิพิธภัณฑ์เสมือนจริ ง ห้องประชุมเสมือนจริ ง และที่ทา
  • 23. • งานเสมือนจริ ง ซึ่งทาไห้ลดเวลาในการเดินทางและสามารถใช้งานได้ทุสาหรับเกม ั ้ เสมือนจริ ง อาจสร้างปั ญหาให้กบผูใช้ท่ีไม่สามารถแยกแยะระหว่างเกมหรื อชีวตจริ ง อาจ ิ ใช้ความรุ นแรงเลียนแบบเกม และเกิดปั ญหาอาชญากรรมตามที่เป็ นข่าวในสังคมปั จจุบน ั การใช้เงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Cash) การใช้เงินตราจะเริ่ มเปลี่ยนรู ปแบบเป็ นการใช้เงิน อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น ทาให้พกเงินสดน้อยลง เพิมความสะดวกในการซื้อสิ นค้าและการ ่ บริ การต่างๆ ด้วยบัตรที่มีลกษณะเป็ นบัตรสมาร์ต หรื อสมาร์ตการ์ด (smart card) ั ั ดังรู ปที่ 1.32 ซึ่งบัตรใบเดียวสามารถใช้ได้กบธุรกรรมหลายประเภท ตั้งแต่เป็ นบัตร ประจาตัวประชาชน ใบอนุญาตขับขี่ บัตรประจาตัวพนักงานหรื อบัตรประจาตัวนักเรี ยน นักศึกษา บัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต ตลอดจนบัตรสมาชิกห้างสรรพสิ นค้า ร้านค้า และ ร้านอาหารต่างๆ
  • 24. • เนื่องจากพฤติกรรมการใช้ เงินที่เปลี่ยนแปลงไปดังกล่าว ข้ อมูลส่วนบุคคลจะ ถูกจัดเก็บไว้ ในระบบอิเล็กทรอนิกส์มากขึ ้น อาจมีผ้ ประสงค์ร้ายลักลอบนา ู ข้ อมูล เช่น ชื่อ-นามสกุล เลขที่บตรประจาตัวประชาชน เบอร์ โทรศัพท์ และ ั รหัสที่ใช้ ในการถอนเงิน ซึงเป็ นข้ อมูลส่วนบุคคลมาใช้ ในทางที่ผิด เช่น ่ ลักลอบเข้ าสูระบบฐานข้ อมูลบัญชีเงินฝากของธนาคาร เพื่อโอนเงินเข้ าบัญชี ่ ของตนเอง การโทรศัพท์มาแอบอ้ างเป็ นเจ้ าหน้ าที่ของกรมสรรพากร หลอก ให้ ทาการโอนเงินจากบัญชีออกไปให้ โดยบอกว่าจะทาการคืนเงินภาษี ทาง ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ตัวอย่างการก่ออาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ • บริ การนาเสนอแบบตามคาขอหรื อออนดีมานด์ (on demand) เป็ นการ เข้ าถึงข้ อมูลตามความต้ องการของผู้ใช้ ได้ ตลอดเวลา เช่น การเลือกชม รายการโทรทัศน์ หรื อฟั งรายการวิทยุย้อนหลังได้ ทางเว็บไซด์ แทนการ ติดตามดูรายการโทรทัศน์ หรื อฟั งรายการวิทยุ ตามตารางที่ทางสถานี กาหนดไว้ ลวงหน้ า ่
  • 25.
  • 26. • การศึกษาออนดีมานด์ (education on demand) เป็ นการเปิ ด เว็บไซต์ของสถาบันการศึกษา ณ ที่ใด เวลา ใดก็ได้ แล้วเลือกวิชาเรี ยน บทเรี ยนได้ ซึ่งเป็ นลักษณะหนึ่งของอีเลิร์นนิง (e-Learning) ตัวอย่าง ของการนาเสนอรายการโทรทัศน์แบบออนดีมานด์การได้รับเทคโนโลยีมาก เกินไป (technology overlord) การพัฒนาของเทคโนโลยีเป็ นไป อย่างต่อเนื่องและรวดเร็ ว โดยมีรูปแบบที่หลากหลาย ทาให้น่าสนใจ และ สะดวกในการเข้าถึง สิ่ งเหล่านี้เป็ นแรงดึงดูดให้บุคคลเกิดความลุ่มหลงจน เกิดเป็ นอาการติดเทคโนโลยี เช่น ติดการใช้โทรศัพท์มือถือ การถ่ายคลิป การ เข้าถึงข้อมูลในอินเทอร์เน็ต การส่ งข้อความออนไลน์ การใช้อีเมล์ • เล่นเกมออนไลน์ ซึ่งอาจนาไปสู่ ปัญหาสุ ขภาพ รวมถึงการทาลายสัมพันธภาพ ทางสังคม เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อน หรื อเพื่อนร่ วมงานได้ ผูติดเทคโนโลยีมี ้ อาการในลักษณะเดียวกับผูติดสิ่ งเสพติดอย่างการพนัน สุ รา หรื อยาเสพติด ้
  • 27. • เริ่ มต้ นจากการแสวงหาเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างสม่าเสมอ เพิ่มระดับการใช้ งาน เทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง จนถึงในภาวะที่ไม่สามารถหยุดการใช้ งานได้ เกิดความรู้สก ึ กระวนกระวายใจเมื่อลืมโทรศัพท์มือถือหรื ออยูในสถานที่ที่เชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตไม่ได้ ่ ถึงแม้ จะตระหนักถึงผลที่ตามมาเป็ นอย่างดีก็ตาม ดังนันผู้ปกครองจึงควรเอาใจใส่ ้ ติดตามเทคโนโลยีให้ อยูในขอบเขตที่เหมาะสม ส่งเสริ มให้ มีการใช้ เวลาว่างในการทา ่ กิจกรรมอื่นๆ ที่เป็ นประโยชน์ แทนการใช้ เทคโนโลยีที่มากเกินไป • 2) ด้ านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้ เกิดสังคม โลกาภิวฒน์(globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศน์ที่จะส่ง ั กระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ ทวโลก สามารถรับรู้ขาวสารได้ ทนที ใช้ ั่ ่ ั อินเทอร์ เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจซึงแต่เดิมมีขอบเขตจากัด ่ ภายในประเทศ ก็กระจายเป็ นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยน สินค้ าและบริ การอย่างกว้ างขวางและรวดเร็ ว ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลก จึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ ้น
  • 28.
  • 29. • 3) ด้านสิ่ งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มีประโยชน์ใน ด้านธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เช่น ระบบป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ ภาพถ่ายดาวเทียม หรื อภาพถ่ายทางอากาศร่ วมกับการจดเก็บรักษาข้อมูล ระดับน้ าทะเล ความสู งของคลื่นจากระบบเรดาร์ เป็ นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุ และนาข้อมูลมาวางแผนและสร้างระบบเพื่อป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่งแต่ละ แห่งได้อย่างเหมาะสม • นอกจากนี้ในรถยนต์ท่ีใช้เครื่ องยนต์แบบผสม (hybrid engine) เพื่อ รักษาสิ่ งแวดล้อมก็ตองใช้เทคโนโลยีเพื่อควบคุมให้เครื่ องยนต์ลดการเผาไหม้ ้ น้ ามันเชื้อเพลิง เป็ นการช่วยลดมลภาวะจากก๊าซ-ไนโตรเจนออกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน และก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ ที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารช่วยรักษาธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม
  • 30. • ขยะ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ จอภาพ คีย์บอร์ ด เมาส์ เครื่ องพิมพ์ ที่เสีย หรื อไม่ใช้ งานแล้ ว รวมถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่ถกทิ ้งเป็ นขยะ ซึงต่างจากขยะทัวไป ู ่ ่ เช่น ถุงพลาสติก และเศษอาหาร โดยในขยะอิเล็กทรอนิกส์ชิ ้นหนึงๆ มีสวนประกอบที่เป็ น ่ ่ โลหะและพลาสติก รวมถึงวัสดุอื่นๆ ที่ประกอบกันอย่างซับซ้ อน ยากต่อการแยกออกมา โดยเฉพาะในแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ มีรายงานพบว่าขยะเหล่านี ้นอกจากจะมีปริ มาณ เพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ วแล้ ว ยังปลดปล่อยสารพิษปะปนเข้ าสูสงแวดล้ อม การแยกชิ ้นส่วนขยะ ่ ิ่ อิเล็กทรอนิกส์แล้ วนากลับมาหลอมใช้ ใหม่ หรื อรี ไซเคิล จึงทาได้ ยากมากกว่าขยะทัวไป ่ เพราะต้ องมีขั ้นตอนวิธีที่เหมาะสม จึงต้ องมีการศึกษาอย่างละเอียดโดยผู้เชี่ยวชาญและต้ อง จัดการอย่างมีระบบ ดังนั ้นจึงควรใช้ อปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้ ค้ มค่า จะซื ้อใหม่เมื่ออุปกรณ์ ุ ุ นันไม่สามารถซ่อมได้ แล้ ว และไม่เปลี่ยนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บอยๆตามกระแสนิยม ้ ่ ตัวอย่างขยะอิเล็กทรอนิกส์ • นางสาว รพีพรรณ ดวงตา ม.4/10 เลขที่ 17
  • 31.
  • 32. ตัวอย่างอาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร • ตัวอย่างอาชีพทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • 1. ทาหน้ าที่บริ หารและจัดการระบบคอมพิวเตอร์ ในองค์กร โดยดูแลการติดตังและบารุง ้ รักษาระบบปฏิบติการ การติดตังฮาร์ ดแวร์ การติดตังและการปรับปรุงซอฟต์แวร์ สร้ าง ั ้ ้ ออกแบบและบารุงรักษาบัญชีผ้ ใช้ สาหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้ าหน้ าที่ควบคุมระบบอาจต้ อง ู ดูแลและบริ หารระบบเครื อข่ายด้ วย • 2. ทาหน้ าที่บริ หารและจัดการออกแบบระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และดูแลรักษาความ • ปลอดภัยของระบบ เครื อข่าย ขององค์กร เช่น ตรวจสอบการใช้ งานเครื อข่ายของพนักงาน • และติดตั ้งโปรแกรมปองกันผู้บกรุกเครื อข่าย ้ ุ
  • 33.
  • 34. • 3. ทาหน้าที่ ซ่อม บารุ งรักษา เครื่ องคอมพิวเตอร์ ติดตั้งโปรแกรม หรื อ ติดตั้งฮาร์ดแวร์ต่างๆ และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดจากการใช้งานอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ในองค์กร • 4. ทาหน้าที่เขียนหรื อพัฒนาโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบนนี้การ ั เขียนเกมคอมพิวเตอร์ เป็ นอาชีพที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในประเทศ ไทย • นางสาวจินตนา โควณิ ช ม.4/10 เลขที่ 38