SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การแก้ไขและฟื้ นฟูระบบไฟฟ้ ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์ หลังวิ กฤติ น้าท่วม

         ในสถานการณ์ท่น้ าท่ วมหนักในหลายพื้น ที่ของประเทศไทย ก่อให้เกิดความเสียหายอย่าง
                         ี
รุนแรงอย่างไม่เคยเกิดขึนมาก่อนในรอบหลายสิบปี ซึ่งภาวะน้ าท่วมส่ง ผลต่อเครื่องจักรกลและอุปกรณ์
                       ้
ภายในโรงงานทีไม่สามารถขนย้ายได้ทน จึงได้รบความเสียหายคิดเป็นเงินมูลค่ามหาศาล โดยเฉพาะ
                ่                     ั        ั
ปจ จุบน เครื่องจักรและอุปกรณ์ ส่ วนใหญ่ จ ะใช้ร ะบบไฟฟ้าและระบบอิเลคทรอนิกส์ควบคุม น้ าและ
    ั ั
ความชื้นเป็นภัยที่ร้ายแรงต่อเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ ทาให้โลหะเกิดการสึกกร่อน ชารุดเสียหาย
หลุดหลวมเป็นสนิม อุปกรณ์เสื่อมสภาพ ส่งผลกระทบต่อสภาพการใช้อย่างปลอดภัย การแก้ไขและฟื้นฟู
ระบบไฟฟ้ากาลังและเครื่องจักรกลในกระบวนการผลิตจึงควรเร่งดาเนินการ เพื่อให้โรงงานอุตสาหกรรม
สามารถกลับมาผลิตสินค้าได้ตามเดิม ซึ่งต้องมีการวิเคราะห์ ตรวจสอบ ซ่อมแซม รวมถึงต้องเปลี่ยน
ชินส่วนใหม่หรืออุปกรณ์ใหม่เพื่อทาให้ระบบไฟฟ้ากาลังและกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม
  ้
สามารถทางานได้อย่างปลอดภัยและถูกต้อง โดยกระบวนการเตรียมการก่อนน้าท่วมและการฟื้นฟูระบบ
ไฟฟ้ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์ สรุปเป็นแนวทางได้ดงนี้
                                                     ั




    1. การประเมินสถานการณ์ ความรุนแรงของปัญหาและการเตรียมการป้ องกันก่อนน้าท่วม
    การประเมินสถานการณ์ก่อนเกิดน้ าท่วม โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่เตรียมการป้องกันได้ก่อน
บางส่วนแล้ว และทราบล่วงหน้ าแล้วว่าจะเกิดเหตุการณ์ น้ าท่ วม แต่อาจประเมินสถานการณ์ และ
ผลกระทบไม่ครอบคลุมเพียงพอ ซึงสถานประกอบการควรมีการเตรียมความพร้อม ดังนี้
                                   ่
    - ควรจัดเก็บ ขนย้ายวัตถุดบ ผลิตภัณฑ์ สารเคมี ต้องมีการเก็บสารไวไฟ หรือสารเคมีอ่น ๆ ให้
                                 ิ                                                      ื
อยูในพืนทีทน้าท่วมไม่ถง เช่น ก๊าซโซลีน เชื้อเพลิงเหลวทินเนอร์ และต้องทาความสะอาดภาชนะและ
   ่ ้ ่ ่ี             ึ
บริเวณทีมของเหลวจุดติดไฟได้เก็บไว้ในสถานที่ท่มการถ่ายเทอากาศดี เก็บของเหลวที่จุดติดไฟได้ให้
         ่ ี                                     ี ี
ห่างจากแหล่งความร้อน
    - การหยุดเดินเครื่องจักร ตัดกระแสไฟฟ้า หากน้ าท่วมอาคารโรงงานควรจะปิ ดเมนเบรกเกอร์
หรือกล่องฟิวส์เพื่อปิดระบบไฟฟ้าของโรงงาน ไม่ให้มกระแสไฟฟ้าไหลในระบบ ซึงจะช่วยลดอันตรายแก่
                                                     ี                      ่
ผูอยูอาศัย ผูปฏิบตงาน และแก้ปญหาจากไฟฟ้าลัดวงจรได้
  ้ ่        ้ ั ิ             ั
    - ห้ามใช้เครื่องให้ความร้อนทีใช้เชือเพลิงอื่นแทนไฟฟ้าเปาแห้งเสือผ้า หรืออุปกรณ์ตกแต่งบ้าน
                                     ่ ้                   ่       ้
- ระวังการใช้เทียนไขและควรให้เปลวไฟห่างจากวัสดุทตดไฟได้และเด็ก
                                                        ่ี ิ
     - ไม่ละลายท่อที่มน้ าแข็งเกาะ ด้วยการเป่าด้วยเปลวไฟ หรือให้สมผัสเปลวไฟ แต่ให้ใช้น้ าร้อน
                         ี                                           ั
                ่ ่
หรือใช้เครื่องเปาทีได้มาตรฐาน
     - แนวคิดการป้องกันเครื่องจักรจากน้ าท่ วม ควรสร้างภาชนะที่ภายในสามารถกักอากาศไว้ไ ด้
ครอบเครื่องจักร โดยต้องยึดตรึงภาชนะนี้กบพื้น เพื่อเอาชนะแรงพยุงตัวของอากาศ อากาศภายใน
                                         ั
ภาชนะจะกันไม่ใ ห้น้ าเข้าไปใต้ภาชนะได้ จึง เป็ น การป้องกัน น้ าท่วมเครื่องจักรแบบไม่ต้องขนย้าย
เครื่องจักรหนี




   -

       machine vessel.png (20.03 KB) - View: 23 times

   2. จัดตังคณะกรรมการความปลอดภัยของโรงงาน
           ้
       ทางโรงงานควรจัดตังทีมหรือทีมทีมอยูแล้วเป็นคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
                        ้             ่ ี ่
สิงแวดล้อมในการท างานของสถานประกอบการ โดยทีมงานต้องวิเคราะห์ความปลอดภัยของสถาน
  ่
ประกอบการ และทาการบ่งชีอนตรายทีมอยู่ โดยดาเนินการอย่างรอบคอบ มีภาระหน้าที่ ดังนี้
                          ้ ั     ่ ี
           การควบคุมและป้องกันการประสบอันตรายจากการเข้าฟื้นฟูสถานประกอบการ
           การสารวจจุดอันตรายและจุดความปลอดภัย
           การจัดทาข้อบ่งชีถงจุดอันตรายและประเมินความเสียง
                              ้ ึ                         ่
           การวางระบบรายงานสภาพการทางานทีไม่ปลอดภัย
                                                  ่
           การเฝ้าระวังและตรวจประเมินระบบ
           การประเมินผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัยในการทางาน
           การประชุม ประสานงานกับผูประกอบการหน่วยต่าง ๆ และการติดตามอย่างใกล้ชด
                                          ้                                       ิ
3. การสารวจความเสียหาย
         เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในสถานประกอบการต้องควบคุมพื้น ที่ทงหมดก่อน เพื่อดาเนินการ
                                                                           ั้
ติดตามความปลอดภัยของโรงงาน จนกระทั ่งเห็นว่าปลอดภัยจึงส่ง มอบพื้นที่ให้ส่วนที่ร บผิดชอบเข้า
                                                                                ั
ดาเนินการต่อไป การสารวจความเสียหายของเครื่องจักรและอุปกรณ์จากภัยน้าท่วม มีแนวทางดังนี้
     - การสารวจความเสียหายโดยการรวบรวมแบบและเอกสารที่เกี่ยวข้องที่มอยู่ โดยใช้การเดิน
                                                                              ี
สารวจ (Walkthrough) การสารวจต้องดาเนินการโดยเจ้าหน้าทีทมความรู้และประสบการณ์ของโรงงาน
                                                              ่ ่ี ี
อุตสาหกรรมนัน ซึ่งตรวจดูสภาพความเสียหายในขันตอนนี้เป็นเพียงขันตอนเบื้องต้น (Preliminary)
                   ้                              ้                    ้
เท่านัน การเข้าใจความเสียหายรวมทังหมดได้ ต้องรวมถึงการถอดประกอบ (Disassemble) อุปกรณ์ ท่ี
       ้                            ้
ติดตังอยูในโรงงานอุตสาหกรรม ซึงจะช่วยในการวางแผนกาลังคน (Man–power) และกาหนดแผนงาน
      ้ ่                        ่
เบืองต้น (Preliminary Schedule) ของงานซ่อมบารุง
   ้
     - มาตรการด้ า นความปลอดภั ย ในการปฏิ บ ัติ ง าน ได้ แ ก่ ขัน ตอนติ ด ป้ าย และล็ อ ก
                                                                         ้
Lockout/Tagout) ทดสอบก่อนสัมผัสอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือจุดที่มไฟฟ้า (Test Before Touch) และการต่อ
                                                          ี
ลงดินก่อนทางาน (Applying Safety Ground)
     - จัดหาอุปกรณ์ ป้องกัน อัน ตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment: PPE) เช่ น
รองเท้ายาง เครื่องช่วยหายใจ หน้ากากกันฝุ่น ถุงมือยาง หมวกนิรภัย อุปกรณ์ตรวจสอบก๊าซรั ่วชนิด
พกพา เป็นต้น
     - การจัดเตรียมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองและระบบการจ่ายไฟชั ่วคราวเป็นอีกกรณีทมความสาคัญ
                                                                                  ่ี ี
มากในการกู้ภย เมื่ออุทกภัยผ่านไปแล้วสิงแรกที่โรงงานอุตสาหกรรมต้องการก็คือไฟแสงสว่างและ
                 ั                       ่
เครื่องสูบน้ า อุปกรณ์ทงสองอย่างนี้ต้องการไฟฟ้ากาลังจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองและระบบจ่าย
                         ั้
พลัง งานไฟฟ้าชั ่วคราว มีข้อแนะนาที่สาคัญก็คอห้ามจ่ายไฟผ่านระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้าถาวรของ
                                               ื
โรงงานอุตสาหกรรมในทันที ในกรณีท่ต้องใช้มอเตอร์ในการขับเครื่องสูบน้ า ก็ให้จ่ายไฟฟ้าด้วยเครื่อง
                                      ี
กาเนิดไฟฟ้าสารองผ่านตู้ควบคุมมอเตอร์แบบชั ่วคราว ติดตังอยู่ใกล้กบมอเตอร์พร้อมติดป้ายระบุว่า
                                                            ้        ั
มอเตอร์ชุดนี้รบไฟชั ่วคราว “This Equipment is Supplied by Temporary Power”
               ั

   4. จุดตรวจสอบเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มีโอกาสเสียหายจากน้าท่วม
           โครงสร้างอาคารและพืนทีปฏิบตงาน
                                ้ ่ ั ิ
           ระบบไฟฟ้ากาลังและตูควบคุม
                                 ้
           ระบบปมลมและท่อลม
                    ั๊
           ระบบควบคุมเครื่องจักร ระบบอิเลคทรอนิกส์
           ระบบไฮดรอลิกส์และนิวเมติกส์
           ระบบฐานข้อมูล
           เครื่องมือตรวจสอบและเครื่องมือควบคุมคุณภาพต่าง ๆ
5. การจัดทารายละเอียดข้อบกพร่อง ความเสียหายของระบบไฟฟ้ ากาลัง เครื่องจักรและ
       อุปกรณ์
         การจัดทารายละเอียดของระบบไฟฟ้ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์เป็นเอกสาร ซึงเป็นสิงสาคัญมาก
                                                                                 ่      ่
ถือเป็ นกุญ แจสู่ความสาเร็จ ของการซ่อมคืนสภาพ รายละเอียดของอุปกรณ์ ทุกชิ้นต้องถูกจัดท าเป็ น
เอกสารก่อนทีจะถูกถอดประกอบ รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ายออกจากสถานที่ตดตังเพื่อให้แน่ ใจว่าเมื่อนา
                 ่                                                     ิ ้
กลับมาติดตังใหม่อีกครังจะติดตังได้อย่างถูกต้อง การจัด ท าเอกสาร รายละเอียดต่าง ๆ มีขนตอน
               ้           ้         ้                                                           ั้
ดังต่อไปนี้
         * ติด ป้ ายหมายเลข (Tagging) ชิ้น ส่ ว นทุ ก ชิ้น ของอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ าและเครื่อ งจัก ร
         * ทาเครื่องหมาย (Labeling) อุปกรณ์ทุกชิน      ้
         * ถ่ายรูปดิจตอลของอุปกรณ์ทุกชิน
                       ิ                   ้
         * สังเกตไดอะแกรมของชินส่วนแต่ละชินของอุปกรณ์ให้ถูกต้องลงในแบบของอุปกรณ์นน ๆ
                                   ้           ้                                          ั้
         * กรอกรายละเอียดของอุปกรณ์ ลงในแบบฟอร์มเพื่อเป็นหลักฐานในการติดตามหรือตามหา
         (Tracking Form)
           * จัดเก็บไฟล์รปภาพดิจตอลลงในแหล่งเก็บข้อมูลกลาง
                         ู       ิ
           * จัดทาระบบจัดเก็บเอกสารเพื่อจัดเก็บแบบของอุปกรณ์ให้เป็นระบบเพื่อสามารถค้นหาและ
         นามาใช้งานได้อย่างรวดเร็ว
           * รวบรวม Equipment Tracking Form ทีกรอกรายละเอียดแล้ว และจัดทาเป็นเอกสารควบคุม
                                                     ่
         (Controlled Copy)
         * บริหารและจัดการเอกสารส่งออก (Shipping Document) ให้เป็นระบบ
    - การติดป้ ายหมายเลขกับ อุ ป กรณ์ ทุ ก ชิ้น และกรอกรายละเอีย ดที่เ กี่ย วข้อ งทัง หมดรวมถึง
                                                                                    ้
Sequence Number, รายละเอียดของอุปกรณ์ , Plant Identification Number, วันที่, หมายเลขห้อง (ที่
อุปกรณ์ตดตังอยู่) เช่น รับไฟจากแหล่งจ่ายไฟใด กรอกข้อมูลดังกล่าวให้อ่านออกและติดป้ายเข้ากับ
            ิ ้
อุปกรณ์ไฟฟ้าให้แน่ นหนาด้วย Tie Wrap (ไม่ใช้เชือก) การทาสัญลักษณ์สายคอนโทรลทังหมดด้วย        ้
หมายเลข (Wire Number) และสายไฟฟ้ากาลังทังหมดด้วยเทปสีแสดงเฟส (ประเทศไทยใช้ สีดา แดง
                                                   ้
น้าเงิน ขาว แทน เฟส A, เฟส B, เฟส C และสายนิวตรอล) ต้องมั ่นใจว่าได้ทาสัญลักษณ์ไว้ท่ปลายสาย    ี
ทังสองด้านเพื่อจะได้เข้าสายได้ถูกต้องในภายหลัง
  ้
    - เมื่อติดป้ายอุปกรณ์ต่าง ๆ และทาสัญลักษณ์ครบถ้วนแล้ว ก็ให้ถ่ายรูปชิ้นส่วนอุปกรณ์แต่ละชิ้น
จานวนสองรูป รูปแรกให้ถ่ ายติดป้ายหมายเลข (Identification Tag) ไว้ด้วย ต้องถ่ ายรูปให้เ ห็น
รายละเอียดบนป้ายอย่างชัดเจนและอ่านได้ รูปทีถ่ายได้ตองชัดเจน รูปถ่ายรูปทีสอง ต้องการถ่ายเจาะให้
                                                 ่       ้               ่
เห็น รายละเอียดพร้อมทัง เห็น สัญ ลักษณ์ ท่ท าได้อย่างชัดเจนด้วย รูปถ่ ายรูปที่ส องนี้ไ ม่ต้องมีป้าย
                               ้             ี
หมายเลขเพราะจะไปบังรายละเอียดทีตองการเห็น
                                       ่ ้
    - ขันตอนต่อไปก็คอการสเกตอุปกรณ์ พร้อมไดอะแกรมที่เกี่ยวข้องลงบนแบบ (Drawing Sheet)
             ้               ื
พร้อมทังใส่รายละเอียดที่เกี่ยวข้อง เช่น หมายเลขงาน, ชื่องาน, แหล่งจ่ายไฟ, หมายเลขวงจรไฟฟ้า,
         ้
Sequence Number, หมายเลขเครื่องจักร, ชื่อเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ ไ ฟฟ้า, ช่ างเทคนิ คที่จด
รายละเอียดนี้ และวันทีทบนทึก
                       ่ ่ี ั
    - หลังจากได้บนทึกรายละเอียดที่เกี่ยวข้องทังหมดของอุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว ผู้จดการนโยบาย
                     ั                          ้                                ั
คุณภาพ (QA /QC Manager) หรือผู้จดการโครงการต้องทาการตรวจสอบรายละเอียดที่บนทึกได้ใน
                                      ั                                              ั
เอกสารต่าง ๆ ทังหมดว่าถูกต้องแม่นยาหรือไม่ หากพบข้อสงสัยหรือไม่แน่ ใจ ต้องตรวจสอบ แก้ไขให้
                  ้
ถูกต้องทันที เมื่อเอกสารบันทึกข้อมูลได้รบการรับรองแล้ว เครื่องจักรและอุปกรณ์กพร้อมที่จะถูกถอด
                                        ั                                    ็
ประกอบ รือถอน เคลื่อนย้ายเพื่อทาการซ่อมบารุงในขันตอนต่อไป
          ้                                       ้




รูปแสดง การจัดทารายละเอียดของอุปกรณ์เป็นเอกสาร ให้สามารถอ่านรายละเอียดบนป้ายได้อย่างชัดเจน




รูปแสดง การเก็บข้อมูลภาพถ่ายเพิมเติมโดยไม่มป้ายหมายเลขเพื่อต้องการถ่ายภาพเจาะรายละเอียดให้
                               ่           ี
       เห็นการเข้าสายไฟฟ้ารวมถึงสามารถใช้ภาพนี้เป็นภาพอ้างอิงภายหลังได้
6. การปรับสภาพพื้นที่ภายในโรงงานเบืองต้น ้
        หลังจากได้รบพืนทีทปลอดภัย ส่วนที่รบผิดชอบควรเข้าไปปรับสภาพพื้นที่ในโรงงานเบื้องต้น
                      ั ้ ่ ่ี              ั
โดยมีรายละเอียดการดาเนินการ ดังนี้
     - เบืองต้นจะเน้นทาความสะอาดภายในอาคารและพืนทีปฏิบตงานให้แห้งสนิท ไม่มพนทีทมน้าขัง
           ้                                          ้ ่ ั ิ                       ี ้ื ่ ่ี ี
หรือเปียกน้า ระบายน้าทีขงอยู่ เคลื่อนย้ายพรหม เฟอร์นิเจอร์ท่ีเปียกน้ า และทาให้แห้งด้วยการระบาย
                         ่ ั
อากาศก่อนทีจะติดตังไฟฟ้าใหม่
               ่       ้
     - โรงงานทีมโครงสร้างเป็นไม้ ควรปล่อยทิงไว้ให้แห้งสนิทก่อน แล้วจึงสารวจดูความเสียหายก่อน
                 ่ ี                            ้
เริมซ่อมแซมและทาสีใหม่ ในส่วนของประตูไม้ หากเกิดการเอียงหรือผิดรูปไปจากการแช่น้ านาน ให้หา
   ่
อุปกรณ์มาค้ายันช่วยรับแรง หรือถอดออกแล้วนาไปตากแดด รอจนความชื้นระเหย แล้วค่อยนากลับมา
ใช้งานตามปกติ
     - สารวจตรวจบานพับ รูกุญแจ และลูกบิด ทาการเช็ดน้ าออกให้แห้งสนิท แล้วค่อยขัดส่วนที่เป็น
สนิม จากนันจึงใช้น้ายาหล่อลื่นชโลมตามจุดรอยต่อต่าง ๆ
             ้
     - ตรวจสอบท่อ วาวล์ ซีล และข้อต่อของก๊าซ LPG ให้อยูในสภาพทีปลอดภัยในการใช้งาน คือ ไม่
                                                           ่            ่
หลุดหลวม ชารุด เป็นสนิม
     - ตรวจสอบระบบท่อส่งน้า ระบบประปาภายในอาคารโรงงานที่อาจมีรอยแตกและรั ่วซึม สุดท้าย
แล้วก็ทาความสะอาดโรงงานตามจุดต่าง ๆ และเช็คอุปกรณ์ทุกชนิดทีหนีน้าไม่พ้น เพื่อป้องกันอันตราย
                                                                  ่
และเพื่อสุขภาพทีดของพนักงานในโรงงาน
                  ่ ี
     - หากหัวน้าดับเพลิงตังอยูใกล้โรงงานของท่าน ต้องจัดการไม่ให้มสงกีดขวางเพื่อหน่ วยดับเพลิง
                             ้ ่                                      ี ิ่
สามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก

   7. การรือถอนเคลื่อนย้ายระบบไฟฟ้ ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์เพื่อซ่อมแซม
           ้
        การรื้ อ ถอนและเคลื่ อ นย้ า ย ระบบไฟฟ้ าก าลั ง เครื่ อ งจัก รและอุ ป กรณ์ (Equipment
Removal) เป็นขันตอนของการนาอุปกรณ์ หรือเครื่องจักรออกจากสถานที่ตดตังเพื่อทาการซ่อมบารุ ง
                   ้                                                    ิ ้
รวมถึงเตรียมสถานทีสาหรับติดตังอุปกรณ์ใหม่ ชินส่วนใหม่ หรือเครื่องจักรใหม่ด้วย มีรายละเอียดการ
                     ่         ้                ้
ดาเนินการ ดังนี้
      - การดาเนินงานในแต่ละวันผู้ปฏิบตงานต้องนาส่งข้อมูลหน้างาน (Field Data) เพื่อรายงานกับ
                                        ั ิ
ผูจดการโครงการ หรือผูรบผิดชอบ เพื่อจัดทารายละเอียดของอุปกรณ์เป็นเอกสาร
  ้ ั                  ้ั
      - การบันทึกความก้าวหน้าของงานซ่อมบารุงและซ่อมคืนสภาพ ข้อมูลหน้างานต้องประกอบด้วย
รูปภาพดิจตอลของอุปกรณ์ , แบบที่เกี่ยวข้องของอุปกรณ์ และเอกสารบันทึกรายละเอียดอุปกรณ์ เพื่อ
           ิ
การตรวจติดตามผล (Equipment Tracking Form)
      - ต้องจัดเก็บรูปภาพที่ถ่ายด้วยกล้องดิจตอลซึ่งเป็นไฟล์อเล็กทรอนิกส์ทงหมดไว้ในเซิร์ฟเวอร์
                                              ิ             ิ               ั้
ของโครงการทีมความมั ่นคงและปลอดภัย รูปภาพทุกรูปต้องถูกเปิดดูว่าเสียหรือไม่ ต้องมีความชัดเจน
               ่ ี
ต่อจากนันจึงบันทึกไฟล์รปภาพลงในโฟลเดอร์ทอางอิง เช่นแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าที่อุปกรณ์ไฟฟ้ารับ
        ้               ู                   ่ี ้
ไฟอยู่ หรือหมายเลขห้องทีอุปกรณ์ไฟฟ้านันติดตังอยู่
                          ่              ้        ้
- อุปกรณ์แต่ละชินต้องมีรปภาพทีเกียวข้องสองรูปโดยมีสญลักษณ์ทเี่ ป็นหมายเลขเครื่องจักรหรือ
                         ้        ู     ่ ่                 ั
อุปกรณ์อยู่ด้วย ต่อจากนันจับคู่รูปภาพกับแบบของอุปกรณ์ จัดเก็บรูปภาพและไดอะแกรมไว้ด้วยกัน
                            ้
ข้อมูลทีได้น้ีเป็นข้อมูลติดตังทังหมดก่อนทีขนตอนการติดตังอุปกรณ์หรือเครื่องจักรกลับเข้าทีจะเริมขึน
        ่                     ้ ้         ่ ั้         ้                                ่ ่ ้




รูปแสดง การรวบรวมรายละเอียดข้อมูลจากช่างเทคนิค ของตูไฟฟ้าทีได้รบความเสียหายจากน้าท่วม
                                                    ้      ่ ั
       เพื่อจัดทาเป็นเอกสาร

     8. การจัดการกับความเสียหายที่เกิ ดขึ้นต่อเครื่องจักรและอุปกรณ์
         ผูรบผิดชอบต้องตัดสินใจทีเกียวข้องกับอุปกรณ์หรือเครื่องจักรทีได้รบความเสียหายจากน้ าท่วม
           ้ั                     ่ ่                                 ่ ั
ว่าอุปกรณ์หรือเครื่องจักรเหล่านันสมควรทีจะเปลียนใหม่ หรือซ่อมแซมการซ่อมแซมนันทาได้ท่โรงงาน
                                ้        ่     ่                                  ้     ี
เลยหรือไม่ หรือต้องเคลื่อนย้ายออกเพื่อนาไปซ่อมแซมที่หน่ วยงานของผู้ผลิตหรือตัวแทนจาหน่ าย
ทังหมดนี้เป็นการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ทสาคัญของผูจดการโครงการทีตองรับผิดชอบ การจัดการกับความ
   ้                                  ่ี         ้ ั              ่ ้
เสียหาย มีรายละเอียดดังนี้
     - ทาการตัดระบบจ่ายไฟฟ้าทังหมด ้
     - ทาความสะอาด เช็ด เป่าหรือทาให้แห้งกับอุปกรณ์ไ ฟฟ้าที่ถูกน้ าท่วมถึงให้แห้ง ก่อนการยก
สวิตซ์จ่ายไฟเข้าโรงงาน ขันตอน การทาความสะอาดเครื่องจักร หลังน้าท่วม แบ่งเป็นส่วน ๆ ดังต่อไปนี้
                          ้
       การล้างทาความสะอาดเครื่องจักร ( ส่วนตัวเครื่องภายนอก )
           การล้างทาความสะอาดเครื่องจักร ส่วนที่เป็น Cover , โครงเครื่อง , ส่วนที่เป็นสี ,
              กระจก , พลาสติก , ฐานเครื่อง เป็นต้น
           เมื่อหลังน้ าลดแล้ว ก่อนการท าความสะอาดเครื่องจักร ห้ามเปิ ดสวิชท์ เครื่องโดย
              เด็ดขาด
           เริมล้างทาความสะอาดเครื่องจักร โดยนาสิงสกปรกออกจากบริเวณเครื่องจักรที่ผ่าน
                ่                                        ่
              น้าท่วม มา เช่น โคลน , เศษดิน, เศษหญ้า , ตะไคร่น้า หรือสิงแปลกปลอมอื่น ๆ เป็นต้น
                                                                       ่
           การล้างส่วนตัวเครื่องจักร ให้ใช้น้ า และ น้ ายาทาความสะอาด ล้างบริเวณทั ่วไปของ
              เครื่องจักร ( ยกเว้นบริเวณทีเป็นแผงวงจรไฟฟ้า )
                                          ่
การล้างทาความสะอาดเครื่องจักร ( ส่วนตัวเครื่องภายใน ) ได้แก่ ส่วนทีเป็นอุปกรณ์ต่างๆ เช่น
                                                                                      ่
แม่พมพ์ , กระบอกสูบ , เพลา , เฟือง , ผนังครื่อง Ball Screw , Slide Way หรือ ส่วนทีไม่ได้มสปกปิดไว้ เป็นต้น
    ิ                                                                               ่      ี ี
             ให้ลางทาความสะอาดเครื่องจักร ส่วนภายในนี้ โดยนาสิงสกปรก ที่เกิดจาก น้ าท่วม
                   ้                                                            ่
               ออกจากบริเวณดังกล่าวเช่นกัน
             การล้างเครื่องจักร โดยใช้น้ายาล้างเครื่องจักร หรือ น้ายาทาความสะอาด ชนิดพิเศษ ที่
               สามารถล้างคราบสนิม หรือ คราบน้ ามัน , คราบจารบี ออกจากตัวเครื่อง ( ยกเว้น
               บริเวณทีเป็นแผงวงจรไฟฟ้า )
                         ่
             หลังจากล้างน้าแล้ว เราอาจพบสนิมหลงเหลืออยู่ ซึ่งปญหานี้ เราอาจต้องขัดสนิมออก
                                                                            ั
               ด้วยกระดาษทรายชนิดละเอียด หรือ แผ่นสก๊อตไบร์ท ทาการขัดลูบ ( ไม่แรงจนเกินไป
               เพราะจะทาให้ผวของเครื่องจักร เกิดความเสียหายได้ ) หลังจากนันควรทาหรือฉีดพ่น
                                  ิ                                                      ้
               ด้วยน้ายากันสนิม หรือ สารหล่อลื่น เพื่อลดการเกิดสนิมซ้า
             เมื่อล้างน้าเสร็จ แนะนาว่า อย่าปล่อยหรือทิ้งไว้นาน เพราะจะทาให้เกิดสนิมได้โดยเร็ว
               ดังนันหลังผิวเหล็กแห้งแล้ว ควรฉีดพ่น หรือ ทาด้วยน้ามัน หรือ น้ายาปกป้องสนิมทันที
                     ้
             สาหรับส่วนทีเป็นเหล็ก หรือ โลหะต่าง ๆ ซึงจมน้า หรือ น้าท่วม เป็นเวลานาน สภาพสี
                              ่                                  ่
               หรือ ผิวของชินส่วนนัน อาจชารุดเสียหาย ซึ่งเราอาจใช้ สีกนสนิมชนิดพิเศษทาไว้ก่อน
                                ้      ้                                          ั
               เพราะจะได้เป็นการป้องกันสนิมมิให้เกิดซ้าแบบถาวรได้ หรือ หากต่อไป เราสามารถทา
               สี หรือ พ่นสี ในส่วนนันได้ โดยมิตองมาขัดสนิมใหม่อก
                                         ้            ้                   ี

         การทาความสะอาด แผงวงจรไฟฟ้า แผงวงจรอิเล็คทรอนิค
               แผงวงจรไฟฟ้า หรือ แผงวงจรอิเล็คทรอนิค ถือเป็ นส่วนที่สาคัญ มาก ดังนันการจะกู้  ้
                  เครื่องจักรมาใช้ได้ หัวใจคือจุดนี้ เราจึงควรใช้ น้ายาไล่ความชืน เข้ามาทาความสะอาด
                                                                                ้
                  แทนการใช้ลมเป่าแต่เพียงอย่างเดียว เพราะการใช้ลมอาจมีโอกาสที่น้ าหรือ ความชื้น
                  ยังคงติดค้างหลงเหลืออยูได้ ซึงเมื่อเปิดการทางานของเครือง อาจเกิดไฟฟ้าลัดวงจรจน
                                           ่ ่                              ่
                  แผงวงจรนันเสียหายได้
                              ้
               หลังจากใช้น้ายาไล่ความชืนฉีดพ่นแล้ว เราอาจใช้ลมแห้ง หรือ เครื่องเป่าลมร้อน ( Air
                                             ้
                  Dryer ) เป่าไปยังบริเวณ แผงวงจรไฟฟ้า อีกครัง เพื่อสร้างความมั ่นใจว่าจะไม่มน้ า
                                                                      ้                          ี
                  หลงเหลือ หรือค้างอยูในแผงวงจรไฟฟ้าได้
                                         ่
         หลังจากทาความสะอาดเครื่องจักร หลังน้ าท่วม เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ต้องตรวจสอบทุกจุดด้วย
ความมั ่นใจว่าอยูในสภาพพร้อมการใช้งาน จึงค่อยทาการเปิดเครื่อง ( Switch On ) แต่ขอยาว่าการเปิด
                   ่                                                                       ้
เครื่องเพื่อใช้งาน ควรอยูภายใต้การดูแลจากผูเชียวชาญ หรือ ช่างชานาญการเท่านัน
                            ่                    ้ ่                                 ้
     - การยกคัทเอ้าท์หรือเมนเบรกเกอร์เพื่อเปิดให้มการจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าโรงงานนัน ควรทดลอง
                                                          ี                              ้
เปิดใช้งานทีละวงจร เพื่อความสะดวกสาหรับการตรวจสอบหากยังมีปลั ๊กหรือจุดใดจุดหนึ่งอยูในสภาพที่ ่
ไม่พร้อมใช้งาน เช่น ชารุด เปียกชืน หรือรั ่วลงดิน
                                    ้
- การทดลองว่ามีกระแสไฟรั ่วไหลหรือไม่นน ควรมีการทดลองดับไฟทุกจุดในโรงงาน โดยการ
                                                ั้
ปลดปลั ๊ก โหลดเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ออกทังหมดแล้วค่อยเปิดวงจรทีละวง พร้อมตรวจสอบดูมเตอร์
                                              ้                                             ิ
ไฟฟ้าว่าหมุนหรือไม่ หากไม่เคลื่อนไหวแสดงว่าไฟฟ้าในโรงงานท่านไม่น่าจะรั ่ว แต่ถ้ามิเตอร์หมุนแสดง
ว่าไฟฟ้าในโรงงานท่านอาจจะรั ่วได้ ทังนี้ให้รบตามช่างไฟมาดูแล ปรับปรุงซ่อมแซม หรือปรับเปลี่ยน
                                    ้       ี
อุปกรณ์ทชารุดเสียหาย
            ่ี
     - ควรยกระดับของปลั ๊กไฟ เต้ารับต่า ง ๆ ที่อยู่ใ นระดับอาคารโรงงานออกให้ห มด แล้วปรับ
ตาแหน่งปลั ๊กไฟไปอยูทระดับประมาณ 1.20 เมตร เท่ากับระดับสวิตซ์ พร้อมกันนี้ควรแยกวงจรไฟฟ้า
                       ่ ่ี
ออกให้ชดเจนระหว่างบริเวณทีน้าอาจท่วมถึง กับบริเวณที่น้ าไม่สามารถท่วมถึง เพื่อควบคุมการเปิด -
          ั                 ่
ปิดวงจรไฟฟ้าให้อาคารโรงงานได้อย่างอิสระและง่ายต่อการซ่อมแซมบารุงรักษา
     - ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าทีเป็นโครงสร้างโลหะ เช่น หม้อแปลง ตูเมนสวิตช์ ตูไฟฟ้าย่อย ท่อร้อย
                                ่                                 ้             ้
สายไฟ ขัวต่อลงดิน และจุดต่อต่าง ๆ ที่อาจเป็ นสนิ ม หรือช ารุ ดหลุดหลวมขณะที่มีน้ าท่วมขัง เช่ น
               ้
บริเวณจุดต่อเชื่อมสายดินของระบบไฟฟ้า ป้องกันฟ้าผ่า เพื่อจะได้ปรับปรุง ซ่อมแซม หรือเปลี่ยนใหม่
ให้อยูในสภาพทีใช้งานได้อย่างปลอดภัย
       ่            ่
     - ต้อ งตัง สมมติฐ านเสมอว่า สายไฟที่อยู่บนพื้น รวมถึง สายสัญ ญาณทีวม ีไ ฟฟ้า อยู่เพื่อความ
                 ้                                                          ี
ปลอดภัย
     - มาตรฐาน National Electrical Manufacturers Association: NEMA ได้พมพ์เอกสารแนะนาที่
                                                                              ิ
ชื่อว่า “Evaluating Water–Damaged Electrical Equipment” ซึ่งได้ใ ห้รายละเอียดในการประเมิน
อุปกรณ์ไฟฟ้าทีได้รบความเสียหายจากน้าท่วมอย่างเหมาะสม ตามรายละเอียดทีสรุปในตารางที่ 1
                   ่ ั                                                    ่
ตารางที่1 คาแนะนาของ NEMA ในการจัดการกับอุปกรณ์ไฟฟ้าทีถูกน้าท่วม
                                                      ่
9. การฟื้ นฟู ซ่อมแซมเครื่องจักรและอุปกรณ์ แต่ละชนิ ด
          หลังจากน้าลด ทุกระบบของเครื่องจักรจะได้รบความเสียหายทันที โดยเฉพาะระบบไฟฟ้า และ
                                                   ั
อิเลคทรอนิคส์ ทังนี้ระบบแมคคานิค ยังคงแก้ไขได้ไม่ยากหากจมน้าแค่อาทิตย์สองอาทิตย์ หากมากกว่า
                  ้
    ็      ั
นี้กเป็นปญหากู้คนยาก เพราะเหล็กจะถูกกัดกล่อนไปเรื่อยๆ จนมีขุยหรือตะกอนผุดขึนมาหากจมน้ า
                    ื                                                             ้
นานๆ หลังจากน้าลดให้ถอดการ์ด Cover ออกให้หมดแล้วรีบทาน้ามันรางไสลด์ทุกแกน หรือบอลสกรู
ทันทีเพื่อป้องกันสนิม ไม่ควรให้สนิมแดงขึนเพราะทาให้ดาเนินการยากยิงขึน เสียเวลาในการขัด หรือ
                                         ้                            ่ ้
อาจจะต้องส่งเจียรนัยรางไสลด์ สาหรับส่วนทีเป็น LM Guide ก็ตองทาเช่นเดียวกัน และเป็นการที่ดควร
                                           ่                ้                              ี
จะเปลียนอุปกรณ์ไฟฟ้าต่อไปนี้ใหม่มากกว่าพยายามทีจะซ่อมแซมเพื่อให้ใช้งานได้ ได้แก่ เต้ารับไฟฟ้า,
        ่                                            ่
สวิตช์ไฟฟ้า ,หลอดไฟฟ้ า,และอุปกรณ์ประกอบ, แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และเครื่องมือวัด
ต่าง ๆ เจ้าหน้าที่ซ่อมบารุงต้องทาการวัดค่าความเป็นฉนวนของสายไฟฟ้าและสายคอนโทรลทังหมด     ้
และต้องเปลี่ยนสายใหม่หมดในกรณีท่ค่าความต้านทานของฉนวนที่วดได้มค่าน้อย โดยกิจกรรมการ
                                      ี                             ั     ี
ฟื้นฟู ซ่อมแซมเครื่องจักรและอุปกรณ์แต่ละชนิด มีดงนี้
                                                 ั
           ระบบไฟฟ้า
          อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกตัวต้องเปลี่ยน เพื่อความปลอดภัย เมื่อมีน้ ามันเข้าไปใน Relay, Megnatic
Contractor, Timer, Overload, Braker และอุปกรณ์ต่างๆอีกมากมาย ไม่คุ้มหากเปิดแล้วจะเกิดการ
ระเบิด รวมถึงสายไฟทุกเส้น ก็ควรจะทาการเปลี่ยนเช่นเดียวกัน หากน้ าเข้าไปในสายไฟความชื้นก็จะ
สะสมเยอะ รวมถึงน้าทีเข้าไปแล้วก็จะไม่มวนออก เพราะสายเดิมค่อนข้างแข็งกระด้างอยู่แล้ว เนื่องจาก
                       ่                ีั
                                                          ั
ฤทธิ ์น้ามันทาให้ยางปลอกสายไฟแข็ง ถ้าจ่ายไฟเข้าไปจะเกิดปญหาใหญ่ได้

           ระบบคอนโทรล เช่น FANUC, MITSUBISHI, YASNAC
          ก่อให้เกิดความเสียหายมหาศาล อุปกรณ์อเิ ลคทรอนิคส์ หากจมน้านานๆ ก็จะทาให้เกิดสนิมกัด
กร่อน และลายปรินต์ของบอร์ดก็จะถูกลอกออก รวมถึงความชืนในแผ่นปริ้นต์กจะชุ่มไปด้วยน้ า รวมถึง
                    ้                                    ้             ็
เศษ หิน ดิน ทราย ทีจะเข้าไปอยูใต้ IC อีกจานวนมาก โอกาสซ่อมได้มแค่ 10% อาจจะแก้ไขได้โดย
                        ่        ่                               ี
การลอง อบแผง ไล่ความชืนและพยายามทาความสะอาดแล้วลองเทสดู ส่วน Motor ทังหลายทัง Servo
                            ้                                                ้        ้
Motor, Spindle Motor โอกาสที่จะซ่อมได้มี 80% หาก Motor จมน้ าไปแล้ว ห้ามจ่ายไฟเข้าเด็ดขาด
ต้องส่งอบไล่ความชืน และทาน้ายาแล้วนามาอบมาใหม่ รวมถึง Bearing ข้างในทุกลูกก็ต้องเปลี่ยนใหม่
                      ้
หมด อย่าเสียงใช้ของเก่า เพราะ เศษ หิน ดิน ทราย เข้าไปใน Bearing ทาให้ความแม่นยาของลูกปืน
              ่
ลดลงทันทีจะก่อให้เกิดความเสียหายในเวลาต่อมา ส่วน Encoder หลังก้น Motor อันนี้เป็นอุปกรณ์
อิเลคทรอนิคส์ โอกาสซ่อมได้มแค่ 10% ส่วนเรื่องจอภาพ CRT นัน 80% สามารถซ่อมได้ แต่จอ LCD
                               ี                             ้
ควรเปลียนใหม่ เพราะถ้าน้าเข้าไปแล้วค่อนข้างจะซ่อมยาก
        ่

        ระบบเครื่องกล
           - Spindle Unit เป็นอุปกรณ์ทโดยทั ่วไปจะป้องกันน้าอยูแล้ว เพราะจะมีโอริง กันน้ าเข้าไป
                                         ่ี                        ่
ด้านใน แต่อย่างไรเสียก็ตองรือมาดูก่อนเพราะจะมีรน้ามันที่เข้าไปเลี้ยง Spindle Bearing น้ าอาจจะเข้า
                        ้ ้                    ู
ทางนี้กได้ รวมถึงระบบ Oil Cooler หากน้าท่วมแท้งค์น้ีกถอดออกมาล้างอย่างเดียว อย่าฝืนเปิดเด็ดขาด
        ็                                               ็
หากน้าเข้าได้จะเกิดสนิม หากเครื่องจักรท่านเก่าอยูแล้วควรถือโอกาสเปลียน Spindle Bearing จะเป็นการดี
                                                    ่               ่
               - Ball Screw และ Support Bearing ของทุกแกน ต้องดูสภาพรางที่เม็ดลูกบอลวิง หาก  ่
ถูกกัดกร่อนเป็นตามด ควรเปลียนใหม่อย่างเดียวซ่อมไม่ได้ หากไม่มตามดสามารถถอดรางมาขัดใหม่
                                  ่                               ี
แล้วเปลี่ยนเม็ดบอลใหม่ได้ อันนี้ไม่ยากเท่าไหร่ ส่วน Support Bearing หัวและท้ายควรเปลี่ยนใหม่
เพราะจะมีเศษ หิน ดิน ทราย เข้าไป
               - ชุดไฮโดรลิค ควรถอดมาล้างใหม่ ส่วนมอเตอร์ให้นาไปส่งอบ ส่วนทีไปเลียงหัวป้อมมีด
                                                                                 ่ ้
หรือชุด Tool Clamp/Unclamp ให้ร้อและเปลี่ยนทาความสะอาดและเปลี่ยน O-RING ใหม่หมด จะได้
                                        ื
ระบายน้ าออกจากจุดที่เรามองไม่เห็น เช่นเดียวกันกับชุดน้ ามันหล่อเลี้ยงไสลด์แกน ให้ถอดอกมาทา
ความสะอาดใหม่หมดเช่นกัน
               - ชุด ATC จับเปลี่ยนทูล แกะ Cover ออกมาเพื่อระบายน้ าออกและทาความสะอาดชุด
CAM หากมี O-RING ให้เปลียนใหม่ทงหมด
                                ่         ั้
               - มอเตอร์ (Motor Repair) น้ าท่วมอาจจะทาให้ส่วนประกอบต่าง ๆ ของมอเตอร์ได้รบ      ั
ความเสียหาย ได้แก่ฉนวน, สวิตช์, คอนแทกเตอร์, คาปาซิเตอร์ และรีเลย์ป้องกัน รวมถึงการผุกร่อน
ของส่วนที่เป็นโลหะ และการปนเปื้อนของสารหล่อลื่นของมอเตอร์ การซ่อมมอเตอร์เป็ นงานหลักของ
การฟื้นฟูโรงงานอุตสาหกรรมทีได้รบความเสียหายจากภัยน้าท่วม การรวบรวมรายละเอียดของมอเตอร์
                                    ่ ั
ทีตองซ่อมแซมเพื่อจัดทาเป็นเอกสารมีขนตอนเช่นเดียวกันกับอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดอื่น ๆ แต่กมขอมูลบาง
  ่ ้                                        ั้                                        ็ ี ้
รายการทีตองเพิมเติมเพื่อความสมบูรณ์ในการติดตามความคืบหน้าของงานซ่อมแซม ได้แก่
            ่ ้ ่
                 * บันทึกข้อมูลบน Nameplate และข้อมูลแสดงตาแหน่งของมอเตอร์
                 * ติดป้ายหมายเลขแท่นเครื่องและมอเตอร์ให้มหมายเลขเดียวกัน ทังนี้เพื่อให้ง่ายในการ
                                                           ี                   ้
จับคู่และนามอเตอร์มาวางลงบนตาแหน่งทีถูกต้อง     ่
                  * ทาเครื่องหมายและบันทึกข้อมูลของจุดต่อสาย
                  * บันทึกข้อมูลการ Coupling และเงื่อนไขของการ Coupling
                 * รวบรวมชินส่วนสาหรับติดตังมอเตอร์ เช่น Mounting Hardware, Coupling and Shim
                             ้                    ้
เก็บชิ้นส่วนเหล่านี้ของมอเตอร์แต่ละตัวในถุงพลาสติก ซีลให้เรียบร้อยแล้ว อาจใช้ถุงพลาสติกแบบมี
ซิปล็อกก็ได้
               ตามมาตรฐานของ NEMA ได้ยอมรับให้ซ่อมมอเตอร์ท่ได้รบความเสียหายจากน้ าท่วมได้
                                                                 ี ั
แต่กไม่เสมอไปทีจะช่วยประหยัดเงินด้วยการซ่อมมอเตอร์ ดังนันการวิเคราะห์ต้นทุน (Cost Analysis)
      ็             ่                                          ้
จึงเป็นสิงจาเป็นเพื่อช่วยการตัดสินใจว่าจะซ่อมมอเตอร์หรือเปลียนมอเตอร์ใหม่
          ่                                                  ่

    10. การเตรียมการเดิ นเครื่องจักร
      ก่อนจะเริมเดินเครื่องจักรครังแรก จะต้องเตรียมการดังต่อไปนี้
               ่                  ้
     - การใช้เครื่องก าเนิด ไฟฟ้ าต้องปฏิบ ัติตามข้อแนะน า หรือคู่ม ือ การใช้ของผู้ผ ลิต และใช้
ภายนอกอาคาร เนื่องจากไอคาร์บอนมอนออกไซด์ไม่มกลินและจะเพิมขึนอย่างรวดเร็วในอาคาร
                                                  ี ่         ่ ้
- ตรวจสอบการใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องเลือกใช้สายไฟทีมขนาดและชนิดทีเหมาะสมต่อภาระ
                                                                    ่ ี          ่
กระแสไฟฟ้า เนื่องจากสายไฟที่มภาระเกิน (Over load) มีความร้อนสูงทาให้เพลิงไหม้ได้ และต้องไม่
                                   ี
เดินสายไฟไว้ใต้พรหม เนื่องจากจะทาให้เกิดความร้อนและอาจเกิดความเสียหายต่อสายไฟโดยไม่ทนได้    ั
สังเกต และควรเติมเชือเพลิงเครื่องกาเนิดไฟฟ้านอกอาคารเสมอ
                         ้
           - ไม่ตอเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าอื่น เช่น สายไฟฟ้า เพราะอาจเกิดการไหล
                   ่
ย้อนหรือจ่ายย้อยทาให้ไฟฟ้าซ๊อตผูปฏิบตงานได้
                                       ้ ั ิ
           - ควรใช้งานเครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดเคลื่อนทีให้ห่างจากประตู หน้าต่าง และช่องระบายอากาศ
                                                      ่
           - ไม่เดินเครื่องกาเนิดไฟฟ้าในโรงรถทีตดอยูกบตัวบ้าน หรือระเบียงทีปกปิด
                                               ่ ิ ่ ั                      ่
           - เครื่องจักร มอเตอร์ และอุปกรณ์ไฟฟ้าทีถูกน้าท่วม มีการเช็ดทาความสะอาดและบารุงรักษา
                                                    ่
โดยช่างผูชานาญการเดินเครื่อง ก่อนเดินเครื่องต้องตรวจสอบสายดินว่ามีการยึดแน่ นหนา และไม่เป็น
            ้
สนิม
           - อุปกรณ์ป้องกัน (Breaker) สายไฟ และจุดต่อต่าง ๆ ต้องอยู่ในสภาพที่ไม่ชารุดเสียหาย มี
สภาพทีปลอดภัยต่อการใช้งานอย่างสมบูรณ์
         ่
           - วัดแรงดันไฟฟ้าว่าตรงตามทีตองการหรือไม่
                                         ่ ้
           - ตรวจสอบการเชือมต่อของสายไฟฟ้าทัง L, N, PE
                              ่                   ้
           - เมื่อตรวจสอบการติดตังของระบบไฟฟ้าแล้ว ทาการทดสอบระบบ Load โดยเชื่อมต่อ Load
                                     ้
เข้าสู่ระบบไฟฟ้า (โดยทาการเชื่อมต่อ Load ทีละชุด และทาการตรวจสอบระดับแรงดัน , กระแส,
กาลังไฟฟ้า, (อุณหภูมของ Load และสายไฟ, จุดต่อ) ไฟฟ้ารั ่วในระบบ
                           ิ
                                                        ั
           - ตรวจเช็คสภาพมอเตอร์ในขณะ Run เกิดปญหาต่าง ๆ หรือไม่เช่น Looseness, Unbalance
miss alignment, Bearing
                       ั ิ      ่                          ั
           - หากปฎิบตตามทีกล่าวมาข้างต้นแล้วยังประสบปญหาอยูควร Shutdown ระบบและติดต่อกับ
                                                                  ่
Supplier ของระบบเครื่องจักร




   - การตรวจสอบการลัดวงจร (Short) ของระบบไฟฟ้า ควรยืนบนพืนฉนวนในขณะทีทดสอบระบบ
                                                          ้           ่
ไฟฟ้าหรือควรยืนบนพืนทีแห้งและสวมถุงมือกันไฟฟ้าทาการทดสอบความเป็นฉนวนของตู้สวิทซ์หลัก
                  ้ ่
และระบบไฟฟ้าย่อยโดยวัดความเป็นฉนวนดังนี้
 วัดความเป็นฉนวนของ Circuit Breaker ภายในตู้ MDB ในแต่ละเฟสโดยทดสอบเฟส-
            เฟส, เฟส-นิวทรอน, เฟสเทียบกราวด์
             ทาการตรวจสอบสายไฟฟ้า สภาพสายไฟจะต้องสมบูรณ์ไม่แตกร้าว ไม่บวม
             สายไฟฟ้าไม่บาดกับโลหะจับยึดสายไฟ
             ตรวจวัดด้วยเครื่องวัดความเป็น ฉนวน (Insulation Tester) เพื่อยืน ยันให้แน่ นอนว่า
            สายไฟฟ้าดังกล่าวพร้อมใช้งานหรือมีความเสียหายไปแล้ว
             วัดค่าความเป็น ฉนวนระหว่างสาย L-N, L-PE, N-PE โดยการวัดจะต้องเป็ นการวัด
            ระหว่างตัวนากับตัวน าเท่านัน โดยที่จะต้องปลดสายไฟฟ้าจากสวิท ซ์ห ลักและอุปกรณ์
                                        ้
            ไฟฟ้า (Load) จะต้องได้ค่าไม่ต่ากว่า 0.5 เมกกะโอห์ม โดยใช้ระดับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง
            ทดสอบไม่ต่ากว่า 500 V เป็นเวลาต่อเนื่องไม่ควรต่ากว่า 30 วินาที ตามมาตรฐาน IEC 6036
             ตรวจสอบค่าความเป็นฉนวนของอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น มอเตอร์ต่าง ๆ
             วัดค่าความเป็ นฉนวนของสายไฟที่เชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น ในกรณีท่เป็ น ี
            อุปกรณ์ไฟฟ้า 3 เฟส
             วัดสายไฟ เฟสเทียบเฟส
             วัดสายไฟเฟสเทียบนิวทรอน (ต้องปลดอุปกรณ์)
             วัดสายไฟนิวทรอนเทียบกราวด์ (โครง)
             วัดสายไฟเฟสเทียบกราวด์ (โครง)

สรุป
             การแก้ไ ขและฟื้ น ฟูร ะบบไฟฟ้ าก าลัง เครื่องจัก รและอุ ปกรณ์ จากอุ ท กภัย ประกอบด้ว ย
เบืองต้นควรมีการประเมินสถานการณ์ ความรุนแรงของปญหาและเตรียมความพร้อมในการป้องกันก่อน
    ้                                                      ั
น้ าท่วม จากนันควรมีการจัดตังทีมงานส ารวจความเสียหาย การบ่งชี้จุดอัน ตราย การจัดการกับจุด
                 ้                 ้
อันตราย และส่งมอบพื้นที่ให้กบหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดาเนินการทาความสะอาดในเบื้องต้น และ
                                 ั
ดูแลจัดการกับความเสียหายของระบบไฟฟ้า เครื่องจักรและอุปกรณ์ ตลอดจนการเตรียมการเดิน
เครื่องจักร เพื่อทดลองเดินเครื่องและปรับปรุงแก้ไขกับสภาพทียงบกพร่อง
                                                               ่ ั
         สิง สาคัญ ในการฟื้น ฟูระบบไฟฟ้ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์ ของโรงงานอุตสาหกรรมให้
           ่
สามารถทางานและใช้งานได้เหมือนเดิม จะเร็วหรือช้าก็ขนอยูกบความมีอยูของข้อมูล ความแม่นยาและ
                                                         ้ึ ่ ั          ่
ความถูกต้องของเอกสารทีรวบรวมรายละเอียดของระบบไฟฟ้ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์ ที่ตดตังใน
                          ่                                                                  ิ ้
โรงงาน การจัดเก็บแบบไฟฟ้าต่าง ๆ การจัดการกับเอกสารอย่างเป็นระบบและปลอดภัยรวมถึงสามารถ
เข้าถึงได้ง่ายจะช่วยทาให้การฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์ทาได้อย่างปลอดภัย ถูกต้อง
และรวดเร็ว
เอกสารอ้างอิ ง

1. บริษ ัท เมเชอร์โ ทรนิ กซ์ จากัด . ความปลอดภัยและการฟื้ นฟูร ะบบไฟฟ้าหลังน้ าท่วม.
   http://www.measuretronix.com
2. หลัง น้ าท่ วม ขัน ตอนการบ ารุง รักษาอุปกรณ์ ไ ฟฟ้า เครื่องจัก ร ชิ้น ส่ว นอิเล็คทรอนิคส์ .
                    ้
   www.tooads.com/47241-หลังน้าท่วม
3. การทาความสะอาดเครื่องจักร หลังน้าท่วม. http://www.nubbank.com
4. P.M          SYSTEM         CO.,LTD           Electrical    Preventive       Maintenance.
   http://www.pmsystemgroup.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539363406
5. กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม วันที่ 3-11-2554 www.ช่วยน้าท่วม.com
6. บริษท ไอนัค จากัด.การกูคนเครื่องจักรหลังถูกน้าท่วม
        ั                    ้ ื
   http://www.inucth.com/wizContent.asp?wizConID=208&txtmMenu_ID=72
7. 2554.คู่ม ือ รับ มือ ภาวะน้ า ท่ ว มส าหรับ โรงงาน.ส านัก งานส่ ง เสริม ความปลอดภัย และ
   สิงแวดล้อม โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด : 4-8
     ่

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

ประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปาง
ประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปางประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปาง
ประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปางcm carent
 
37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาPochchara Tiamwong
 
ทะเบียนบันทึกการส่งงาน ประจำปีการศึกษา 2554
ทะเบียนบันทึกการส่งงาน ประจำปีการศึกษา 2554ทะเบียนบันทึกการส่งงาน ประจำปีการศึกษา 2554
ทะเบียนบันทึกการส่งงาน ประจำปีการศึกษา 2554Panida Thewinsueb
 
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์qcstandard
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola techno UCH
 
ประกาศจังหวัดบุรีรัมย์ครุภัณฑ์การแพทย์จำนวน ๕ รายการ
ประกาศจังหวัดบุรีรัมย์ครุภัณฑ์การแพทย์จำนวน ๕ รายการประกาศจังหวัดบุรีรัมย์ครุภัณฑ์การแพทย์จำนวน ๕ รายการ
ประกาศจังหวัดบุรีรัมย์ครุภัณฑ์การแพทย์จำนวน ๕ รายการnirutnon
 
คู่มือพัสดุ1
คู่มือพัสดุ1คู่มือพัสดุ1
คู่มือพัสดุ1chalermchaisub
 
Thailand Energy Management System
Thailand Energy Management SystemThailand Energy Management System
Thailand Energy Management SystemNarinporn Malasri
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานWuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5Ailada_oa
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงานJiraporn
 

Andere mochten auch (20)

ภาคผนวกรายงานปฏิบัติราชการ
ภาคผนวกรายงานปฏิบัติราชการภาคผนวกรายงานปฏิบัติราชการ
ภาคผนวกรายงานปฏิบัติราชการ
 
ประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปาง
ประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปางประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปาง
ประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปาง
 
Test sheet 11
Test sheet 11Test sheet 11
Test sheet 11
 
37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
37แบบตรวจสอบมโนทัศน์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
 
ทะเบียนบันทึกการส่งงาน ประจำปีการศึกษา 2554
ทะเบียนบันทึกการส่งงาน ประจำปีการศึกษา 2554ทะเบียนบันทึกการส่งงาน ประจำปีการศึกษา 2554
ทะเบียนบันทึกการส่งงาน ประจำปีการศึกษา 2554
 
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
ประกาศจังหวัดบุรีรัมย์ครุภัณฑ์การแพทย์จำนวน ๕ รายการ
ประกาศจังหวัดบุรีรัมย์ครุภัณฑ์การแพทย์จำนวน ๕ รายการประกาศจังหวัดบุรีรัมย์ครุภัณฑ์การแพทย์จำนวน ๕ รายการ
ประกาศจังหวัดบุรีรัมย์ครุภัณฑ์การแพทย์จำนวน ๕ รายการ
 
คู่มือพัสดุ1
คู่มือพัสดุ1คู่มือพัสดุ1
คู่มือพัสดุ1
 
ใบส่งมอบงาน
ใบส่งมอบงานใบส่งมอบงาน
ใบส่งมอบงาน
 
Thailand Energy Management System
Thailand Energy Management SystemThailand Energy Management System
Thailand Energy Management System
 
Forest
ForestForest
Forest
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
Busbar Design
Busbar DesignBusbar Design
Busbar Design
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 

Ähnlich wie การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมาคมเครื่อง

2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...guest1f2d6d
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6Aungkana Na Na
 
Construction safety management
Construction safety managementConstruction safety management
Construction safety managementNantawit Boondesh
 
ข้อผิดพลาดและช่องทางการตรวจติดตามไฟป่าและหมอกควัน V2
ข้อผิดพลาดและช่องทางการตรวจติดตามไฟป่าและหมอกควัน V2ข้อผิดพลาดและช่องทางการตรวจติดตามไฟป่าและหมอกควัน V2
ข้อผิดพลาดและช่องทางการตรวจติดตามไฟป่าและหมอกควัน V2Veerachai Tanpipat
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลskiats
 
May loc khong khi Daikin MC30VVM-A
May loc khong khi Daikin MC30VVM-AMay loc khong khi Daikin MC30VVM-A
May loc khong khi Daikin MC30VVM-ATiuLm
 
แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์
แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์
แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์sutitam09
 

Ähnlich wie การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมาคมเครื่อง (16)

4 april report
4 april report4 april report
4 april report
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
 
04 security
04 security04 security
04 security
 
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
 
Project 4
Project 4Project 4
Project 4
 
Project 4
Project 4Project 4
Project 4
 
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
 
54101 engineer 3
54101 engineer 354101 engineer 3
54101 engineer 3
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
 
Construction safety management
Construction safety managementConstruction safety management
Construction safety management
 
ข้อผิดพลาดและช่องทางการตรวจติดตามไฟป่าและหมอกควัน V2
ข้อผิดพลาดและช่องทางการตรวจติดตามไฟป่าและหมอกควัน V2ข้อผิดพลาดและช่องทางการตรวจติดตามไฟป่าและหมอกควัน V2
ข้อผิดพลาดและช่องทางการตรวจติดตามไฟป่าและหมอกควัน V2
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผล
 
May loc khong khi Daikin MC30VVM-A
May loc khong khi Daikin MC30VVM-AMay loc khong khi Daikin MC30VVM-A
May loc khong khi Daikin MC30VVM-A
 
แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์
แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์
แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์
 

การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมาคมเครื่อง

  • 1. การแก้ไขและฟื้ นฟูระบบไฟฟ้ ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์ หลังวิ กฤติ น้าท่วม ในสถานการณ์ท่น้ าท่ วมหนักในหลายพื้น ที่ของประเทศไทย ก่อให้เกิดความเสียหายอย่าง ี รุนแรงอย่างไม่เคยเกิดขึนมาก่อนในรอบหลายสิบปี ซึ่งภาวะน้ าท่วมส่ง ผลต่อเครื่องจักรกลและอุปกรณ์ ้ ภายในโรงงานทีไม่สามารถขนย้ายได้ทน จึงได้รบความเสียหายคิดเป็นเงินมูลค่ามหาศาล โดยเฉพาะ ่ ั ั ปจ จุบน เครื่องจักรและอุปกรณ์ ส่ วนใหญ่ จ ะใช้ร ะบบไฟฟ้าและระบบอิเลคทรอนิกส์ควบคุม น้ าและ ั ั ความชื้นเป็นภัยที่ร้ายแรงต่อเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ ทาให้โลหะเกิดการสึกกร่อน ชารุดเสียหาย หลุดหลวมเป็นสนิม อุปกรณ์เสื่อมสภาพ ส่งผลกระทบต่อสภาพการใช้อย่างปลอดภัย การแก้ไขและฟื้นฟู ระบบไฟฟ้ากาลังและเครื่องจักรกลในกระบวนการผลิตจึงควรเร่งดาเนินการ เพื่อให้โรงงานอุตสาหกรรม สามารถกลับมาผลิตสินค้าได้ตามเดิม ซึ่งต้องมีการวิเคราะห์ ตรวจสอบ ซ่อมแซม รวมถึงต้องเปลี่ยน ชินส่วนใหม่หรืออุปกรณ์ใหม่เพื่อทาให้ระบบไฟฟ้ากาลังและกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม ้ สามารถทางานได้อย่างปลอดภัยและถูกต้อง โดยกระบวนการเตรียมการก่อนน้าท่วมและการฟื้นฟูระบบ ไฟฟ้ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์ สรุปเป็นแนวทางได้ดงนี้ ั 1. การประเมินสถานการณ์ ความรุนแรงของปัญหาและการเตรียมการป้ องกันก่อนน้าท่วม การประเมินสถานการณ์ก่อนเกิดน้ าท่วม โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่เตรียมการป้องกันได้ก่อน บางส่วนแล้ว และทราบล่วงหน้ าแล้วว่าจะเกิดเหตุการณ์ น้ าท่ วม แต่อาจประเมินสถานการณ์ และ ผลกระทบไม่ครอบคลุมเพียงพอ ซึงสถานประกอบการควรมีการเตรียมความพร้อม ดังนี้ ่ - ควรจัดเก็บ ขนย้ายวัตถุดบ ผลิตภัณฑ์ สารเคมี ต้องมีการเก็บสารไวไฟ หรือสารเคมีอ่น ๆ ให้ ิ ื อยูในพืนทีทน้าท่วมไม่ถง เช่น ก๊าซโซลีน เชื้อเพลิงเหลวทินเนอร์ และต้องทาความสะอาดภาชนะและ ่ ้ ่ ่ี ึ บริเวณทีมของเหลวจุดติดไฟได้เก็บไว้ในสถานที่ท่มการถ่ายเทอากาศดี เก็บของเหลวที่จุดติดไฟได้ให้ ่ ี ี ี ห่างจากแหล่งความร้อน - การหยุดเดินเครื่องจักร ตัดกระแสไฟฟ้า หากน้ าท่วมอาคารโรงงานควรจะปิ ดเมนเบรกเกอร์ หรือกล่องฟิวส์เพื่อปิดระบบไฟฟ้าของโรงงาน ไม่ให้มกระแสไฟฟ้าไหลในระบบ ซึงจะช่วยลดอันตรายแก่ ี ่ ผูอยูอาศัย ผูปฏิบตงาน และแก้ปญหาจากไฟฟ้าลัดวงจรได้ ้ ่ ้ ั ิ ั - ห้ามใช้เครื่องให้ความร้อนทีใช้เชือเพลิงอื่นแทนไฟฟ้าเปาแห้งเสือผ้า หรืออุปกรณ์ตกแต่งบ้าน ่ ้ ่ ้
  • 2. - ระวังการใช้เทียนไขและควรให้เปลวไฟห่างจากวัสดุทตดไฟได้และเด็ก ่ี ิ - ไม่ละลายท่อที่มน้ าแข็งเกาะ ด้วยการเป่าด้วยเปลวไฟ หรือให้สมผัสเปลวไฟ แต่ให้ใช้น้ าร้อน ี ั ่ ่ หรือใช้เครื่องเปาทีได้มาตรฐาน - แนวคิดการป้องกันเครื่องจักรจากน้ าท่ วม ควรสร้างภาชนะที่ภายในสามารถกักอากาศไว้ไ ด้ ครอบเครื่องจักร โดยต้องยึดตรึงภาชนะนี้กบพื้น เพื่อเอาชนะแรงพยุงตัวของอากาศ อากาศภายใน ั ภาชนะจะกันไม่ใ ห้น้ าเข้าไปใต้ภาชนะได้ จึง เป็ น การป้องกัน น้ าท่วมเครื่องจักรแบบไม่ต้องขนย้าย เครื่องจักรหนี - machine vessel.png (20.03 KB) - View: 23 times 2. จัดตังคณะกรรมการความปลอดภัยของโรงงาน ้ ทางโรงงานควรจัดตังทีมหรือทีมทีมอยูแล้วเป็นคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ ้ ่ ี ่ สิงแวดล้อมในการท างานของสถานประกอบการ โดยทีมงานต้องวิเคราะห์ความปลอดภัยของสถาน ่ ประกอบการ และทาการบ่งชีอนตรายทีมอยู่ โดยดาเนินการอย่างรอบคอบ มีภาระหน้าที่ ดังนี้ ้ ั ่ ี  การควบคุมและป้องกันการประสบอันตรายจากการเข้าฟื้นฟูสถานประกอบการ  การสารวจจุดอันตรายและจุดความปลอดภัย  การจัดทาข้อบ่งชีถงจุดอันตรายและประเมินความเสียง ้ ึ ่  การวางระบบรายงานสภาพการทางานทีไม่ปลอดภัย ่  การเฝ้าระวังและตรวจประเมินระบบ  การประเมินผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัยในการทางาน  การประชุม ประสานงานกับผูประกอบการหน่วยต่าง ๆ และการติดตามอย่างใกล้ชด ้ ิ
  • 3. 3. การสารวจความเสียหาย เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในสถานประกอบการต้องควบคุมพื้น ที่ทงหมดก่อน เพื่อดาเนินการ ั้ ติดตามความปลอดภัยของโรงงาน จนกระทั ่งเห็นว่าปลอดภัยจึงส่ง มอบพื้นที่ให้ส่วนที่ร บผิดชอบเข้า ั ดาเนินการต่อไป การสารวจความเสียหายของเครื่องจักรและอุปกรณ์จากภัยน้าท่วม มีแนวทางดังนี้ - การสารวจความเสียหายโดยการรวบรวมแบบและเอกสารที่เกี่ยวข้องที่มอยู่ โดยใช้การเดิน ี สารวจ (Walkthrough) การสารวจต้องดาเนินการโดยเจ้าหน้าทีทมความรู้และประสบการณ์ของโรงงาน ่ ่ี ี อุตสาหกรรมนัน ซึ่งตรวจดูสภาพความเสียหายในขันตอนนี้เป็นเพียงขันตอนเบื้องต้น (Preliminary) ้ ้ ้ เท่านัน การเข้าใจความเสียหายรวมทังหมดได้ ต้องรวมถึงการถอดประกอบ (Disassemble) อุปกรณ์ ท่ี ้ ้ ติดตังอยูในโรงงานอุตสาหกรรม ซึงจะช่วยในการวางแผนกาลังคน (Man–power) และกาหนดแผนงาน ้ ่ ่ เบืองต้น (Preliminary Schedule) ของงานซ่อมบารุง ้ - มาตรการด้ า นความปลอดภั ย ในการปฏิ บ ัติ ง าน ได้ แ ก่ ขัน ตอนติ ด ป้ าย และล็ อ ก ้ Lockout/Tagout) ทดสอบก่อนสัมผัสอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือจุดที่มไฟฟ้า (Test Before Touch) และการต่อ ี ลงดินก่อนทางาน (Applying Safety Ground) - จัดหาอุปกรณ์ ป้องกัน อัน ตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment: PPE) เช่ น รองเท้ายาง เครื่องช่วยหายใจ หน้ากากกันฝุ่น ถุงมือยาง หมวกนิรภัย อุปกรณ์ตรวจสอบก๊าซรั ่วชนิด พกพา เป็นต้น - การจัดเตรียมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองและระบบการจ่ายไฟชั ่วคราวเป็นอีกกรณีทมความสาคัญ ่ี ี มากในการกู้ภย เมื่ออุทกภัยผ่านไปแล้วสิงแรกที่โรงงานอุตสาหกรรมต้องการก็คือไฟแสงสว่างและ ั ่ เครื่องสูบน้ า อุปกรณ์ทงสองอย่างนี้ต้องการไฟฟ้ากาลังจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองและระบบจ่าย ั้ พลัง งานไฟฟ้าชั ่วคราว มีข้อแนะนาที่สาคัญก็คอห้ามจ่ายไฟผ่านระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้าถาวรของ ื โรงงานอุตสาหกรรมในทันที ในกรณีท่ต้องใช้มอเตอร์ในการขับเครื่องสูบน้ า ก็ให้จ่ายไฟฟ้าด้วยเครื่อง ี กาเนิดไฟฟ้าสารองผ่านตู้ควบคุมมอเตอร์แบบชั ่วคราว ติดตังอยู่ใกล้กบมอเตอร์พร้อมติดป้ายระบุว่า ้ ั มอเตอร์ชุดนี้รบไฟชั ่วคราว “This Equipment is Supplied by Temporary Power” ั 4. จุดตรวจสอบเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่มีโอกาสเสียหายจากน้าท่วม  โครงสร้างอาคารและพืนทีปฏิบตงาน ้ ่ ั ิ  ระบบไฟฟ้ากาลังและตูควบคุม ้  ระบบปมลมและท่อลม ั๊  ระบบควบคุมเครื่องจักร ระบบอิเลคทรอนิกส์  ระบบไฮดรอลิกส์และนิวเมติกส์  ระบบฐานข้อมูล  เครื่องมือตรวจสอบและเครื่องมือควบคุมคุณภาพต่าง ๆ
  • 4. 5. การจัดทารายละเอียดข้อบกพร่อง ความเสียหายของระบบไฟฟ้ ากาลัง เครื่องจักรและ อุปกรณ์ การจัดทารายละเอียดของระบบไฟฟ้ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์เป็นเอกสาร ซึงเป็นสิงสาคัญมาก ่ ่ ถือเป็ นกุญ แจสู่ความสาเร็จ ของการซ่อมคืนสภาพ รายละเอียดของอุปกรณ์ ทุกชิ้นต้องถูกจัดท าเป็ น เอกสารก่อนทีจะถูกถอดประกอบ รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ายออกจากสถานที่ตดตังเพื่อให้แน่ ใจว่าเมื่อนา ่ ิ ้ กลับมาติดตังใหม่อีกครังจะติดตังได้อย่างถูกต้อง การจัด ท าเอกสาร รายละเอียดต่าง ๆ มีขนตอน ้ ้ ้ ั้ ดังต่อไปนี้ * ติด ป้ ายหมายเลข (Tagging) ชิ้น ส่ ว นทุ ก ชิ้น ของอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ าและเครื่อ งจัก ร * ทาเครื่องหมาย (Labeling) อุปกรณ์ทุกชิน ้ * ถ่ายรูปดิจตอลของอุปกรณ์ทุกชิน ิ ้ * สังเกตไดอะแกรมของชินส่วนแต่ละชินของอุปกรณ์ให้ถูกต้องลงในแบบของอุปกรณ์นน ๆ ้ ้ ั้ * กรอกรายละเอียดของอุปกรณ์ ลงในแบบฟอร์มเพื่อเป็นหลักฐานในการติดตามหรือตามหา (Tracking Form) * จัดเก็บไฟล์รปภาพดิจตอลลงในแหล่งเก็บข้อมูลกลาง ู ิ * จัดทาระบบจัดเก็บเอกสารเพื่อจัดเก็บแบบของอุปกรณ์ให้เป็นระบบเพื่อสามารถค้นหาและ นามาใช้งานได้อย่างรวดเร็ว * รวบรวม Equipment Tracking Form ทีกรอกรายละเอียดแล้ว และจัดทาเป็นเอกสารควบคุม ่ (Controlled Copy) * บริหารและจัดการเอกสารส่งออก (Shipping Document) ให้เป็นระบบ - การติดป้ ายหมายเลขกับ อุ ป กรณ์ ทุ ก ชิ้น และกรอกรายละเอีย ดที่เ กี่ย วข้อ งทัง หมดรวมถึง ้ Sequence Number, รายละเอียดของอุปกรณ์ , Plant Identification Number, วันที่, หมายเลขห้อง (ที่ อุปกรณ์ตดตังอยู่) เช่น รับไฟจากแหล่งจ่ายไฟใด กรอกข้อมูลดังกล่าวให้อ่านออกและติดป้ายเข้ากับ ิ ้ อุปกรณ์ไฟฟ้าให้แน่ นหนาด้วย Tie Wrap (ไม่ใช้เชือก) การทาสัญลักษณ์สายคอนโทรลทังหมดด้วย ้ หมายเลข (Wire Number) และสายไฟฟ้ากาลังทังหมดด้วยเทปสีแสดงเฟส (ประเทศไทยใช้ สีดา แดง ้ น้าเงิน ขาว แทน เฟส A, เฟส B, เฟส C และสายนิวตรอล) ต้องมั ่นใจว่าได้ทาสัญลักษณ์ไว้ท่ปลายสาย ี ทังสองด้านเพื่อจะได้เข้าสายได้ถูกต้องในภายหลัง ้ - เมื่อติดป้ายอุปกรณ์ต่าง ๆ และทาสัญลักษณ์ครบถ้วนแล้ว ก็ให้ถ่ายรูปชิ้นส่วนอุปกรณ์แต่ละชิ้น จานวนสองรูป รูปแรกให้ถ่ ายติดป้ายหมายเลข (Identification Tag) ไว้ด้วย ต้องถ่ ายรูปให้เ ห็น รายละเอียดบนป้ายอย่างชัดเจนและอ่านได้ รูปทีถ่ายได้ตองชัดเจน รูปถ่ายรูปทีสอง ต้องการถ่ายเจาะให้ ่ ้ ่ เห็น รายละเอียดพร้อมทัง เห็น สัญ ลักษณ์ ท่ท าได้อย่างชัดเจนด้วย รูปถ่ ายรูปที่ส องนี้ไ ม่ต้องมีป้าย ้ ี หมายเลขเพราะจะไปบังรายละเอียดทีตองการเห็น ่ ้ - ขันตอนต่อไปก็คอการสเกตอุปกรณ์ พร้อมไดอะแกรมที่เกี่ยวข้องลงบนแบบ (Drawing Sheet) ้ ื พร้อมทังใส่รายละเอียดที่เกี่ยวข้อง เช่น หมายเลขงาน, ชื่องาน, แหล่งจ่ายไฟ, หมายเลขวงจรไฟฟ้า, ้
  • 5. Sequence Number, หมายเลขเครื่องจักร, ชื่อเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ ไ ฟฟ้า, ช่ างเทคนิ คที่จด รายละเอียดนี้ และวันทีทบนทึก ่ ่ี ั - หลังจากได้บนทึกรายละเอียดที่เกี่ยวข้องทังหมดของอุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว ผู้จดการนโยบาย ั ้ ั คุณภาพ (QA /QC Manager) หรือผู้จดการโครงการต้องทาการตรวจสอบรายละเอียดที่บนทึกได้ใน ั ั เอกสารต่าง ๆ ทังหมดว่าถูกต้องแม่นยาหรือไม่ หากพบข้อสงสัยหรือไม่แน่ ใจ ต้องตรวจสอบ แก้ไขให้ ้ ถูกต้องทันที เมื่อเอกสารบันทึกข้อมูลได้รบการรับรองแล้ว เครื่องจักรและอุปกรณ์กพร้อมที่จะถูกถอด ั ็ ประกอบ รือถอน เคลื่อนย้ายเพื่อทาการซ่อมบารุงในขันตอนต่อไป ้ ้ รูปแสดง การจัดทารายละเอียดของอุปกรณ์เป็นเอกสาร ให้สามารถอ่านรายละเอียดบนป้ายได้อย่างชัดเจน รูปแสดง การเก็บข้อมูลภาพถ่ายเพิมเติมโดยไม่มป้ายหมายเลขเพื่อต้องการถ่ายภาพเจาะรายละเอียดให้ ่ ี เห็นการเข้าสายไฟฟ้ารวมถึงสามารถใช้ภาพนี้เป็นภาพอ้างอิงภายหลังได้
  • 6. 6. การปรับสภาพพื้นที่ภายในโรงงานเบืองต้น ้ หลังจากได้รบพืนทีทปลอดภัย ส่วนที่รบผิดชอบควรเข้าไปปรับสภาพพื้นที่ในโรงงานเบื้องต้น ั ้ ่ ่ี ั โดยมีรายละเอียดการดาเนินการ ดังนี้ - เบืองต้นจะเน้นทาความสะอาดภายในอาคารและพืนทีปฏิบตงานให้แห้งสนิท ไม่มพนทีทมน้าขัง ้ ้ ่ ั ิ ี ้ื ่ ่ี ี หรือเปียกน้า ระบายน้าทีขงอยู่ เคลื่อนย้ายพรหม เฟอร์นิเจอร์ท่ีเปียกน้ า และทาให้แห้งด้วยการระบาย ่ ั อากาศก่อนทีจะติดตังไฟฟ้าใหม่ ่ ้ - โรงงานทีมโครงสร้างเป็นไม้ ควรปล่อยทิงไว้ให้แห้งสนิทก่อน แล้วจึงสารวจดูความเสียหายก่อน ่ ี ้ เริมซ่อมแซมและทาสีใหม่ ในส่วนของประตูไม้ หากเกิดการเอียงหรือผิดรูปไปจากการแช่น้ านาน ให้หา ่ อุปกรณ์มาค้ายันช่วยรับแรง หรือถอดออกแล้วนาไปตากแดด รอจนความชื้นระเหย แล้วค่อยนากลับมา ใช้งานตามปกติ - สารวจตรวจบานพับ รูกุญแจ และลูกบิด ทาการเช็ดน้ าออกให้แห้งสนิท แล้วค่อยขัดส่วนที่เป็น สนิม จากนันจึงใช้น้ายาหล่อลื่นชโลมตามจุดรอยต่อต่าง ๆ ้ - ตรวจสอบท่อ วาวล์ ซีล และข้อต่อของก๊าซ LPG ให้อยูในสภาพทีปลอดภัยในการใช้งาน คือ ไม่ ่ ่ หลุดหลวม ชารุด เป็นสนิม - ตรวจสอบระบบท่อส่งน้า ระบบประปาภายในอาคารโรงงานที่อาจมีรอยแตกและรั ่วซึม สุดท้าย แล้วก็ทาความสะอาดโรงงานตามจุดต่าง ๆ และเช็คอุปกรณ์ทุกชนิดทีหนีน้าไม่พ้น เพื่อป้องกันอันตราย ่ และเพื่อสุขภาพทีดของพนักงานในโรงงาน ่ ี - หากหัวน้าดับเพลิงตังอยูใกล้โรงงานของท่าน ต้องจัดการไม่ให้มสงกีดขวางเพื่อหน่ วยดับเพลิง ้ ่ ี ิ่ สามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก 7. การรือถอนเคลื่อนย้ายระบบไฟฟ้ ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์เพื่อซ่อมแซม ้ การรื้ อ ถอนและเคลื่ อ นย้ า ย ระบบไฟฟ้ าก าลั ง เครื่ อ งจัก รและอุ ป กรณ์ (Equipment Removal) เป็นขันตอนของการนาอุปกรณ์ หรือเครื่องจักรออกจากสถานที่ตดตังเพื่อทาการซ่อมบารุ ง ้ ิ ้ รวมถึงเตรียมสถานทีสาหรับติดตังอุปกรณ์ใหม่ ชินส่วนใหม่ หรือเครื่องจักรใหม่ด้วย มีรายละเอียดการ ่ ้ ้ ดาเนินการ ดังนี้ - การดาเนินงานในแต่ละวันผู้ปฏิบตงานต้องนาส่งข้อมูลหน้างาน (Field Data) เพื่อรายงานกับ ั ิ ผูจดการโครงการ หรือผูรบผิดชอบ เพื่อจัดทารายละเอียดของอุปกรณ์เป็นเอกสาร ้ ั ้ั - การบันทึกความก้าวหน้าของงานซ่อมบารุงและซ่อมคืนสภาพ ข้อมูลหน้างานต้องประกอบด้วย รูปภาพดิจตอลของอุปกรณ์ , แบบที่เกี่ยวข้องของอุปกรณ์ และเอกสารบันทึกรายละเอียดอุปกรณ์ เพื่อ ิ การตรวจติดตามผล (Equipment Tracking Form) - ต้องจัดเก็บรูปภาพที่ถ่ายด้วยกล้องดิจตอลซึ่งเป็นไฟล์อเล็กทรอนิกส์ทงหมดไว้ในเซิร์ฟเวอร์ ิ ิ ั้ ของโครงการทีมความมั ่นคงและปลอดภัย รูปภาพทุกรูปต้องถูกเปิดดูว่าเสียหรือไม่ ต้องมีความชัดเจน ่ ี ต่อจากนันจึงบันทึกไฟล์รปภาพลงในโฟลเดอร์ทอางอิง เช่นแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าที่อุปกรณ์ไฟฟ้ารับ ้ ู ่ี ้ ไฟอยู่ หรือหมายเลขห้องทีอุปกรณ์ไฟฟ้านันติดตังอยู่ ่ ้ ้
  • 7. - อุปกรณ์แต่ละชินต้องมีรปภาพทีเกียวข้องสองรูปโดยมีสญลักษณ์ทเี่ ป็นหมายเลขเครื่องจักรหรือ ้ ู ่ ่ ั อุปกรณ์อยู่ด้วย ต่อจากนันจับคู่รูปภาพกับแบบของอุปกรณ์ จัดเก็บรูปภาพและไดอะแกรมไว้ด้วยกัน ้ ข้อมูลทีได้น้ีเป็นข้อมูลติดตังทังหมดก่อนทีขนตอนการติดตังอุปกรณ์หรือเครื่องจักรกลับเข้าทีจะเริมขึน ่ ้ ้ ่ ั้ ้ ่ ่ ้ รูปแสดง การรวบรวมรายละเอียดข้อมูลจากช่างเทคนิค ของตูไฟฟ้าทีได้รบความเสียหายจากน้าท่วม ้ ่ ั เพื่อจัดทาเป็นเอกสาร 8. การจัดการกับความเสียหายที่เกิ ดขึ้นต่อเครื่องจักรและอุปกรณ์ ผูรบผิดชอบต้องตัดสินใจทีเกียวข้องกับอุปกรณ์หรือเครื่องจักรทีได้รบความเสียหายจากน้ าท่วม ้ั ่ ่ ่ ั ว่าอุปกรณ์หรือเครื่องจักรเหล่านันสมควรทีจะเปลียนใหม่ หรือซ่อมแซมการซ่อมแซมนันทาได้ท่โรงงาน ้ ่ ่ ้ ี เลยหรือไม่ หรือต้องเคลื่อนย้ายออกเพื่อนาไปซ่อมแซมที่หน่ วยงานของผู้ผลิตหรือตัวแทนจาหน่ าย ทังหมดนี้เป็นการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ทสาคัญของผูจดการโครงการทีตองรับผิดชอบ การจัดการกับความ ้ ่ี ้ ั ่ ้ เสียหาย มีรายละเอียดดังนี้ - ทาการตัดระบบจ่ายไฟฟ้าทังหมด ้ - ทาความสะอาด เช็ด เป่าหรือทาให้แห้งกับอุปกรณ์ไ ฟฟ้าที่ถูกน้ าท่วมถึงให้แห้ง ก่อนการยก สวิตซ์จ่ายไฟเข้าโรงงาน ขันตอน การทาความสะอาดเครื่องจักร หลังน้าท่วม แบ่งเป็นส่วน ๆ ดังต่อไปนี้ ้ การล้างทาความสะอาดเครื่องจักร ( ส่วนตัวเครื่องภายนอก )  การล้างทาความสะอาดเครื่องจักร ส่วนที่เป็น Cover , โครงเครื่อง , ส่วนที่เป็นสี , กระจก , พลาสติก , ฐานเครื่อง เป็นต้น  เมื่อหลังน้ าลดแล้ว ก่อนการท าความสะอาดเครื่องจักร ห้ามเปิ ดสวิชท์ เครื่องโดย เด็ดขาด  เริมล้างทาความสะอาดเครื่องจักร โดยนาสิงสกปรกออกจากบริเวณเครื่องจักรที่ผ่าน ่ ่ น้าท่วม มา เช่น โคลน , เศษดิน, เศษหญ้า , ตะไคร่น้า หรือสิงแปลกปลอมอื่น ๆ เป็นต้น ่  การล้างส่วนตัวเครื่องจักร ให้ใช้น้ า และ น้ ายาทาความสะอาด ล้างบริเวณทั ่วไปของ เครื่องจักร ( ยกเว้นบริเวณทีเป็นแผงวงจรไฟฟ้า ) ่
  • 8. การล้างทาความสะอาดเครื่องจักร ( ส่วนตัวเครื่องภายใน ) ได้แก่ ส่วนทีเป็นอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ่ แม่พมพ์ , กระบอกสูบ , เพลา , เฟือง , ผนังครื่อง Ball Screw , Slide Way หรือ ส่วนทีไม่ได้มสปกปิดไว้ เป็นต้น ิ ่ ี ี  ให้ลางทาความสะอาดเครื่องจักร ส่วนภายในนี้ โดยนาสิงสกปรก ที่เกิดจาก น้ าท่วม ้ ่ ออกจากบริเวณดังกล่าวเช่นกัน  การล้างเครื่องจักร โดยใช้น้ายาล้างเครื่องจักร หรือ น้ายาทาความสะอาด ชนิดพิเศษ ที่ สามารถล้างคราบสนิม หรือ คราบน้ ามัน , คราบจารบี ออกจากตัวเครื่อง ( ยกเว้น บริเวณทีเป็นแผงวงจรไฟฟ้า ) ่  หลังจากล้างน้าแล้ว เราอาจพบสนิมหลงเหลืออยู่ ซึ่งปญหานี้ เราอาจต้องขัดสนิมออก ั ด้วยกระดาษทรายชนิดละเอียด หรือ แผ่นสก๊อตไบร์ท ทาการขัดลูบ ( ไม่แรงจนเกินไป เพราะจะทาให้ผวของเครื่องจักร เกิดความเสียหายได้ ) หลังจากนันควรทาหรือฉีดพ่น ิ ้ ด้วยน้ายากันสนิม หรือ สารหล่อลื่น เพื่อลดการเกิดสนิมซ้า  เมื่อล้างน้าเสร็จ แนะนาว่า อย่าปล่อยหรือทิ้งไว้นาน เพราะจะทาให้เกิดสนิมได้โดยเร็ว ดังนันหลังผิวเหล็กแห้งแล้ว ควรฉีดพ่น หรือ ทาด้วยน้ามัน หรือ น้ายาปกป้องสนิมทันที ้  สาหรับส่วนทีเป็นเหล็ก หรือ โลหะต่าง ๆ ซึงจมน้า หรือ น้าท่วม เป็นเวลานาน สภาพสี ่ ่ หรือ ผิวของชินส่วนนัน อาจชารุดเสียหาย ซึ่งเราอาจใช้ สีกนสนิมชนิดพิเศษทาไว้ก่อน ้ ้ ั เพราะจะได้เป็นการป้องกันสนิมมิให้เกิดซ้าแบบถาวรได้ หรือ หากต่อไป เราสามารถทา สี หรือ พ่นสี ในส่วนนันได้ โดยมิตองมาขัดสนิมใหม่อก ้ ้ ี การทาความสะอาด แผงวงจรไฟฟ้า แผงวงจรอิเล็คทรอนิค  แผงวงจรไฟฟ้า หรือ แผงวงจรอิเล็คทรอนิค ถือเป็ นส่วนที่สาคัญ มาก ดังนันการจะกู้ ้ เครื่องจักรมาใช้ได้ หัวใจคือจุดนี้ เราจึงควรใช้ น้ายาไล่ความชืน เข้ามาทาความสะอาด ้ แทนการใช้ลมเป่าแต่เพียงอย่างเดียว เพราะการใช้ลมอาจมีโอกาสที่น้ าหรือ ความชื้น ยังคงติดค้างหลงเหลืออยูได้ ซึงเมื่อเปิดการทางานของเครือง อาจเกิดไฟฟ้าลัดวงจรจน ่ ่ ่ แผงวงจรนันเสียหายได้ ้  หลังจากใช้น้ายาไล่ความชืนฉีดพ่นแล้ว เราอาจใช้ลมแห้ง หรือ เครื่องเป่าลมร้อน ( Air ้ Dryer ) เป่าไปยังบริเวณ แผงวงจรไฟฟ้า อีกครัง เพื่อสร้างความมั ่นใจว่าจะไม่มน้ า ้ ี หลงเหลือ หรือค้างอยูในแผงวงจรไฟฟ้าได้ ่ หลังจากทาความสะอาดเครื่องจักร หลังน้ าท่วม เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ต้องตรวจสอบทุกจุดด้วย ความมั ่นใจว่าอยูในสภาพพร้อมการใช้งาน จึงค่อยทาการเปิดเครื่อง ( Switch On ) แต่ขอยาว่าการเปิด ่ ้ เครื่องเพื่อใช้งาน ควรอยูภายใต้การดูแลจากผูเชียวชาญ หรือ ช่างชานาญการเท่านัน ่ ้ ่ ้ - การยกคัทเอ้าท์หรือเมนเบรกเกอร์เพื่อเปิดให้มการจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าโรงงานนัน ควรทดลอง ี ้ เปิดใช้งานทีละวงจร เพื่อความสะดวกสาหรับการตรวจสอบหากยังมีปลั ๊กหรือจุดใดจุดหนึ่งอยูในสภาพที่ ่ ไม่พร้อมใช้งาน เช่น ชารุด เปียกชืน หรือรั ่วลงดิน ้
  • 9. - การทดลองว่ามีกระแสไฟรั ่วไหลหรือไม่นน ควรมีการทดลองดับไฟทุกจุดในโรงงาน โดยการ ั้ ปลดปลั ๊ก โหลดเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ออกทังหมดแล้วค่อยเปิดวงจรทีละวง พร้อมตรวจสอบดูมเตอร์ ้ ิ ไฟฟ้าว่าหมุนหรือไม่ หากไม่เคลื่อนไหวแสดงว่าไฟฟ้าในโรงงานท่านไม่น่าจะรั ่ว แต่ถ้ามิเตอร์หมุนแสดง ว่าไฟฟ้าในโรงงานท่านอาจจะรั ่วได้ ทังนี้ให้รบตามช่างไฟมาดูแล ปรับปรุงซ่อมแซม หรือปรับเปลี่ยน ้ ี อุปกรณ์ทชารุดเสียหาย ่ี - ควรยกระดับของปลั ๊กไฟ เต้ารับต่า ง ๆ ที่อยู่ใ นระดับอาคารโรงงานออกให้ห มด แล้วปรับ ตาแหน่งปลั ๊กไฟไปอยูทระดับประมาณ 1.20 เมตร เท่ากับระดับสวิตซ์ พร้อมกันนี้ควรแยกวงจรไฟฟ้า ่ ่ี ออกให้ชดเจนระหว่างบริเวณทีน้าอาจท่วมถึง กับบริเวณที่น้ าไม่สามารถท่วมถึง เพื่อควบคุมการเปิด - ั ่ ปิดวงจรไฟฟ้าให้อาคารโรงงานได้อย่างอิสระและง่ายต่อการซ่อมแซมบารุงรักษา - ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าทีเป็นโครงสร้างโลหะ เช่น หม้อแปลง ตูเมนสวิตช์ ตูไฟฟ้าย่อย ท่อร้อย ่ ้ ้ สายไฟ ขัวต่อลงดิน และจุดต่อต่าง ๆ ที่อาจเป็ นสนิ ม หรือช ารุ ดหลุดหลวมขณะที่มีน้ าท่วมขัง เช่ น ้ บริเวณจุดต่อเชื่อมสายดินของระบบไฟฟ้า ป้องกันฟ้าผ่า เพื่อจะได้ปรับปรุง ซ่อมแซม หรือเปลี่ยนใหม่ ให้อยูในสภาพทีใช้งานได้อย่างปลอดภัย ่ ่ - ต้อ งตัง สมมติฐ านเสมอว่า สายไฟที่อยู่บนพื้น รวมถึง สายสัญ ญาณทีวม ีไ ฟฟ้า อยู่เพื่อความ ้ ี ปลอดภัย - มาตรฐาน National Electrical Manufacturers Association: NEMA ได้พมพ์เอกสารแนะนาที่ ิ ชื่อว่า “Evaluating Water–Damaged Electrical Equipment” ซึ่งได้ใ ห้รายละเอียดในการประเมิน อุปกรณ์ไฟฟ้าทีได้รบความเสียหายจากน้าท่วมอย่างเหมาะสม ตามรายละเอียดทีสรุปในตารางที่ 1 ่ ั ่
  • 10. ตารางที่1 คาแนะนาของ NEMA ในการจัดการกับอุปกรณ์ไฟฟ้าทีถูกน้าท่วม ่
  • 11. 9. การฟื้ นฟู ซ่อมแซมเครื่องจักรและอุปกรณ์ แต่ละชนิ ด หลังจากน้าลด ทุกระบบของเครื่องจักรจะได้รบความเสียหายทันที โดยเฉพาะระบบไฟฟ้า และ ั อิเลคทรอนิคส์ ทังนี้ระบบแมคคานิค ยังคงแก้ไขได้ไม่ยากหากจมน้าแค่อาทิตย์สองอาทิตย์ หากมากกว่า ้ ็ ั นี้กเป็นปญหากู้คนยาก เพราะเหล็กจะถูกกัดกล่อนไปเรื่อยๆ จนมีขุยหรือตะกอนผุดขึนมาหากจมน้ า ื ้ นานๆ หลังจากน้าลดให้ถอดการ์ด Cover ออกให้หมดแล้วรีบทาน้ามันรางไสลด์ทุกแกน หรือบอลสกรู ทันทีเพื่อป้องกันสนิม ไม่ควรให้สนิมแดงขึนเพราะทาให้ดาเนินการยากยิงขึน เสียเวลาในการขัด หรือ ้ ่ ้ อาจจะต้องส่งเจียรนัยรางไสลด์ สาหรับส่วนทีเป็น LM Guide ก็ตองทาเช่นเดียวกัน และเป็นการที่ดควร ่ ้ ี จะเปลียนอุปกรณ์ไฟฟ้าต่อไปนี้ใหม่มากกว่าพยายามทีจะซ่อมแซมเพื่อให้ใช้งานได้ ได้แก่ เต้ารับไฟฟ้า, ่ ่ สวิตช์ไฟฟ้า ,หลอดไฟฟ้ า,และอุปกรณ์ประกอบ, แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และเครื่องมือวัด ต่าง ๆ เจ้าหน้าที่ซ่อมบารุงต้องทาการวัดค่าความเป็นฉนวนของสายไฟฟ้าและสายคอนโทรลทังหมด ้ และต้องเปลี่ยนสายใหม่หมดในกรณีท่ค่าความต้านทานของฉนวนที่วดได้มค่าน้อย โดยกิจกรรมการ ี ั ี ฟื้นฟู ซ่อมแซมเครื่องจักรและอุปกรณ์แต่ละชนิด มีดงนี้ ั  ระบบไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกตัวต้องเปลี่ยน เพื่อความปลอดภัย เมื่อมีน้ ามันเข้าไปใน Relay, Megnatic Contractor, Timer, Overload, Braker และอุปกรณ์ต่างๆอีกมากมาย ไม่คุ้มหากเปิดแล้วจะเกิดการ ระเบิด รวมถึงสายไฟทุกเส้น ก็ควรจะทาการเปลี่ยนเช่นเดียวกัน หากน้ าเข้าไปในสายไฟความชื้นก็จะ สะสมเยอะ รวมถึงน้าทีเข้าไปแล้วก็จะไม่มวนออก เพราะสายเดิมค่อนข้างแข็งกระด้างอยู่แล้ว เนื่องจาก ่ ีั ั ฤทธิ ์น้ามันทาให้ยางปลอกสายไฟแข็ง ถ้าจ่ายไฟเข้าไปจะเกิดปญหาใหญ่ได้  ระบบคอนโทรล เช่น FANUC, MITSUBISHI, YASNAC ก่อให้เกิดความเสียหายมหาศาล อุปกรณ์อเิ ลคทรอนิคส์ หากจมน้านานๆ ก็จะทาให้เกิดสนิมกัด กร่อน และลายปรินต์ของบอร์ดก็จะถูกลอกออก รวมถึงความชืนในแผ่นปริ้นต์กจะชุ่มไปด้วยน้ า รวมถึง ้ ้ ็ เศษ หิน ดิน ทราย ทีจะเข้าไปอยูใต้ IC อีกจานวนมาก โอกาสซ่อมได้มแค่ 10% อาจจะแก้ไขได้โดย ่ ่ ี การลอง อบแผง ไล่ความชืนและพยายามทาความสะอาดแล้วลองเทสดู ส่วน Motor ทังหลายทัง Servo ้ ้ ้ Motor, Spindle Motor โอกาสที่จะซ่อมได้มี 80% หาก Motor จมน้ าไปแล้ว ห้ามจ่ายไฟเข้าเด็ดขาด ต้องส่งอบไล่ความชืน และทาน้ายาแล้วนามาอบมาใหม่ รวมถึง Bearing ข้างในทุกลูกก็ต้องเปลี่ยนใหม่ ้ หมด อย่าเสียงใช้ของเก่า เพราะ เศษ หิน ดิน ทราย เข้าไปใน Bearing ทาให้ความแม่นยาของลูกปืน ่ ลดลงทันทีจะก่อให้เกิดความเสียหายในเวลาต่อมา ส่วน Encoder หลังก้น Motor อันนี้เป็นอุปกรณ์ อิเลคทรอนิคส์ โอกาสซ่อมได้มแค่ 10% ส่วนเรื่องจอภาพ CRT นัน 80% สามารถซ่อมได้ แต่จอ LCD ี ้ ควรเปลียนใหม่ เพราะถ้าน้าเข้าไปแล้วค่อนข้างจะซ่อมยาก ่  ระบบเครื่องกล - Spindle Unit เป็นอุปกรณ์ทโดยทั ่วไปจะป้องกันน้าอยูแล้ว เพราะจะมีโอริง กันน้ าเข้าไป ่ี ่ ด้านใน แต่อย่างไรเสียก็ตองรือมาดูก่อนเพราะจะมีรน้ามันที่เข้าไปเลี้ยง Spindle Bearing น้ าอาจจะเข้า ้ ้ ู
  • 12. ทางนี้กได้ รวมถึงระบบ Oil Cooler หากน้าท่วมแท้งค์น้ีกถอดออกมาล้างอย่างเดียว อย่าฝืนเปิดเด็ดขาด ็ ็ หากน้าเข้าได้จะเกิดสนิม หากเครื่องจักรท่านเก่าอยูแล้วควรถือโอกาสเปลียน Spindle Bearing จะเป็นการดี ่ ่ - Ball Screw และ Support Bearing ของทุกแกน ต้องดูสภาพรางที่เม็ดลูกบอลวิง หาก ่ ถูกกัดกร่อนเป็นตามด ควรเปลียนใหม่อย่างเดียวซ่อมไม่ได้ หากไม่มตามดสามารถถอดรางมาขัดใหม่ ่ ี แล้วเปลี่ยนเม็ดบอลใหม่ได้ อันนี้ไม่ยากเท่าไหร่ ส่วน Support Bearing หัวและท้ายควรเปลี่ยนใหม่ เพราะจะมีเศษ หิน ดิน ทราย เข้าไป - ชุดไฮโดรลิค ควรถอดมาล้างใหม่ ส่วนมอเตอร์ให้นาไปส่งอบ ส่วนทีไปเลียงหัวป้อมมีด ่ ้ หรือชุด Tool Clamp/Unclamp ให้ร้อและเปลี่ยนทาความสะอาดและเปลี่ยน O-RING ใหม่หมด จะได้ ื ระบายน้ าออกจากจุดที่เรามองไม่เห็น เช่นเดียวกันกับชุดน้ ามันหล่อเลี้ยงไสลด์แกน ให้ถอดอกมาทา ความสะอาดใหม่หมดเช่นกัน - ชุด ATC จับเปลี่ยนทูล แกะ Cover ออกมาเพื่อระบายน้ าออกและทาความสะอาดชุด CAM หากมี O-RING ให้เปลียนใหม่ทงหมด ่ ั้ - มอเตอร์ (Motor Repair) น้ าท่วมอาจจะทาให้ส่วนประกอบต่าง ๆ ของมอเตอร์ได้รบ ั ความเสียหาย ได้แก่ฉนวน, สวิตช์, คอนแทกเตอร์, คาปาซิเตอร์ และรีเลย์ป้องกัน รวมถึงการผุกร่อน ของส่วนที่เป็นโลหะ และการปนเปื้อนของสารหล่อลื่นของมอเตอร์ การซ่อมมอเตอร์เป็ นงานหลักของ การฟื้นฟูโรงงานอุตสาหกรรมทีได้รบความเสียหายจากภัยน้าท่วม การรวบรวมรายละเอียดของมอเตอร์ ่ ั ทีตองซ่อมแซมเพื่อจัดทาเป็นเอกสารมีขนตอนเช่นเดียวกันกับอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดอื่น ๆ แต่กมขอมูลบาง ่ ้ ั้ ็ ี ้ รายการทีตองเพิมเติมเพื่อความสมบูรณ์ในการติดตามความคืบหน้าของงานซ่อมแซม ได้แก่ ่ ้ ่ * บันทึกข้อมูลบน Nameplate และข้อมูลแสดงตาแหน่งของมอเตอร์ * ติดป้ายหมายเลขแท่นเครื่องและมอเตอร์ให้มหมายเลขเดียวกัน ทังนี้เพื่อให้ง่ายในการ ี ้ จับคู่และนามอเตอร์มาวางลงบนตาแหน่งทีถูกต้อง ่ * ทาเครื่องหมายและบันทึกข้อมูลของจุดต่อสาย * บันทึกข้อมูลการ Coupling และเงื่อนไขของการ Coupling * รวบรวมชินส่วนสาหรับติดตังมอเตอร์ เช่น Mounting Hardware, Coupling and Shim ้ ้ เก็บชิ้นส่วนเหล่านี้ของมอเตอร์แต่ละตัวในถุงพลาสติก ซีลให้เรียบร้อยแล้ว อาจใช้ถุงพลาสติกแบบมี ซิปล็อกก็ได้ ตามมาตรฐานของ NEMA ได้ยอมรับให้ซ่อมมอเตอร์ท่ได้รบความเสียหายจากน้ าท่วมได้ ี ั แต่กไม่เสมอไปทีจะช่วยประหยัดเงินด้วยการซ่อมมอเตอร์ ดังนันการวิเคราะห์ต้นทุน (Cost Analysis) ็ ่ ้ จึงเป็นสิงจาเป็นเพื่อช่วยการตัดสินใจว่าจะซ่อมมอเตอร์หรือเปลียนมอเตอร์ใหม่ ่ ่ 10. การเตรียมการเดิ นเครื่องจักร ก่อนจะเริมเดินเครื่องจักรครังแรก จะต้องเตรียมการดังต่อไปนี้ ่ ้ - การใช้เครื่องก าเนิด ไฟฟ้ าต้องปฏิบ ัติตามข้อแนะน า หรือคู่ม ือ การใช้ของผู้ผ ลิต และใช้ ภายนอกอาคาร เนื่องจากไอคาร์บอนมอนออกไซด์ไม่มกลินและจะเพิมขึนอย่างรวดเร็วในอาคาร ี ่ ่ ้
  • 13. - ตรวจสอบการใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องเลือกใช้สายไฟทีมขนาดและชนิดทีเหมาะสมต่อภาระ ่ ี ่ กระแสไฟฟ้า เนื่องจากสายไฟที่มภาระเกิน (Over load) มีความร้อนสูงทาให้เพลิงไหม้ได้ และต้องไม่ ี เดินสายไฟไว้ใต้พรหม เนื่องจากจะทาให้เกิดความร้อนและอาจเกิดความเสียหายต่อสายไฟโดยไม่ทนได้ ั สังเกต และควรเติมเชือเพลิงเครื่องกาเนิดไฟฟ้านอกอาคารเสมอ ้ - ไม่ตอเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าอื่น เช่น สายไฟฟ้า เพราะอาจเกิดการไหล ่ ย้อนหรือจ่ายย้อยทาให้ไฟฟ้าซ๊อตผูปฏิบตงานได้ ้ ั ิ - ควรใช้งานเครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดเคลื่อนทีให้ห่างจากประตู หน้าต่าง และช่องระบายอากาศ ่ - ไม่เดินเครื่องกาเนิดไฟฟ้าในโรงรถทีตดอยูกบตัวบ้าน หรือระเบียงทีปกปิด ่ ิ ่ ั ่ - เครื่องจักร มอเตอร์ และอุปกรณ์ไฟฟ้าทีถูกน้าท่วม มีการเช็ดทาความสะอาดและบารุงรักษา ่ โดยช่างผูชานาญการเดินเครื่อง ก่อนเดินเครื่องต้องตรวจสอบสายดินว่ามีการยึดแน่ นหนา และไม่เป็น ้ สนิม - อุปกรณ์ป้องกัน (Breaker) สายไฟ และจุดต่อต่าง ๆ ต้องอยู่ในสภาพที่ไม่ชารุดเสียหาย มี สภาพทีปลอดภัยต่อการใช้งานอย่างสมบูรณ์ ่ - วัดแรงดันไฟฟ้าว่าตรงตามทีตองการหรือไม่ ่ ้ - ตรวจสอบการเชือมต่อของสายไฟฟ้าทัง L, N, PE ่ ้ - เมื่อตรวจสอบการติดตังของระบบไฟฟ้าแล้ว ทาการทดสอบระบบ Load โดยเชื่อมต่อ Load ้ เข้าสู่ระบบไฟฟ้า (โดยทาการเชื่อมต่อ Load ทีละชุด และทาการตรวจสอบระดับแรงดัน , กระแส, กาลังไฟฟ้า, (อุณหภูมของ Load และสายไฟ, จุดต่อ) ไฟฟ้ารั ่วในระบบ ิ ั - ตรวจเช็คสภาพมอเตอร์ในขณะ Run เกิดปญหาต่าง ๆ หรือไม่เช่น Looseness, Unbalance miss alignment, Bearing ั ิ ่ ั - หากปฎิบตตามทีกล่าวมาข้างต้นแล้วยังประสบปญหาอยูควร Shutdown ระบบและติดต่อกับ ่ Supplier ของระบบเครื่องจักร - การตรวจสอบการลัดวงจร (Short) ของระบบไฟฟ้า ควรยืนบนพืนฉนวนในขณะทีทดสอบระบบ ้ ่ ไฟฟ้าหรือควรยืนบนพืนทีแห้งและสวมถุงมือกันไฟฟ้าทาการทดสอบความเป็นฉนวนของตู้สวิทซ์หลัก ้ ่ และระบบไฟฟ้าย่อยโดยวัดความเป็นฉนวนดังนี้
  • 14.  วัดความเป็นฉนวนของ Circuit Breaker ภายในตู้ MDB ในแต่ละเฟสโดยทดสอบเฟส- เฟส, เฟส-นิวทรอน, เฟสเทียบกราวด์  ทาการตรวจสอบสายไฟฟ้า สภาพสายไฟจะต้องสมบูรณ์ไม่แตกร้าว ไม่บวม  สายไฟฟ้าไม่บาดกับโลหะจับยึดสายไฟ  ตรวจวัดด้วยเครื่องวัดความเป็น ฉนวน (Insulation Tester) เพื่อยืน ยันให้แน่ นอนว่า สายไฟฟ้าดังกล่าวพร้อมใช้งานหรือมีความเสียหายไปแล้ว  วัดค่าความเป็น ฉนวนระหว่างสาย L-N, L-PE, N-PE โดยการวัดจะต้องเป็ นการวัด ระหว่างตัวนากับตัวน าเท่านัน โดยที่จะต้องปลดสายไฟฟ้าจากสวิท ซ์ห ลักและอุปกรณ์ ้ ไฟฟ้า (Load) จะต้องได้ค่าไม่ต่ากว่า 0.5 เมกกะโอห์ม โดยใช้ระดับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง ทดสอบไม่ต่ากว่า 500 V เป็นเวลาต่อเนื่องไม่ควรต่ากว่า 30 วินาที ตามมาตรฐาน IEC 6036  ตรวจสอบค่าความเป็นฉนวนของอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น มอเตอร์ต่าง ๆ  วัดค่าความเป็ นฉนวนของสายไฟที่เชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น ในกรณีท่เป็ น ี อุปกรณ์ไฟฟ้า 3 เฟส  วัดสายไฟ เฟสเทียบเฟส  วัดสายไฟเฟสเทียบนิวทรอน (ต้องปลดอุปกรณ์)  วัดสายไฟนิวทรอนเทียบกราวด์ (โครง)  วัดสายไฟเฟสเทียบกราวด์ (โครง) สรุป การแก้ไ ขและฟื้ น ฟูร ะบบไฟฟ้ าก าลัง เครื่องจัก รและอุ ปกรณ์ จากอุ ท กภัย ประกอบด้ว ย เบืองต้นควรมีการประเมินสถานการณ์ ความรุนแรงของปญหาและเตรียมความพร้อมในการป้องกันก่อน ้ ั น้ าท่วม จากนันควรมีการจัดตังทีมงานส ารวจความเสียหาย การบ่งชี้จุดอัน ตราย การจัดการกับจุด ้ ้ อันตราย และส่งมอบพื้นที่ให้กบหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดาเนินการทาความสะอาดในเบื้องต้น และ ั ดูแลจัดการกับความเสียหายของระบบไฟฟ้า เครื่องจักรและอุปกรณ์ ตลอดจนการเตรียมการเดิน เครื่องจักร เพื่อทดลองเดินเครื่องและปรับปรุงแก้ไขกับสภาพทียงบกพร่อง ่ ั สิง สาคัญ ในการฟื้น ฟูระบบไฟฟ้ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์ ของโรงงานอุตสาหกรรมให้ ่ สามารถทางานและใช้งานได้เหมือนเดิม จะเร็วหรือช้าก็ขนอยูกบความมีอยูของข้อมูล ความแม่นยาและ ้ึ ่ ั ่ ความถูกต้องของเอกสารทีรวบรวมรายละเอียดของระบบไฟฟ้ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์ ที่ตดตังใน ่ ิ ้ โรงงาน การจัดเก็บแบบไฟฟ้าต่าง ๆ การจัดการกับเอกสารอย่างเป็นระบบและปลอดภัยรวมถึงสามารถ เข้าถึงได้ง่ายจะช่วยทาให้การฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากาลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์ทาได้อย่างปลอดภัย ถูกต้อง และรวดเร็ว
  • 15. เอกสารอ้างอิ ง 1. บริษ ัท เมเชอร์โ ทรนิ กซ์ จากัด . ความปลอดภัยและการฟื้ นฟูร ะบบไฟฟ้าหลังน้ าท่วม. http://www.measuretronix.com 2. หลัง น้ าท่ วม ขัน ตอนการบ ารุง รักษาอุปกรณ์ ไ ฟฟ้า เครื่องจัก ร ชิ้น ส่ว นอิเล็คทรอนิคส์ . ้ www.tooads.com/47241-หลังน้าท่วม 3. การทาความสะอาดเครื่องจักร หลังน้าท่วม. http://www.nubbank.com 4. P.M SYSTEM CO.,LTD Electrical Preventive Maintenance. http://www.pmsystemgroup.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539363406 5. กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม วันที่ 3-11-2554 www.ช่วยน้าท่วม.com 6. บริษท ไอนัค จากัด.การกูคนเครื่องจักรหลังถูกน้าท่วม ั ้ ื http://www.inucth.com/wizContent.asp?wizConID=208&txtmMenu_ID=72 7. 2554.คู่ม ือ รับ มือ ภาวะน้ า ท่ ว มส าหรับ โรงงาน.ส านัก งานส่ ง เสริม ความปลอดภัย และ สิงแวดล้อม โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด : 4-8 ่