SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 28
เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.1ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทมาก เช่น มีการ
ใช้คอมพิวเตอร์ในการทางาน ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อสืบค้นข้อมูล หรือรับ
ขส่งข้อมูลระหว่างกัน ตลอดใช่โทรศัพท์เครื่องที่(mobile phone)
หรือโทรศัพท์มือถือในการติดต่อสื่อสารองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนได้
นาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเข้ามาใช้งานในทุกระดับชั้น
ขององค์กร
• คำว่ำ เทคโนโลยีสำรสนเทศ ( Information Technology: IT )เรียกย่อว่ำ"ไอที"
ประกอบด้วยคำว่ำ"เทคโนโลยี" และคำว่ำ"สำรสนเทศ" นำมำร่วนกันเป็น"เทคโนโลยี
สำรสนเทศ" และคำว่ำเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร ( Information and
Communication Technology: ICT ) หรือเรียกย่อว่ำ"ไอซีที"ประกอบด้วยคำ
ที่มีควำมหมำยดังนี้
• เทคโนโลยี( Technology ) หมำยถึง กำรนำควำมรู้ด้ำนวิทยำศำสตร์มำประยุกต์ใน
กำรพัฒนำเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ วิธีกำรและกระบวนกำร
• สำรสนเทศ( Information ) หมำยถึง ผลลัพธ์ที่เกดจำกกำรนำข้อมูลมำ
ผ่ำนกระบวนกำรต่ำงๆ อย่ำงมีระบบ
• เทคโนโลยีสำรสนเทศ หมำยถึง กำรนำควำมรู้ทำงด้ำนวิทยำศำสตร์มำ
ประยุกต์ใช้เพื่อสร้ำงหรือจัดกำรสำรสนเทศอย่ำงเป็นระบบและรวดเร็ว โดยอำศัย
เทคโนโลยีทำงด้ำนคอมพิวเตอร์
• เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร ตำมแผ่นแม่บท เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร
สื่อสำรประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 หมำยถึง เทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับข่ำวสำรข้อมูล
และกำรสื่อสำรนับตั้งแต่กำรสร้ำง กำรนำมำวิเครำะห์หรือกำรประมวลผล
1.2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
• ระบบสารสนเทศ เป็นระบบที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพการทางานโดยใช้
เทคโนโลยี
• 1.2.1 ฮำร์ดแวร์ ( hardware ) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เช่น คีย์บอร์ด ( keyboand ) เมาส์ (
mouse )จอภาพ( monitor )เป็นต้น รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสาร
สาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย เช่น โมเด็ม(modem)
และ สายสัญญาณ
• 1.2.2 ชอฟต์แวร์ ( soflware ) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่ง (
instruction ) ที่ใช่ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ชุดคาสั่งจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
• ซอฟต์แวร์ระบบ ( system software ) หมายถึงชุดคาสั่งที่ทา
หน้าที่ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
ต่างๆ และทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์
ระบบแบ่งออกเป็น
• 1) ระบบปฏิบัติกำร ( Operating System: OS ) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทา
หน้าที่ควบคุมการทางานของอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ทั้งหมดภายในคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างระบบปฏิบัติการ เช่น วินโดวส์( Windowns ) ลินุกซ์ ( Linux )
และ แมคโอเอส ( Mac OS )
• 2) โปรแกรมอรรถประโยชน์ ( utilities program ) เป็นโปรแกรมที่
ช่วยเสริมกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ หรือช่วยเสริมกำรทำงำนอื่นๆให้มี
ควำมสำมำรถใช่วำนได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
• 3)โปรแกรมขับอุปกรณ์ หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์ ( device driver ) เป็น
โปรแกรมที่ช่วยในกำรติดตั้งระบบเพื่อให้คอมพิวเตอรืสำมำรถติดต่อหรือ
ใช่งำนอุปกรณ์ต่ำงๆ
• 4) โปรแกรมแปลภำษำ เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็นรหัสที่อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์
สามารถทางานได้ ดังรูปที่ 1.9 ตัวอย่างตัวแปลภาษา เช่น ตัวแปลภาษาจาวา
ตัวแปลภาษาซี
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) หมายถึง ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทางานตามวัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง ซอฟต์แวร์ประยุกต์อาจเขียนขึ้นโดยใช้
โปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น เบสิก (Basic) ปาสคาล (Pascal) โคบอล (Cobol) ซี (C)
ซีพลัสพลัส (C++) และจาวา (Java) ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งตามกลุ่มการใช้งานได้ดังตาราง
• 1.2.3 ข้อมูล (data) ข้อมูลจะถูกรวบรวมและป้ อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดย
ผ่านอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้า เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ และสแกนเนอร์ (scanner)
ข้อมูลต้องมีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็นระบบเพื่อการสืบค้นที่รวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บอยู่ในหน่วยความจา (memory unit)
ก่อนที่จะถูกย้ายไปเก็บที่หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) เช่น ฮาร์ดดิสก์
และแผ่นซีดี (Compact Disc: CD)
• 1.2.4 บุคลำกร (people)บุคลากรเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่สุด
ของระบบสารสนเทศ ในที่นี้หมายถึงบุคลากรที่เป็นผู้ใช้ระบบ
สารสนเทศ ดังรูปที่ 1.11 บุคลากรที่เป็นผู้พัฒนาระบบสารสนเทศ
จะต้องมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาระบบสารสนเทศให้มี
ประสิทธิภาพให้สามารถทางานได้ตามความต้องการของผู้ใช้ใช้ง่าย
และสะดวก ส่วนผู้ใช้ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถใน
การใช้งานระบบสารสนเทศและการสื่อสารต่างๆ ได้อย่างถูกต้องจึงจะ
เกิดสารสนเทศที่เป็นประโยชน์
• 1.2.5 ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน (procedure) ระบบสารสนเทศ
ต้องมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นลาดับขั้นชัดเจน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ
เข้าใจได้ง่าย และดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในสถานการณ์
ปกติและสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการ
ทาสาเนาข้อมูล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อข้อมูลได้รับความเสียหาย หรือ
เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ เกิดการชารุดเสียหาย
ขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ควรได้รับการรวบรวมและจัดทาให้เป็นรูปเล่ม
1.3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
• 1.3.1 ด้ำนกำรศึกษำ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้
เพื่ออานวยความสะดวกในการบริหารด้านการบริหารด้านการศึกษา
เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้
เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอกาสทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพ
การเรียนการสอน
• 1.3.2 ด้ำนกำรแพทย์และสำธำรณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารถูกนามาใช้เริ่มตั้งแต่การทาทะเบียนคนไข้ การ
รักษาพยาบาลทั่วไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆได้อย่าง
รวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ในห้องทดลอง การศึกษาและการ
วิจัยทางการแพทย์ งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี สามารถค้นคว้าข้อมูล
ทางการแพทย์ รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกลตลอดเวลาผ่าน
เครือข่ายการสื่อสาร เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า อีเอ็มไอ
สแกนเนอร์ (EMI scanner) ถูกนามาถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อ
ตรวจหาความผิดปกติในสมอง
• 1.3.3 ด้ำนกำรเกษตรและอุตสำหกรรม เทตโนโลยีสำรสนเทศ
และกำรสื่อสำรถูกนำมำใช้ประโยชน์ในด้ำนเกษตรกรรม เช่น
กำรจัดทำระบบข้อมูลเพื่อกำรเกษตรและพยำกรณ์ผลผลิตด้ำน
กำรเกษตร นอกจำกนี้ยังช่วยพัฒนำควำมก้ำวหน้ำทำงด้ำน
อุตสำหกรรม กำรประดิษฐ์หุ่นยนต์เพื่อใช้ทำงำนบ้ำน และ
หุ่นยนต์เพื่องำนอุตสำหกรรมที่ต้องเสี่ยงภัยและเป็นอันตรำยต่อ
สุขภำพ เช่น โรงงำนสำรเคมี โรงผลิตและกำรจ่ำยไฟฟ้ ำ รวมถึง
งำนที่ต้องทำซ้ำๆ
• 1.3.4 ด้ำนกำรเงินธนำคำร เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารถูกนามาใช้ในด้านการเงินและการธนาคาร โดยใช้ช่วย
ด้านการบัญชี การฝากถอนเงิน โอนเงิน บริการสินเชื่อ และ
เปลี่ยนเงินตรา บริการข่าวสารธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์ด้าน
การเงินการธนาคารที่รู้จักและนิยมใช้กันทั่วไป เช่น บริการฝาก
ถอนเงิน การโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์
• 1.3.5 ด้ำนควำมมั่นคง มีกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร
สื่อสำรกันอย่ำงแพร่หลำย เช่น ใช้ในกำรควบคุมประสำนงำน
วงจรสื่อสำรทหำร กำรแปลรหัสลับในงำนจำรกรรมระหว่ำง
ประเทศ กำรส่งดำวเทียมและกำรคำนวณวิถีโคจรของจรวดไปสู่
อวกำศ สำนักงำนตำรวจแห่งชำติของประเทศไทยมีศูนย์ประมวล
ข่ำวสำร มีระบบจัดทำทะเบียนปืน ทะเบียนประวัติอำชญำกร ทำ
ให้เกิดควำมสะดวกและรวดเร็วในกำรสืบค้นข้อมูลเพื่อกำร
สืบสวนคดีต่ำงๆ
• 1.3.6 ด้ำนกำรคมนำคม มีกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร
สื่อสำรในส่วนที่เกี่ยวกับกำรเดินทำง เช่น กำรเดินทำงโดยรถไฟ
มีกำรเชื่อมโยงข้อมูลกำรจองที่นั่งไปยังทุกสถำนี ทำให้สะดวกต่อ
ผู้โดยสำร กำรเช็คอินของสำยกำรบิน ได้จัดทำเครื่องมือที่สะดวก
ต่อลูกค้ำ ในรูปแบบของกำรเช็คอินด้วยตนเอง
•
• 1.3.7 ด้ำนวิศวกรรมและสถำปัตยกรรม มีกำรใช้เทคโนโลยี
สำรสนเทศและกำรสื่อสำรในกำรออกแบบ หรือจำลอง
สภำววกำรณ์ต่ำงๆ เช่น กำรรับแรงสั่นสะเทือนของอำคำรเมื่อ
เกิดแผ่นดิวไหว โดยกำรคำนวณและแสดงภำพสถำนกำรณ์
ใกล้เคียงควำมจริง
• 1.3.8 ด้ำนกำรพำณิชย์ องค์กรในภำคธุรกิจใช้ประโยชน์จำก
เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรในกำรบริหำรจัดกำร เพื่อช่วย
เพิ่มควำมยืดหยุ่นให้กับองค์กรในกำรทำงำน ทำให้กำรประสำนงำน
หรือกำรทำกิจกรรมต่ำงๆ ของแต่ละหน่วยงำนในองค์กรหรือระหว่ำง
องค์กรเป็นไปได้อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกขึ้น นอกจำกนี้ยังสำมำรถใช้
ปรับปรุงกำรให้บริกำรกับลูกค้ำทั่วไป สิ่งเหล่ำนี้นับเป็นกำรสร้ำง
โอกำสควำมได้เปรียบในกำรแข่งขันให้กับองค์กร
1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร
• 1.4.1 ด้ำนอุปกรณ์เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร เมื่อพิจำรณำ
เครือข่ำยกำรสื่อสำรทั่วไปจำกอดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ำมนุษย์ใช้
อุปกรณ์กำรสื่อสำรแบบพกพำมำกขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจำกวิทยุเรียกตัว (pager)
ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อควำม มำเป็นถึงโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่สำรชนิดนี้ได้
ถูกพัฒนำจนสำมำรถใช้งำนด้ำนอื่นๆได้ นอกจำกกำรพูดคุยธรรมดำ
โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สำมำรถใช้ถ่ำยรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์
บันทึกข้อมูงสั้นๆ บำงรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงำนส่วนบุคคล
(Personal Digital Assistant : PDA) ซึ่งสำมำรถเชื่อมต่อกับ
อินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้ำจอแบบสัมผัส ทำให้สะดวกต่อกำรใช้งำนมำก
ขึ้น บำงรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus)
1.4.2 ด้ำนระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ ระบบเครื่องข่ายคอมพิวเตอร์ใน
อดีตมังเป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อตรงโดยจุดเดียว
(stand alone) ต่อมามีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายใน
องค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิด
เป็นระบบรับและให้บริการ หรือที่เรียกว่าระบบรับ-ให้บริการ (client-
server system) โดยมีเครื่องให้บริการ (server) และเครื่องรับ
บริการ (client) การให้บริการบนเว็บก็นาหลักการของระบบรับ-ให้บริการ
มาใช้ช่วยให้การทางานง่ายขึ้น สะดวก รวดเร็ว เพราะสามารถทางานจากที่
ใดก็ได้โดยผ่านระบบอินเตอร์เน็ต โดยมีเว็บเซอร์เวอร์ (web server)
เป็นเครื่องให้บริการ
• 1.4.3 ด้ำนเทคโนโลยี ระบบทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสินใจได้เอง
จะเข้ามาแทนที่มากขึ้น เช่น ระบบแนวนาเส้นทางจราจร ระบบจอดรถ
ระบบตรวจหาตาแหน่งของวัตถุ ระบบควบคุมความปลอดภัยภายใน
อาคาร ระบบที่ทางานอัตโนมัติเช่นนี้อาจกลายเป็นระบบหลักในการ
ดาเนินการของหน่วยงานต่่างๆ โดยเข้ามาแทนที่การทางานของมนุษย์
มีการเชื่อมต่ออย่างกว้างขวางไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่
เป็นอยู่ในปัจจุบัน
1.5 ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร
• ควำมก้ำวหน้ำของอุปกรณ์เทคโนโลยีสำรสรเทศและกำรสื่อสำร
เป็นไปอย่ำงรวดเร็ว เพื่อนสนองควำมต้องกำรด้ำนต่ำงๆ ของ
ผู้ใช้ปัจจุบันซึ่งมีจำนวนผู้ใช้งำนเทคโนโลยีสำรสรเทศและกำร
สื่อสำรทั่วโลกประมำณพันล้ำนคน และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี ผู้ใช้
สำมำรถใช้งำนอุปกรณ์ดังกล่ำวได้ทุกที่ ทุกเวลำ จึงทำให้เกิด
ควำมเปลี่ยนแปลงด้ำนต่ำงๆทั้งที่้เกิดประโยชน์และโทษ เช่น
• 1. ด้ำนสังคม สภาพเสมือนจริง การใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงการ
ทางานต่างๆ จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือที่
รู้จักกีนว่า ไซเบอรฺ์สเปช (cyber space) ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ เช่น
การพูด การชื้อสินค้า และบริการ การทางานผ่านเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
ทาให้เกิดสภาพที่เสมือนจริง (virtual) เช่น เกมส์เสมือนจริง
ห้องเรียนเสมือนจริง ซึ่งทาให้ลดเวลาในการเดินทางและสามารถใช้งาน
ได้ทุกที่ทุกเวลา
• 2. ด้ำนเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้เกิด
สังคมโลกาภิวัตน์(globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชม
รายการโทรทัศน์ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก
สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่าง
กัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจากัดภายในประเทศ ก็กระจาย
เป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้าและ
บริการอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศใน
โลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น
1.6 ตัวอย่างอาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร
• ตลาดแรงงานต้องการผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารอย่างแท้จริง ซึ่งงานด้านนี้จะรวมถึง งานด้านการ
ออกแบบโปรแกรมต่างๆ โปรแกรมใช้งานบนเว็บ งานด้านการเขียน
โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ งานด้านฐานข้อมูล งานด้านระบบ
เครือข่ายทั้งในและนอกองค์กร รวมถึงการรักษาความมั่นคงปลอดภัย
ในระบบคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย ดังนั้นองค์กรจึงมีความต้องการ
บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการ และพัฒนา
ซอฟต์แวร์ เพื่อใช้งานด้านต่างๆขององค์กร ตัวอย่างอาชีพด้านเทคโลโล
ยีสารสนเทศและการสื่อสาร เช่น
• 1. นักเขียนโปรมแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (programmer)
ทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น
โปรมแกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า โปรแกรมที่ใช้กับงานด้านบัญชี
หรือโปรแกรมที่ใช้กับระบบงานขนาดใหญ่ขององค์กร
• 2. นักวิเครำะห์ระบบ (system analyst)
• ทาหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ
นักวิเคราะห์ระบบจะทาการวิเคราะห์ระบบงานและออกแบบระบบ
สารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งอาจรวมถึงงานด้าน
การออกแบบฐานข้อมูลด้วย
•
• 3. ผู้ดูแลและบริหำรฐำนข้อมูล (database
administrator)
• ทาหน้าที่บริหารและจัดการฐานข้อมูล (database) รวมถึงการ
ออกแบบ บารุงรักษาข้อมูล และการดูแลระบบความปลอดภัยของ
ฐานข้อมูล เช่น การกาหนดบัญชีผู้ใช้ การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้
แหล่งที่มำ
CREDIT:http://best60915.blogspot.com/

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
natsuda_naey
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
Art Asn
 
ห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อังห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อัง
pattaranit
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
G'ad Smile
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
devilp Nnop
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
devilp Nnop
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Kanokorn Thodsaphon
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
G'ad Smile
 

Was ist angesagt? (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
คอมโวยยยยยย
คอมโวยยยยยยคอมโวยยยยยย
คอมโวยยยยยย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60924 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อังห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ..
เทคโนโลยีสารสนเทศ..เทคโนโลยีสารสนเทศ..
เทคโนโลยีสารสนเทศ..
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 

Ähnlich wie เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
frankenjay
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Chuan Fsk
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
somdetpittayakom school
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปิยะดนัย วิเคียน
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
airly2011
 

Ähnlich wie เทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ฟิต
ฟิตฟิต
ฟิต
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

เทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 2. 1.1ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทมาก เช่น มีการ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทางาน ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อสืบค้นข้อมูล หรือรับ ขส่งข้อมูลระหว่างกัน ตลอดใช่โทรศัพท์เครื่องที่(mobile phone) หรือโทรศัพท์มือถือในการติดต่อสื่อสารองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนได้ นาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเข้ามาใช้งานในทุกระดับชั้น ขององค์กร
  • 3. • คำว่ำ เทคโนโลยีสำรสนเทศ ( Information Technology: IT )เรียกย่อว่ำ"ไอที" ประกอบด้วยคำว่ำ"เทคโนโลยี" และคำว่ำ"สำรสนเทศ" นำมำร่วนกันเป็น"เทคโนโลยี สำรสนเทศ" และคำว่ำเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร ( Information and Communication Technology: ICT ) หรือเรียกย่อว่ำ"ไอซีที"ประกอบด้วยคำ ที่มีควำมหมำยดังนี้ • เทคโนโลยี( Technology ) หมำยถึง กำรนำควำมรู้ด้ำนวิทยำศำสตร์มำประยุกต์ใน กำรพัฒนำเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ วิธีกำรและกระบวนกำร • สำรสนเทศ( Information ) หมำยถึง ผลลัพธ์ที่เกดจำกกำรนำข้อมูลมำ ผ่ำนกระบวนกำรต่ำงๆ อย่ำงมีระบบ • เทคโนโลยีสำรสนเทศ หมำยถึง กำรนำควำมรู้ทำงด้ำนวิทยำศำสตร์มำ ประยุกต์ใช้เพื่อสร้ำงหรือจัดกำรสำรสนเทศอย่ำงเป็นระบบและรวดเร็ว โดยอำศัย เทคโนโลยีทำงด้ำนคอมพิวเตอร์ • เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร ตำมแผ่นแม่บท เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร สื่อสำรประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 หมำยถึง เทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับข่ำวสำรข้อมูล และกำรสื่อสำรนับตั้งแต่กำรสร้ำง กำรนำมำวิเครำะห์หรือกำรประมวลผล
  • 4. 1.2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ • ระบบสารสนเทศ เป็นระบบที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพการทางานโดยใช้ เทคโนโลยี • 1.2.1 ฮำร์ดแวร์ ( hardware ) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เช่น คีย์บอร์ด ( keyboand ) เมาส์ ( mouse )จอภาพ( monitor )เป็นต้น รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสาร สาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย เช่น โมเด็ม(modem) และ สายสัญญาณ
  • 5. • 1.2.2 ชอฟต์แวร์ ( soflware ) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่ง ( instruction ) ที่ใช่ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ชุดคาสั่งจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ • ซอฟต์แวร์ระบบ ( system software ) หมายถึงชุดคาสั่งที่ทา หน้าที่ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ต่างๆ และทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ระบบแบ่งออกเป็น
  • 6. • 1) ระบบปฏิบัติกำร ( Operating System: OS ) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทา หน้าที่ควบคุมการทางานของอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ทั้งหมดภายในคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างระบบปฏิบัติการ เช่น วินโดวส์( Windowns ) ลินุกซ์ ( Linux ) และ แมคโอเอส ( Mac OS ) • 2) โปรแกรมอรรถประโยชน์ ( utilities program ) เป็นโปรแกรมที่ ช่วยเสริมกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ หรือช่วยเสริมกำรทำงำนอื่นๆให้มี ควำมสำมำรถใช่วำนได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น • 3)โปรแกรมขับอุปกรณ์ หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์ ( device driver ) เป็น โปรแกรมที่ช่วยในกำรติดตั้งระบบเพื่อให้คอมพิวเตอรืสำมำรถติดต่อหรือ ใช่งำนอุปกรณ์ต่ำงๆ • 4) โปรแกรมแปลภำษำ เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วย ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็นรหัสที่อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถทางานได้ ดังรูปที่ 1.9 ตัวอย่างตัวแปลภาษา เช่น ตัวแปลภาษาจาวา ตัวแปลภาษาซี
  • 7. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) หมายถึง ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทางานตามวัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง ซอฟต์แวร์ประยุกต์อาจเขียนขึ้นโดยใช้ โปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น เบสิก (Basic) ปาสคาล (Pascal) โคบอล (Cobol) ซี (C) ซีพลัสพลัส (C++) และจาวา (Java) ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งตามกลุ่มการใช้งานได้ดังตาราง • 1.2.3 ข้อมูล (data) ข้อมูลจะถูกรวบรวมและป้ อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดย ผ่านอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้า เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ และสแกนเนอร์ (scanner) ข้อมูลต้องมีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็นระบบเพื่อการสืบค้นที่รวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บอยู่ในหน่วยความจา (memory unit) ก่อนที่จะถูกย้ายไปเก็บที่หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) เช่น ฮาร์ดดิสก์ และแผ่นซีดี (Compact Disc: CD)
  • 8. • 1.2.4 บุคลำกร (people)บุคลากรเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่สุด ของระบบสารสนเทศ ในที่นี้หมายถึงบุคลากรที่เป็นผู้ใช้ระบบ สารสนเทศ ดังรูปที่ 1.11 บุคลากรที่เป็นผู้พัฒนาระบบสารสนเทศ จะต้องมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาระบบสารสนเทศให้มี ประสิทธิภาพให้สามารถทางานได้ตามความต้องการของผู้ใช้ใช้ง่าย และสะดวก ส่วนผู้ใช้ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถใน การใช้งานระบบสารสนเทศและการสื่อสารต่างๆ ได้อย่างถูกต้องจึงจะ เกิดสารสนเทศที่เป็นประโยชน์
  • 9. • 1.2.5 ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน (procedure) ระบบสารสนเทศ ต้องมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นลาดับขั้นชัดเจน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ เข้าใจได้ง่าย และดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในสถานการณ์ ปกติและสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการ ทาสาเนาข้อมูล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อข้อมูลได้รับความเสียหาย หรือ เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ เกิดการชารุดเสียหาย ขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ควรได้รับการรวบรวมและจัดทาให้เป็นรูปเล่ม
  • 10. 1.3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร • 1.3.1 ด้ำนกำรศึกษำ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ เพื่ออานวยความสะดวกในการบริหารด้านการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้ เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอกาสทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพ การเรียนการสอน
  • 11. • 1.3.2 ด้ำนกำรแพทย์และสำธำรณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารถูกนามาใช้เริ่มตั้งแต่การทาทะเบียนคนไข้ การ รักษาพยาบาลทั่วไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆได้อย่าง รวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ในห้องทดลอง การศึกษาและการ วิจัยทางการแพทย์ งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี สามารถค้นคว้าข้อมูล ทางการแพทย์ รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกลตลอดเวลาผ่าน เครือข่ายการสื่อสาร เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า อีเอ็มไอ สแกนเนอร์ (EMI scanner) ถูกนามาถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อ ตรวจหาความผิดปกติในสมอง
  • 12. • 1.3.3 ด้ำนกำรเกษตรและอุตสำหกรรม เทตโนโลยีสำรสนเทศ และกำรสื่อสำรถูกนำมำใช้ประโยชน์ในด้ำนเกษตรกรรม เช่น กำรจัดทำระบบข้อมูลเพื่อกำรเกษตรและพยำกรณ์ผลผลิตด้ำน กำรเกษตร นอกจำกนี้ยังช่วยพัฒนำควำมก้ำวหน้ำทำงด้ำน อุตสำหกรรม กำรประดิษฐ์หุ่นยนต์เพื่อใช้ทำงำนบ้ำน และ หุ่นยนต์เพื่องำนอุตสำหกรรมที่ต้องเสี่ยงภัยและเป็นอันตรำยต่อ สุขภำพ เช่น โรงงำนสำรเคมี โรงผลิตและกำรจ่ำยไฟฟ้ ำ รวมถึง งำนที่ต้องทำซ้ำๆ
  • 13. • 1.3.4 ด้ำนกำรเงินธนำคำร เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารถูกนามาใช้ในด้านการเงินและการธนาคาร โดยใช้ช่วย ด้านการบัญชี การฝากถอนเงิน โอนเงิน บริการสินเชื่อ และ เปลี่ยนเงินตรา บริการข่าวสารธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์ด้าน การเงินการธนาคารที่รู้จักและนิยมใช้กันทั่วไป เช่น บริการฝาก ถอนเงิน การโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์
  • 14. • 1.3.5 ด้ำนควำมมั่นคง มีกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร สื่อสำรกันอย่ำงแพร่หลำย เช่น ใช้ในกำรควบคุมประสำนงำน วงจรสื่อสำรทหำร กำรแปลรหัสลับในงำนจำรกรรมระหว่ำง ประเทศ กำรส่งดำวเทียมและกำรคำนวณวิถีโคจรของจรวดไปสู่ อวกำศ สำนักงำนตำรวจแห่งชำติของประเทศไทยมีศูนย์ประมวล ข่ำวสำร มีระบบจัดทำทะเบียนปืน ทะเบียนประวัติอำชญำกร ทำ ให้เกิดควำมสะดวกและรวดเร็วในกำรสืบค้นข้อมูลเพื่อกำร สืบสวนคดีต่ำงๆ
  • 15. • 1.3.6 ด้ำนกำรคมนำคม มีกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร สื่อสำรในส่วนที่เกี่ยวกับกำรเดินทำง เช่น กำรเดินทำงโดยรถไฟ มีกำรเชื่อมโยงข้อมูลกำรจองที่นั่งไปยังทุกสถำนี ทำให้สะดวกต่อ ผู้โดยสำร กำรเช็คอินของสำยกำรบิน ได้จัดทำเครื่องมือที่สะดวก ต่อลูกค้ำ ในรูปแบบของกำรเช็คอินด้วยตนเอง •
  • 16. • 1.3.7 ด้ำนวิศวกรรมและสถำปัตยกรรม มีกำรใช้เทคโนโลยี สำรสนเทศและกำรสื่อสำรในกำรออกแบบ หรือจำลอง สภำววกำรณ์ต่ำงๆ เช่น กำรรับแรงสั่นสะเทือนของอำคำรเมื่อ เกิดแผ่นดิวไหว โดยกำรคำนวณและแสดงภำพสถำนกำรณ์ ใกล้เคียงควำมจริง
  • 17. • 1.3.8 ด้ำนกำรพำณิชย์ องค์กรในภำคธุรกิจใช้ประโยชน์จำก เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรในกำรบริหำรจัดกำร เพื่อช่วย เพิ่มควำมยืดหยุ่นให้กับองค์กรในกำรทำงำน ทำให้กำรประสำนงำน หรือกำรทำกิจกรรมต่ำงๆ ของแต่ละหน่วยงำนในองค์กรหรือระหว่ำง องค์กรเป็นไปได้อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกขึ้น นอกจำกนี้ยังสำมำรถใช้ ปรับปรุงกำรให้บริกำรกับลูกค้ำทั่วไป สิ่งเหล่ำนี้นับเป็นกำรสร้ำง โอกำสควำมได้เปรียบในกำรแข่งขันให้กับองค์กร
  • 18. 1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร • 1.4.1 ด้ำนอุปกรณ์เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร เมื่อพิจำรณำ เครือข่ำยกำรสื่อสำรทั่วไปจำกอดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ำมนุษย์ใช้ อุปกรณ์กำรสื่อสำรแบบพกพำมำกขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจำกวิทยุเรียกตัว (pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อควำม มำเป็นถึงโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่สำรชนิดนี้ได้ ถูกพัฒนำจนสำมำรถใช้งำนด้ำนอื่นๆได้ นอกจำกกำรพูดคุยธรรมดำ โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สำมำรถใช้ถ่ำยรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกข้อมูงสั้นๆ บำงรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงำนส่วนบุคคล (Personal Digital Assistant : PDA) ซึ่งสำมำรถเชื่อมต่อกับ อินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้ำจอแบบสัมผัส ทำให้สะดวกต่อกำรใช้งำนมำก ขึ้น บำงรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus)
  • 19. 1.4.2 ด้ำนระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ ระบบเครื่องข่ายคอมพิวเตอร์ใน อดีตมังเป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อตรงโดยจุดเดียว (stand alone) ต่อมามีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายใน องค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิด เป็นระบบรับและให้บริการ หรือที่เรียกว่าระบบรับ-ให้บริการ (client- server system) โดยมีเครื่องให้บริการ (server) และเครื่องรับ บริการ (client) การให้บริการบนเว็บก็นาหลักการของระบบรับ-ให้บริการ มาใช้ช่วยให้การทางานง่ายขึ้น สะดวก รวดเร็ว เพราะสามารถทางานจากที่ ใดก็ได้โดยผ่านระบบอินเตอร์เน็ต โดยมีเว็บเซอร์เวอร์ (web server) เป็นเครื่องให้บริการ
  • 20. • 1.4.3 ด้ำนเทคโนโลยี ระบบทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสินใจได้เอง จะเข้ามาแทนที่มากขึ้น เช่น ระบบแนวนาเส้นทางจราจร ระบบจอดรถ ระบบตรวจหาตาแหน่งของวัตถุ ระบบควบคุมความปลอดภัยภายใน อาคาร ระบบที่ทางานอัตโนมัติเช่นนี้อาจกลายเป็นระบบหลักในการ ดาเนินการของหน่วยงานต่่างๆ โดยเข้ามาแทนที่การทางานของมนุษย์ มีการเชื่อมต่ออย่างกว้างขวางไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน
  • 21. 1.5 ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร • ควำมก้ำวหน้ำของอุปกรณ์เทคโนโลยีสำรสรเทศและกำรสื่อสำร เป็นไปอย่ำงรวดเร็ว เพื่อนสนองควำมต้องกำรด้ำนต่ำงๆ ของ ผู้ใช้ปัจจุบันซึ่งมีจำนวนผู้ใช้งำนเทคโนโลยีสำรสรเทศและกำร สื่อสำรทั่วโลกประมำณพันล้ำนคน และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี ผู้ใช้ สำมำรถใช้งำนอุปกรณ์ดังกล่ำวได้ทุกที่ ทุกเวลำ จึงทำให้เกิด ควำมเปลี่ยนแปลงด้ำนต่ำงๆทั้งที่้เกิดประโยชน์และโทษ เช่น
  • 22. • 1. ด้ำนสังคม สภาพเสมือนจริง การใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงการ ทางานต่างๆ จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือที่ รู้จักกีนว่า ไซเบอรฺ์สเปช (cyber space) ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ เช่น การพูด การชื้อสินค้า และบริการ การทางานผ่านเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เกิดสภาพที่เสมือนจริง (virtual) เช่น เกมส์เสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง ซึ่งทาให้ลดเวลาในการเดินทางและสามารถใช้งาน ได้ทุกที่ทุกเวลา
  • 23. • 2. ด้ำนเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้เกิด สังคมโลกาภิวัตน์(globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชม รายการโทรทัศน์ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่าง กัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจากัดภายในประเทศ ก็กระจาย เป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้าและ บริการอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศใน โลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น
  • 24. 1.6 ตัวอย่างอาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร • ตลาดแรงงานต้องการผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารอย่างแท้จริง ซึ่งงานด้านนี้จะรวมถึง งานด้านการ ออกแบบโปรแกรมต่างๆ โปรแกรมใช้งานบนเว็บ งานด้านการเขียน โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ งานด้านฐานข้อมูล งานด้านระบบ เครือข่ายทั้งในและนอกองค์กร รวมถึงการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ในระบบคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย ดังนั้นองค์กรจึงมีความต้องการ บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการ และพัฒนา ซอฟต์แวร์ เพื่อใช้งานด้านต่างๆขององค์กร ตัวอย่างอาชีพด้านเทคโลโล ยีสารสนเทศและการสื่อสาร เช่น
  • 25. • 1. นักเขียนโปรมแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (programmer) ทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น โปรมแกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า โปรแกรมที่ใช้กับงานด้านบัญชี หรือโปรแกรมที่ใช้กับระบบงานขนาดใหญ่ขององค์กร
  • 26. • 2. นักวิเครำะห์ระบบ (system analyst) • ทาหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบจะทาการวิเคราะห์ระบบงานและออกแบบระบบ สารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งอาจรวมถึงงานด้าน การออกแบบฐานข้อมูลด้วย •
  • 27. • 3. ผู้ดูแลและบริหำรฐำนข้อมูล (database administrator) • ทาหน้าที่บริหารและจัดการฐานข้อมูล (database) รวมถึงการ ออกแบบ บารุงรักษาข้อมูล และการดูแลระบบความปลอดภัยของ ฐานข้อมูล เช่น การกาหนดบัญชีผู้ใช้ การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้