SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 184
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รายงานการสืบคนขอมูลความกาวหนาและสถานะ
เทคโนโลยีชีวภาพดานสเต็มเซลลในประเทศสหรัฐอเมริกา




                                   โดย
                       นางสาว ทิพยอาภา ภูวนัตตรัย
                            ที่ปรึกษาโครงการ

            เสนอตอสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
   (สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.)
                              28 พฤศจิกายน 2552
รายงานการสืบคนขอมูลความกาวหนาและสถานะเทคโนโลยีชีวภาพดานสเต็มเซลลในประเทศ
             สหรัฐอเมริกาภายใตโครงการการดําเนินภารกิจ (ทีมประเทศไทย)
                               ประจําปงบประมาณ 2552
                         (ธันวาคม 2551 – พฤศจิกายน 2552)
       สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.




                                                                            (ภาพจากหนาปก, ที่มา: Serrano, 2009)
รายงานฉบับนี้เปนลิขสิทธิ์ของสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.) หากนําไปใชประโยชนโปรดอางอิงชื่อ สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและ
          เทคโนโลยี (สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.) ดวย


                                                     -1-
คํานํา

         รายงานการสืบคนขอมูลความกาวหนาและสถานะเทคโนโลยีชีวภาพดานสเต็มเซลลในประเทศ
สหรัฐอเมริกา มีวัตถุประสงคการจัดทําเพื่อสืบเสาะแสวงหาและเขาถึงองคความรูและเทคโนโลยีสําคัญใน
ประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และการทํานวัตกรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ
แขงขันของประเทศและเปนการสรางฐานความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหเขมแข็งมากขึ้น ซึ่ง
วัตถุประสงคดังกลาวเปนภารกิจสวนหนึ่งของสํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํา
กรุ ง วอชิ ง ตั น ดี . ซี . อั น เป น หน ว ยงานภายใต ก ารสั ง กั ด ของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละ
เทคโนโลยี
         คณะผูจัดทําหวังวารายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงานวิจัยและพัฒนา หนวยงานนโยบาย
และสถาบันการศึกษา ในการพัฒนางานดานสเต็มเซลลของประเทศไทยตอไป ทั้งนี้รายงานฉบับนี้สามารถ
สืบคนไดทางเว็บไซต http://www.ostc.thaiembdc.org อีกทางหนึ่งดวย

                                                              สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
                                                                           ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
                                                                             28 พฤศจิกายน 2552




                                                        -2-
สารบัญ

เนื้อหา                                                                               หนา
บทสรุปผูบริหาร                                                                         8

ความรูเกี่ยวกับเซลลตนตอ                                                              9
        บทนํา                                                                           9
        ประเภทของเซลลตนตอและความสําคัญ                                                9
        คุณลักษณะพิเศษเฉพาะของเซลลตนตอ                                               10
        เซลลตนตอจากตัวออน                                                           11
        เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลว                                       17
        ความเหมือนและความแตกตางระหวางเซลลตนตอจากตัวออนและเซลลตนตอ
        จากเซลลทเจริญวัยเต็มที่แลว
                   ี่                                                                  22
        ประโยชนของเซลลตนตอจากมนุษยและอุปสรรคของการนํามาประยุกตใช
        ทางการแพทย                                                                    23
        เซลลตนตอชนิดพลูริโพเทนทซึ่งมีความจําเพาะกับโรคหรือมีความจําเพาะกับผูปวย
                                                                                      27
        การสรางเซลลตนตอจากตัวออนโดยการใชเทคนิคการยายฝากนิวเคลียส                 27
        อินดิวสพลูริโพเทนทเซลลหรือไอพีเอสเซลล                                      28

การนําเซลลตนตอมาประยุกตใชในทางการแพทย                                             30
       การประยุกตใชเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวในทางการแพทย             30
       การประยุกตใชเซลลตนตอจากตัวออนมนุษยในทางการแพทย                           30
       เซลลตนตอที่เหมาะสมสําหรับนํามาใชในการบําบัดรักษาโรค                          31
       ตัวอยางของเซลลตนตอในเนื้อเยื่อและการนํามาใชเพื่อรักษาโรค                    32
       การบําบัดรักษาโรคโดยใชเซลลตนตอ                                               41
       การประยุกตใชอินดิวสพลูริโพเทนทสเต็มเซลลในทางการแพทย                       43

ประวัติและความเปนมาของเซลลตนตอ                                                      47
       สรุปลําดับเหตุการณประวัติของงานวิจัยเซลลตนตอจากตัวออนมนุษย                 47

กฎหมายและนโยบายของสหรัฐอเมริกาที่เกี่ยวของกับงานวิจัยเซลลตนตอ                       53


                                               -3-
การคนพบครังยิ่งใหญของวงการวิทยาศาสตร
                        ้                                                           53
       การหามทํางานวิจัยที่เกี่ยวกับตัวออน                                        53
       แนวทางในการขอรับเงินทุนสนับสนุนงานวิจัยเซลลตนตอของสถาบันสุขภาพแหงชาติ
       ของสหรัฐอเมริกา                                                              54
       การตัดสินใจของประธานาธิบดีบุช                                                55
       ประเด็นโตแยงในเรื่องจํานวนของกลุมเซลลตนตอที่สามารถนํามาใชได           56
       ความกดดันทีเกิดขึ้นในปของการเลือกตั้งประธานาธิบดี
                          ่                                                         57
       การใชสิทธิ์ยบยั้งของประธานาธิบดีบุชครั้งแรก
                    ั                                                               59
       การใชสิทธิ์ยบยั้งของประธานาธิบดีบุชครั้งที่สอง
                      ั                                                             59
       การตัดสินใจของประธานาธิบดีโอบามา                                             60

ประเด็นทางดานจริยธรรมที่เกี่ยวของกับงานวิจัยเซลลตนตอ                            61

กฎระเบียบของสหรัฐอเมริกาในการใหเงินทุนสนับสนุนงานวิจัยเซลลตนตอ                   64
      การใหเงินทุนสนับสนุนงานวิจัยตัวออนและมติดิกกี้                              64
      มติดิกกี้กับงานวิจัยเซลลตนตอ
                                                                                   64
      นโยบายของประธานาธิบดีบุชที่เกียวกับงานวิจัยเซลลตนตอจากตัวออน
                                      ่                                             65
      การสนับสนุนงานวิจัยเซลลตนตอของแตละมลรัฐ                                    66
      นโยบายของประธานาธิบดีโอบามาที่เกี่ยวกับงานวิจัยเซลลตนตอจากตัวออนและ
      เอกสารแนวทางสําหรับงานวิจัยเซลลตนตอจากมนุษยของสถาบันสุขภาพแหงชาติ
      ของสหรัฐอเมริกาฉบับสมบูรณ                                                    68
      ทะเบียนรายชื่อเซลลตนตอจากตัวออนมนุษยที่ผานเกณฑในการนํามาใชในงานวิจัย
      และสามารถขอเงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาลกลางได                                    69
      งบประมาณของรัฐบาลกลางที่ใชในการสนับสนุนงานวิจัยเซลลตนตอ                    71

หนวยงานที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนาดานเซลลตนตอในสหรัฐอเมริกา                72
      สถาบันสุขภาพแหงชาติของสหรัฐอเมริกา                                           72
      องคการอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา                                              72
      องคกรบริหารทรัพยากรดานสุขภาพและการบริการ                                    74
      สถาบันแหงชาติของสหรัฐอเมริกา                                                 75
      ธนาคารเซลลตนตอแหงชาติ                                                      75
      หนวยงานที่สนับสนุนงานวิจัยเซลลตนตออื่นๆ                                    76

                                             -4-
รายละเอียดที่ติดตอหนวยงานที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนาดานเซลลตนตอใน
                                                                     
สหรัฐอเมริกา                                                                       81

รายชื่อบริษัทในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนา
เซลลตนตอเพื่อนําไปใชในเชิงพาณิชย                                                88
       บริษัทดานเซลลตนตอในประเทศสหรัฐอเมริกา                                     88
       บริษัทดานเซลลตนตอในประเทศแคนาดา                                          114

วิธีการสืบคนขอมูลสิทธิบัตรทีเกี่ยวกับงานวิจัยเซลลตนตอของสหรัฐอเมริกา
                              ่                                                    119
        สํานักงานสิทธิบตรและเครืองหมายการคาแหงสหรัฐอเมริกา
                       ั        ่                                                  119
        สเต็มเซลลแพทเทนทดอทคอม                                                   129

วิเคราะหแนวโนมในอนาคตของเซลลตนตอในประเทศสหรัฐอเมริกา                           134
       แนวโนมในอนาคตของเซลลตนตอจากเซลลทเจริญวัยเต็มที่แลว
                                                  ี่                               134
       แนวโนมในอนาคตของเซลลตนตอจากตัวออนและอินดิวสพลูริโพเทนทสเต็มเซลล      135
       แนวโนมของการนําเซลลตนตอมาประยุกตใชทางการแพทยในอนาคต
                                                                                  136
       นโยบายของประธานาธิบดีโอบามาที่สงผลตอแนวโนมของงานวิจัยเซลลตนตอในอนาคต   142
       กฎหมายเบย-โดล (Bayh-Dole Act) กับการพัฒนางานวิจัยดานเซลลตนตอ            143
       ประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธิบัตรดานเซลลตนตอ                                  144
       แนวโนมการเจริญเติบโตของธุรกิจที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีเซลลตนตอ
                                                                                  145
       แนวโนมในอนาคตของความรวมมือในเรื่องงานวิจัยเซลลตนตอระหวางประเทศ         147
       มุมมองที่เกี่ยวกับงานวิจัยเซลลตนตอในระดับโลก                              148
       องคกรสาธารณประโยชนกบงานวิจัยที่เกียวกับดานพันธุกรรมและเซลลตนตอ
                                     ั          ่                                  152

เชิงอรรถ                                                                           154

เอกสารแนบ                                                                          166

อภิธานศัพท                                                                        172

บรรณานุกรม                                                                         177


                                            -5-
สารบัญตาราง

ตารางที่                                                                                หนา
1     โรคที่สามารถนําเซลลในผูปวยไปสรางกลุมไอพีเอสเซลลที่มีความจําเพาะกับผูปวยได
                                                                                      44
2     หองทดลองที่มีกลุมเซลลตนตอซึ่งผานเกณฑในการนํามาใชเพื่อขอทุนสนับสนุนจาก
                                 
      รัฐบาลกลาง                                                                         56
3     นโยบายที่เกียวกับการใหทุนสนับสนุนงานวิจัยเซลลตนตอของแตละมลรัฐในสหรัฐอเมริกา
                   ่                                                                    66
4     งบประมาณของสถาบันสุขภาพแหงชาติของสหรัฐอเมริกาที่นํามาใชในการสนับสนุนงาน
      วิจัยเซลลตนตอ                                                                     71
5     รายรับของธุรกิจที่เกี่ยวของกับเซลลตนตอในกลุมวิทยาศาสตรชีวภาพในสหรัฐอเมริกา    147
6     ตัวอยางขอแตกตางในกฎหมายดานงานวิจัยเซลลตนตอจากตัวออนมนุษยของบางประเทศ
                                                                                        149




                                            -6-
สารบัญรูป

รูปที่                                                                                    หนา
1     โครงสรางของบลาสโตซิสต                                                              12
2     การสกัดแยกเซลลตนตอจากมวลเซลลชนในเพื่อนํามาเพาะเลี้ยงในหองทดลอง
                                             ั้                                            13
3     การเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากตัวออนไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่นๆ                     15
4     ไดเรคท ดิฟเฟอเรนทิเอชัน (Direct Differentiation)                                    16
5     การเปลี่ยนแปลงเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวไปเปนเซลลจําเพาะ
      โดยกระบวนการปกติ (Normal Differentiation)                                            19
6     การเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากเซลลทเจริญวัยเต็มที่แลวจากเนื้อเยื่อชนิดหนึ่ง
                                                 ี่
      ไปเปนเซลลชนิดจําเพาะของเนื้อเยื่อชนิดอื่น (Plasticity and Transdifferentiation)    21
7     การปลูกถายเซลลตนตอใหกับผูปวยโดยใชเซลลตนตอจากตัวออน                         24
8     การปลูกถายเซลลตนตอใหกับผูปวยโดยใชเซลลตนตอจากเซลลทเจริญวัยเต็มที่แลว
                                                                      ี่                   25
9     การซอมแซมกลามเนื้อหัวใจโดยการใชเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวของ
      หนูทดลอง                                                                             26
10    เปรียบเทียบการสรางบลาสโตซิสตโดยการสืบพันธุตามธรรมชาติกบการยายฝากนิวเคลียส
                                                                        ั                 28
11    ศักยภาพของเซลลตนตอในการบําบัดรักษาโรคตางๆ                                         31
12    กลไกการพัฒนาของเซลลตนตอเม็ดโลหิตไปเปนเซลลเม็ดเลือดตางๆ
                                                                                          34
13    เซลลตนตอในโครงสรางของรูขุมขน                                                      35
14    โครงสรางของดวงตา                                                                    37
15    โครงสรางของหูชั้นใน                                                                 39
16    โครงสรางของปอด                                                                      40
17-22 รายละเอียดขอมูลการสืบคนสิทธิบัตรจากสํานักงานสิทธิบัตรและเครื่องหมายการคาแหง
      สหรัฐอเมริกา (USPTO)                                                                120
23-26 รายละเอียดขอมูลการสืบคนสิทธิบัตรจากเว็บไซตสเต็มเซลลแพทเทนทดอทคอม
      (StemCellPatents.com)                                                               130
27    การปลูกถายเซลลตนตอในมนุษย                                                       135
28    อัตราการถือครองกรรมสิทธิ์ในสิทธิบัตรดานเซลลตนตอของหนวยงานตางๆและบริษัท
      ในสหรัฐอเมริกา                                                                      145
29    รายรับของธุรกิจที่เกี่ยวของกับเซลลตนตอในกลุมวิทยาศาสตรชีวภาพในสหรัฐอเมริกา     147



                                              -7-
บทสรุปผูบริหาร

         สเต็มเซลล (Stem Cells) หรือเซลลตนตอมีคุณสมบัติสองประการสําคัญที่ไดสรางความหวังใหกับ
ทั้งวงการวิทยาศาสตรและการแพทยซึ่งไดแกความสามารถในการสรางทดแทนตัวเองขึ้นมาใหมและการ
เปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดอื่นๆไดมากมายหลายชนิด คุณสมบัติเหลานี้ไดจุดประกายใหมีการศึกษา
คนควาตอเนื่องถึงความเปนไปไดและประสิทธิภาพในการนําเซลลตนตอมาใชเพื่อรักษาโรคตางๆ ปจจุบัน
ในประเทศสหรัฐอเมริกางานวิจัยเซลลตนตอไดมีการพัฒนากาวหนาเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วกวาแตในอดีต
เนื่องจากนโยบายของประธานาธิบดีโอบามาที่ใหการสนับสนุนรวมทั้งใหเงินทุนแกงานวิจัยเซลลตนตอ
         ปจจุบันเซลลตนตอไดมีการนํามาประยุกตใชทางการแพทยเพื่อรักษาโรคตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
โรคที่ในอดีตไมสามารถรักษาไดเปนตนวา โรคอัลไซเมอร โรคพารกินสัน และโรคเบาหวานในเด็ก โดยเซลล
ตนตอของมนุษยที่มีการนํามาประยุกตใชไดแก เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลว เซลลตนตอจาก
ตัวออนมนุษย และอินดิวสพลูริโพเทนทสเต็มเซลล ซึ่งเปนการนําเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลว
มาเปลี่ยนคุณสมบัติใหเปนเหมือนเซลลตนตอจากตัวออน ตอไปในอนาคตการนําเซลลตนตอมาใชเพื่อการ
รั ก ษาโรคจะมุ ง เน น ไปที่ ก ารผสมผสานวิ ธี ก ารรั ก ษาโดยใช เ ซลล ต น ตอหลายชนิ ด เข า ด ว ยกั น เพื่ อ เพิ่ ม
ประสิทธิภาพของการรักษา รวมทั้งมีการนําเซลลตนตอมาใชในการทดสอบยาชนิดตางๆกอนนํามาใชรักษา
โรคใหกับผูปวยจริงเพื่อศึกษาผลกระทบและลดความเสี่ยงของการเกิดผลขางเคียงจากการใชยา
         ในอนาคตงานวิจัยเซลลตนตอมีแนวโนมที่จะเกิดการพัฒนากาวหนายิ่งขึ้น และสงผลใหการนําเซลล
ตนตอมาประยุกตใชทางการแพทยมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ธุรกิจที่เกี่ยวของกับเซลลตนตอใน
สหรัฐอเมริกาจะมีการเติบโตขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่งธุรกิจที่เกี่ยวของกับการนําเซลลมาใชรักษาโรคและการ
จัดเก็บเซลลเพื่อการรักษา อยางไรก็ตามทิศทางและนโยบายที่เกี่ยวกับงานวิจัยเซลลตนตอยังคงมีการ
เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา นอกจากนี้ยังมีปจจัยแวดลอมตางๆที่สงผลตองานวิจัยเซลลตนตอเปนตนวา
กฎหมาย นโยบายในเรื่องของการใหเงินทุนสนับสนุนงานวิจัย นโยบายในเรื่องที่เกี่ยวกับสิทธิบัตร ทัศนคติ
และการตอบสนองของประชาชน ซึ่งปจจัยตางๆเหลานี้เปนสิ่งที่ตองมีการติดตามตอไปเพื่อใหสามารถ
วิเคราะหทิศทางในอนาคตของงานวิจัยเซลลตนตอทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกาและในระดับโลกไดชัดเจน
มากยิ่งขึ้น




                                                         -8-
ความรูเกี่ยวกับเซลลตนตอ
1. บทนํา
        งานวิจัยดานสเต็มเซลล (Stem Cells) หรือเซลลตนตอเปนความรูในระดับสูงซึ่งเกี่ยวของกับ
กระบวนการพัฒนาของสิ่งมีชีวิตที่เริ่มตนจากเซลลตนกําเนิดเซลลเดียว และกระบวนการแทนที่เซลลที่
เสื่อมสภาพไปโดยเซลลที่แข็งแรงในสิ่งมีชีวิตที่เจริญวัยเต็มที่แลว งานวิจัยเซลลตนตอนี้ยังชวยจุดประกาย
ใหนักวิทยาศาสตรไดศึกษาคนควาตอเนื่องถึงความเปนไปไดในการใชเซลลมาชวยรักษาโรคตางๆ โดย
เรียกวิทยาการในการนําเซลลมารักษาโรคนี้วา การแพทยทางเลือกใหม หรือการแพทยการสรางอวัยวะ
ใหม (Regenerative or Reparative Medicine) ปจจุบันเซลลตนตอเปนสาขาของชีววิทยาที่ไดรับความ
สนใจเปนอยางยิ่ง งานวิจัยเซลลตนตอไดชวยตอบคําถามที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตรไดมากมาย และกอใหเกิด
การคนพบใหมมากมายเชนเดียวกัน (NIH: Stem Cell Basics, 2008)

2. ประเภทของเซลลตนตอและความสําคัญ
         เซลลตนตอมีคุณลักษณะที่สําคัญอยูสองประการซึ่งทําใหเซลลตนตอแตกตางและสามารถจําแนก
ออกไดจากเซลลทั่วไป ประการแรก เซลลตนตอนี้เปนเซลลที่ไมจําเพาะซึ่งสามารถสรางทดแทนตัวเองขึ้นมา
ใหมไดในระยะเวลาอันยาวนานโดยกระบวนการแบงเซลลตัวเองขึ้นมาใหม ประการที่สองคือ เซลลตนตอ
สามารถเปลี่ ย นแปลงไปเป น เซลล ช นิ ด จํ า เพาะที่ มี ห น า ที่ พิ เ ศษเฉพาะอย า งภายใต ส ภาวะที่ เ หมาะสม
ตัวอยางเชนเซลลที่ทําหนาที่ควบคุมจังหวะการเตนของหัวใจ (Beating Cells) ซึ่งที่อยูที่กลามเนื้อหัวใจ หรือ
เซลลที่ทําหนาที่ผลิตอินซูลิน (Insulin-Producing Cells) ซึ่งอยูที่ตับออน
         นักวิทยาศาสตร ได ให ความสนใจในเซลลตนตอจากสัต วและมนุ ษยอยูสองชนิดซึ่งไดแก เซลล
ตนตอจากตัวออน (Embryonic Stem Cells) และเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลว (Adult
Stem Cells) เซลลตนตอทั้งสองชนิดนี้มีหนาที่และคุณลักษณะที่แตกตางกัน
         เปนเวลามากกวา 20 ปแลวที่นักวิทยาศาสตรไดคนพบวิธีการในการสกัดแยกและเพาะเลี้ยงเซลล
ตนตอจากตัวออนของหนู หลังจากนั้นเปนตนมานักวิทยาศาสตรไดมีการศึกษาคนควาเพิ่มเติมและไดมีการ
คนพบใหมๆเกิดขึ้นมากมาย จนกระทั่งในป พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) นักวิทยาศาสตรไดประสบความสําเร็จ
ในการสกัดแยกและเพาะเลี้ยงเซลลตนตอจากตัวออนมนุษยในหองทดลองเปนครั้งแรก และไดเรียกเซลลที่
สกัดแยกไดในครั้งนั้นวา เซลลตนตอจากตัวออนมนุษย (Human Embryonic Stem Cells) ตัวออน
มนุษยที่นักวิทยาศาสตรไดนํามาใชในการทดลองครั้งนั้นเปนตัวออนที่เหลือหรือไมตองการจากตัวออนที่ถูก
สรางขึ้นมาจากการปฏิสนธิเทียมในหลอดแกว (In Vitro Fertilization) เพื่อจุดประสงคในการแกปญหา
ภาวะการมีบุตรยาก ตัวออนที่เหลือนี้เปนตัวออนที่ไดรับมาโดยการบริจาค และผูบริจาคไดแสดงความ
ยินยอมในการใหตัวออนมาทําการทดลองดังกลาว
         เซลลตนตอมีความสําคัญกั บสิ่งมีชีวิ ตดว ยเหตุผลหลายประการ ในตั ว ออนที่มีอายุ 3-5 วัน ซึ่ง
เรียกวาระยะบลาสโตซิสต (Blastocyst) นี้ เซลลตนตอในเนื้อเยื่อจะมีการเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิด

                                                     -9-
จําเพาะหลายชนิดซึ่งจะพัฒนาตอไปเปนหัวใจ ปอด ผิวหนัง และเนื้อเยื่อชนิดอื่นๆ ในเนื้อเยื่อที่ของสัตว
เจริญเติบโตเต็มที่แลวบางชนิดเปนตนวา ไขกระดูก ผิวหนัง สมอง เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่
แลวจะสามารถสรางตัวเองขึ้นมาใหมเพื่อทดแทนเซลลท่ถูกทําลายไปจากภาวะการบาดเจ็บหรือเจ็บปวยจาก
                                                      ี
โรคตางๆได
        นักวิทยาศาสตรไดมีสมมุติฐานและมีความเห็นวาในอนาคตเซลลตนตอจะสามารถนํามาใชในการ
รักษาโรคตางๆไดเชน โรคพารกินสัน (Parkinson’s Disease) โรคเบาหวาน และโรคหัวใจ ดังนั้นจึงมี
งานวิจัยที่เกี่ยวของกับเซลลตนตอเกิดขึ้นมากมาย และนอกจากที่นักวิทยาศาสตรไดทําการทดลองศึกษาถึง
ความเปนไปไดในการนําเซลลมารักษาโรคแลว นักวิทยาศาสตรยังไดทําการศึกษาวิจัยถึงความเปนไปไดใน
การนําเซลลตนตอมาใชในการทดสอบและคัดเลือกยาชนิดใหม ซึ่งในการที่จะพัฒนาเซลลตนตอเพื่อการ
รักษาโรคหรือการทดสอบยาชนิดใหมนั้น คุณลักษณะพื้นฐานสําคัญของเซลลตนตอที่นักวิทยาศาสตรตอง
ทําความเขาใจและทําการศึกษาอยางละเอียดลึกซึ้งนั้นไดแก
        1) กระบวนการที่เซลลตนตอสามารถคงสภาพเปนเซลลที่ไมจําเพาะและการสรางตัวเองทดแทน
        ขึ้นมาใหมไดในระยะเวลานาน
        2) ปจจัยที่กระตุนและทําใหเซลลตนตอเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลจําเพาะชนิดตางๆ

3. คุณลักษณะพิเศษเฉพาะของเซลลตนตอ
          เซลลตนตอนั้นแตกตางจากเซลลชนิดอื่นๆในรางกาย โดยที่เซลลตนตอทุกชนิดมีความสามารถใน
การแบงตัวและสรางทดแทนตัวเองขึ้นมาใหมในระยะเวลานาน นอกจากนี้เซลลตนตอยังมีคุณสมบัติเปน
เซลลที่ไมจําเพาะซึ่งสามารถเปลี่ยนไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่นๆในรางกายได คุณลักษณะพิเศษเฉพาะ
ของเซลลตนตอสรุปไดดังนี้
          3.1 เซลลตนตอเปนเซลลที่ไมจําเพาะ
          คุ ณลั ก ษณะพื้ น ฐานที่สํ า คัญ ของเซลลตน ตอคื อ เซลลต น ตอไม ไดมี โ ครงสรางหรื อ ลั ก ษณะเป น
เนื้อเยื่อจําเพาะที่จะเอื้ออํานวยใหเซลลตนตอทําหนาที่เฉพาะเจาะจง เซลลตนตอไมสามารถทํางานรวมกับ
เซลลขางเคียงเพื่อสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงรางกาย (เชน เซลลกลามเนื้อหัวใจ) เซลลตนตอไมสามารถลําเลียง
ออกซิเจนไปเลี้ยงรางกายโดยผานกระแสโลหิตได (เชน เซลลเม็ดเลือดแดง) เซลลตนตอไมสามารถสง
กระแสสัญญาณเคมีไฟฟาไปกระตุนเซลลอื่นใหควบคุมการเคลื่อนไหวของรางกาย (เชน เซลลประสาท)
อยางไรก็ตามเซลลตนตอที่ไมจําเพาะนี้สามารถเปลี่ยนไปเปนเซลลจําเพาะเพื่อทําหนาที่เฉพาะได ดังเชน
เซลลกลามเนื้อหัวใจ เซลลเม็ดเลือดแดง และเซลลประสาท

        3.2 เซลลตนตอสามารถแบงตัวเพื่อสรางทดแทนตัวเองขึ้นมาใหมไดเปนระยะเวลานาน
        เซลลตนตอไมเหมือนเซลลจําเพาะตรงที่มีความสามารถในการแบงตัวเพื่อสรางตัวเองทดแทนขึ้นมา
ใหมไดหลายครั้ง ซึ่งเรียกความสามารถในการสรางตัวเองขึ้นมาใหมของเซลลตนตอนี้วา การแพรขยาย

                                                      - 10 -
หรือการเพิ่มจํานวนเซลล (Proliferation) เซลลตนตอสามารถเพิ่มจํานวนจากเซลลเริ่มตนเพียงไมกี่เซลล
ไปเปนหลายลานเซลลในระยะเวลาเพียงไมกี่เดือน ถาเซลลที่ถูกสรางจากการเพิ่มจํานวนของเซลลตนตอนี้
ยังมีลักษณะเปนเซลลที่ไมจําเพาะ เซลลที่ถูกสรางขึ้นมาใหมนี้ก็สามารถสรางทดแทนตัวเองขึ้นมาใหมได
เชนกัน

         3.3 เซลลตนตอสามารถเปลี่ยนไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่นได
         กระบวนการที่เซลลตนตอเปลี่ยนไปเปนเซลลชนิดจําเพาะนี้เรียกวา การเปลี่ยนแปลงและพัฒนา
เซลลเพื่อไปทําหนาที่ตางๆ หรือ ดิฟเฟอเรนทิเอชัน (Differentiation) นักวิทยาศาสตรพยายามศึกษา
ถึงปจจัยทั้งภายในและภายนอกในการทําใหเซลลมีการเปลี่ยนแปลง ปจจัยภายในที่ควบคุมใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลงของเซลลคือ ยีนที่กระจายอยูตามสายดีเอ็นเอ ยีนนี้มีรหัสพันธุกรรมที่เปนทําหนาที่เปนกลไก
ควบคุมการเปลี่ยนแปลงโครงสรางและการทําหนาที่ของเซลล ปจจัยภายนอกไดแก สารเคมีที่หลั่งมาจาก
เซลลอื่นๆ เซลลที่อยูขางเคียง รวมทั้งโมเลกุลของสารประกอบในของเหลวที่อยูรอบลอมเซลล (เชน โมเลกุล
ของธาตุอาหารในสารละลายที่ใชเพาะเลี้ยงเซลล)
         เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวโดยสวนใหญจะเปลี่ยนไปเปนเซลลชนิดจําเพาะตามชนิด
ของเนื้ อ เยื่ อ เดิ ม ที่ นํ า มาสกั ด แยกเซลล ต น ตอนั้ น เซลล ต น ตอที่ ส กั ด แยกมาจากไขกระดู ก จะสามารถ
เปลี่ยนไปเปนเซลลเม็ดเลือดชนิดตางๆ เชน เซลลเม็ดเลือดแดง เซลลเม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด อยางไร
ก็ตามงานวิจัยในชวงระยะเวลาสองถึงสามปที่ผานมาไดทําใหเกิดการคนพบวา เซลลตนตอที่สกัดแยกมา
จากเนื้อเยื่ อชนิ ดหนึ่ งนั้ นสามารถเปลี่ ย นไปเปน เซลลช นิดจําเพาะที่อยูใ นเนื้อเยื่ อชนิ ดอื่นได โดยเรี ยก
ปรากฏการณนี้วา พลาสติซิตี้ (Plasticity) ตัวอยางเชน เซลลตนตอจากไขกระดูกเปลี่ยนไปเปนเซลล
ประสาท หรือเซลลตับสามารถเปลี่ยนเปนเซลลที่ผลิตอินซูลินได

4. เซลลตนตอจากตัวออน (Embryonic Stem Cells)
        4.1 อายุของตัวออนที่นํามาใชในการสกัดแยกเซลลตนตอ
        เซลลตนตอจากตัวออนไดรับมาจากตัวออนซึ่งมาจากไขที่ไดรับการปฏิสนธิเทียมในหลอดแกว
(In Vitro Fertilization) และผูบริจาคไดใหความยินยอมในการนํามาใชทดลองเทานั้น เซลลตนตอจาก
ตัวออนที่เกิดจากการปฏิสนธิโดยธรรมชาติในมดลูกจะไมถูกนํามาใช ตัวออนมนุษยที่จะนํามาใชเพื่อสกัด
แยกเซลลตนตอนั้นจะมีอายุประมาณ 4-5 วัน และมีลักษณะเปนเซลลทรงกลมที่ภายในกลวง โดยเรียกตัว
ออนที่อยูในระยะนี้วา บลาสโตซิสต (Blastocyst) บลาสโตซิสตจะประกอบดวยโครงสรางสามสวนไดแก
โทรโฟบลาส (Trophoblast) เป น โครงสร า งชั้ น นอกสุ ด ที่ อ ยู ล อ มรอบบลาสโตซิ ส ต บลาสโตซี ล
(Blastocoel) เปนโครงสร างชั้ นในของบลาสโตซิสต ซึ่งมีลักษณะเปนชองกลวง และ มวลเซลลชั้ นใน
(Inner Cell Mass) เปนกลุมเซลลที่ประกอบดวยเซลลจํานวนประมาณ 30 เซลล ซึ่งจะอยูที่ปลายดานหนึ่ง
ของ บลาสโตซีล (ดังแสดงในรูปที่ 1)

                                                     - 11 -
รูปที่ 1 โครงสรางของบลาสโตซิสต
                                           (ที่มา: KU, 2009)

         4.2 การเพาะเลี้ยงเซลลตนตอจากตัวออนในหองทดลอง
         การเพาะเลี้ยงเซลลในหองทดลอง (Cell Culture) ของเซลลตนตอจะเริ่มจากการสกัดแยกมวล
เซลลชั้นในและนํามาใสในจานเพาะเลี้ยงเซลลที่ใสอาหารเลี้ยงเซลล (Culture Medium) ไวแลว (ดังแสดง
ในรูปที่ 2) จากนั้นเซลลจะเริ่มแบงตัวและกระจายอยูที่ผิวหนาของจานเพาะเลี้ยงเซลล ดานในของจาน
เพาะเลี้ยงเซลลนี้จะถูกเคลือบดวยเซลลตนตอจากผิวหนังของหนูซึ่งไดผานกระบวนการทําปฏิกิริยากับ
สารเคมีเพื่อปองกันไมใหเซลลเกิดการแบงตัวอีก ชั้นของเซลลที่นํามาเคลือบไวดานในของจานเพาะเลี้ยง
เซลลนี้เรียกวา ชั้นใหอาหาร (Feeder Layer) จุดประสงคของการเคลือบดานในของจานเพาะเลี้ยงเซลลคอ  ื
ตองการใหผิวดานในของจานเพาะเลี้ยงเซลลมีลักษณะที่เหนียว เพื่อใหมวลเซลลชั้นในสามารถมาเกาะติดที่
ผิวของจานเพาะเลี้ยงเซลลได นอกจากนี้ชั้นใหอาหารจะปลอยสารอาหารหรือแรธาตุที่จําเปนเขาสูอาหาร
เลี้ยงเซลลเพื่อใหเซลลตนตอที่นํามาเพาะเลี้ยงเกิดการแบงตัวและเพิ่มจํานวนไดอยางสมบูรณ ปจจุบัน
นักวิทยาศาสตรไดพยายามทดลองหาวิธีการเพาะเลี้ยงเซลลเซลลตนตอโดยไมตองมีชั้นใหอาหารที่มาจาก
เซลลตนตอของหนู เนื่องจากมีความเสี่ยงที่ไวรัสหรือโมเลกุลบางชนิดในเซลลของหนูอาจแพรผานเขาไปใน
เซลลของมนุษยได




                                               - 12 -
รูปที่ 2 การสกัดแยกเซลลตนตอจากมวลเซลลชั้นในเพื่อนํามาเพาะเลี้ยงในหองทดลอง
                                          (ที่มา: KU, 2009)

         หลังจากที่เพาะเลี้ยงมวลเซลลชั้นในไวหลายวัน เซลลของมวลเซลลชั้นในจะเพิ่มจํานวนจนกระทั่ง
เต็มจานเพาะเลี้ยงเซลล นักวิทยาศาสตรจะแยกเซลลนี้ออกมาจากจานเพาะเลี้ยงเซลลเดิมเพื่อเปลี่ยนถายใส
ลงในจานเพาะเลี้ยงเซลลใหม (Subculturing) และจะถูกทําอยางตอเนื่องเปนเวลาหลายเดือน กระบวนการ
ยา ยเซลล จ ากจานเพาะเลี้ ย งเซลล เ ดิ ม เพื่ อ ไปใส ใ นจานเพาะเลี้ ย งเซลล ใ หม ใ นแต ล ะครั้ ง จะถู ก เรี ย กว า
พาสเสจ (Passage) หลังจากผานไปประมาณ 6 เดือน เซลลตนตอจากมวลเซลลชั้นในที่เริ่มตนจาก 30
เซลล จะเพิ่มจํานวนเปนหลายลานเซลลโดยที่ยังไมเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่นๆ กลุมเซลล
ตนตอจากตัวออน (Embryonic Stem Cell Line) นี้จะถูกแยกออกเปนกลุมเล็กๆเพื่อนําไปแชแข็งเตรียม
ไวสําหรับการทดลองตอไปหรือสงไปยังหองทดลองอื่นๆ

         4.3 การตรวจสอบในหองทดลองเพื่อพิสูจนและจําแนกเซลลตนตอจากตัวออน
         ในชวงระหวางการเพาะเลี้ ยงเซลลต นตอจากตัว ออนในหองทดลอง นักวิท ยาศาสตรจะทําการ
ตรวจสอบว า เซลล ที่ เ พาะเลี้ ย งได นั้ น มี คุ ณ สมบั ติ พื้ น ฐานที่ เ หมื อ นกั บ เซลล ต น ตอจากตั ว อ อ น ซึ่ ง เรี ย ก
กระบวนการตรวจสอบนี้วาคาแรกเตอไรเซชั่น (Characterization)
         อยางไรก็ตามนักวิทยาศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับเซลลตนตอจากตัวออนยังไมสามารถตกลงหาขอสรุป
ถึงวิธีการที่เปนมาตรฐานในการตรวจสอบคุณสมบัติของเซลลตนตอได นักวิทยาศาสตรตางใหความเห็นวา
วิธีการที่ใชตรวจสอบในปจจุบันยังไมไดเปนวิธีที่ดีที่สุดในการตรวจสอบคุณสมบัติทางชีววิทยาและหนาที่


                                                             - 13 -
ของเซลล ต น ตอจากตั ว อ อ น ดั ง นั้ น เพื่ อ ให ก ารตรวจสอบได ผ ลลั พ ธ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากที่ สุ ด
นักวิทยาศาสตรจึงใชวิธีตรวจสอบหลายวิธีหลายอยางรวมกัน ซึ่งวิธีการตรวจสอบที่ถูกใชไดแก
       1) เพาะเลี้ยงเซลลและแยกเซลลเพื่อเปลี่ยนถายใสลงในจานเพาะเลี้ยงเซลลใหมเปนระยะเวลาหลาย
       เดือน เพื่อตรวจสอบวาเซลลที่เพาะเลี้ยงไดนี้มีความสามารถในการสรางตัวเองขึ้นมาใหมไดใน
       ระยะเวลานาน และตรวจสอบวาเซลลนี้ยังมีลักษณะเปนเซลลที่ไมจําเพาะอยู
       2) ใชเทคนิคพิเศษในการตรวจสอบการแสดงเครื่องหมายบนผิวเซลล (Surface Markers) ที่
       สามารถพบไดบนเซลลที่ไมจําเพาะเทานั้น การตรวจสอบที่สําคัญอีกวิธีคือการตรวจสอบการมีอยู
       ของโปรตีนที่มีชื่อวา Octamer-4 (Oct-4) ซึ่งเปนโปรตีนที่ถูกสรางจากเซลลที่ไมจําเพาะและเปน
       ปจจัยที่ควบคุมการเพิ่มจํานวนและพัฒนาการของเซลล (Transcription Factor)
       3) ตรวจสอบโครโมโซมผ า นกล อ งจุ ล ทรรศน เ พื่ อ ดู ว า โครโมโซมมี ก ารถู ก ทํ า ลายหรื อ จํ า นวน
       โครโมโซมมีการเปลี่ยนแปลง แตการตรวจสอบโดยวิธีนี้ไมสามารถบงชี้วาเซลลนั้นมีการกลายพันธุ
       (Genetic Mutations) หรือไม
       4) ตรวจสอบวาเซลลสามารถนํามาถายใสลงในจานเพาะเลี้ยงเซลลใหมหลังจากที่ถูกแชแข็งและ
       ผานการทําการละลายแลว
       5) ตรวจสอบวาเซลลตนตอจากตัวออนมนุษยมีคุณสมบัติในการเปลี่ยนไปเปนเซลลจําเพาะชนิด
       อื่นๆไดเกือบทุกชนิด ซึ่งเรียกคุณสมบัติเชนนี้วา พลูริโพเทนท (Pluripotent) การตรวจสอบเชนนี้
       สามารถทําไดโดยวิธีตางๆดังนี้
                5.1) ปลอยใหเซลลมีการเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดอื่นตามธรรมชาติโดยไมตองควบคุม
                5.2) ควบคุมเซลลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลจําเพาะชนิดที่ตองการ
                5.3) ฉีดเซลลเขาไปในหนูทดลองที่ถูกยับยั้งภูมิคุมกันไวแลว เพื่อตรวจสอบการเกิดเนื้องอก
                ชนิดไมรายแรง (Benign Tumor) ที่เรียกวา เทอราโทมา (Teratoma) เทอราโทมานี้จะ
                ประกอบดวยกลุมเซลลชนิดจําเพาะทั้งหมดหรือบางสวน ซึ่งจะสามารถใชเปนเครื่องบงชี้วา
                เซลลตนตอนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดจําเพาะอื่นๆได

        4.4 กระบวนการเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่นๆของเซลลตนตอจากตัวออน
        เมื่อเพาะเลี้ยงเซลลตนตอจากตัวออนไวในจานเลี้ยงเซลลและควบคุมปจจัยตางๆไว เซลลตนตอจาก
ตัวออนจะคงสภาพเปนเซลลที่ไมจําเพาะ แตเมื่อเซลลนั้นมาจับตัวรวมกันเปนกลุมที่เรียกวา เอ็มบริออย
บอดีส (Embryoid Bodies) เซลลจะเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่นเชน เซลลกลามเนื้อ และ
เซลลประสาท (ดังแสดงในรูปที่ 3)




                                                      - 14 -
รูปที่ 3 การเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากตัวออนไปเปนเซลลจาเพาะชนิดอื่นๆ
                                                                       ํ
                                        (ที่มา: Kochar, 2004)

        นักวิทยาศาสตรไดพยายามควบคุมการเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดอื่นๆที่ตองการโดยวิธีตางๆ
เช น การเปลี่ ย นองค ป ระกอบทางเคมี ใ นอาหารเลี้ ย งเซลล การเปลี่ย นชั้น ให อ าหารที่ เ คลื อ บไว ใ นจาน
เพาะเลี้ยงเซลล การดัดแปลงเซลลโดยใสยีนพิเศษบางชนิด จากการวิจัยหลายปที่ผานมา นักวิทยาศาสตร
ไดป ระสบความสําเร็ จในการคน พบวิ ธี ก ารเพื่อ ควบคุมการเปลี่ย นแปลงโดยตรงหรื อเรียกวา ไดเรคท
ดิฟเฟอเรนทิเอชัน (Directed Differentiation) ของเซลลตนตอจากตัวออนไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่น
บางชนิด (ดังแสดงในรูปที่ 4) ซึ่งถานักวิทยาศาสตรสามารถควบคุมการเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากตัว


                                                    - 15 -
ออนไปเปนเซลลชนิดอื่นไดโดยสมบูรณแลว ในอนาคตโรคบางชนิดเชน โรคพารกินสัน โรคเบาหวาน และ
โรคหัวใจ ก็จะสามารถรักษาใหหายไดโดยการปลูกถายเซลลจําเพาะชนิดที่จําเปนในการรักษาใหกับผูปวย




                    รูปที่ 4 ไดเรคท ดิฟเฟอเรนทิเอชัน (Directed Differentiation)
                                (ที่มา: NIH: Stem Cell Basics, 2008)

                                               - 16 -
5. เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลว (Adult Stem Cells)
           เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวเปนเซลลที่ไมจําเพาะซึ่งพบไดทามกลางเซลลชนิดจําเพาะ
ในเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่สามารถสรางทดแทนตัวเองขึ้นมาใหมไดและ
สามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดจําเพาะไดบางชนิด หนาที่หลักของเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัย
เต็มที่แลวในสิ่งมีชีวิตคือรักษาและซอมแซมเนื้อเยื่อในสวนที่พบเซลลตนตอนั้น นักวิทยาศาสตรบางคนได
เรียกเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลววาเซลลตนตอจากรางกาย (Somatic Stem Cell) และยัง
ไมมีใครคนพบจุดกําเนิดของในเนื้อเยื่อของเซลลตนตอประเภทนี้
           ปจจุบันนักวิทยาศาสตรคนพบเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวในเนื้อเยื่อประเภทตางๆ
มากขึ้น การคนพบนี้ไดสรางความหวังใหกับนักวิทยาศาสตรถึงความเปนไปไดในการนําเซลลตนตอจาก
เซลลที่เจริญวัยเต็มที่มาปลูกถายใหกับผูปวย ในความเปนจริงแลวเซลลตนตอที่ทําหนาที่สรางเลือดจากไข
กระดู ก ได ถู ก ใช ป ลู ก ถ า ยมากกว า 30 ป แ ล ว เซลล ต น ตอจากเซลล ที่ เ จริ ญ วั ย เต็ ม ที่ แ ล ว บางชนิ ด มี
ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลอื่นๆไดหลายชนิดภายใตสภาวะที่เหมาะสม
           เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวนั้นไดถูกคนพบเปนครั้งแรกเมื่อ 40 ปที่แลว ในป พ.ศ.
2503 (ค.ศ. 1960) นักวิจัยไดคนพบวาไขกระดูกประกอบดวยเซลลตนตอสองชนิด กลุมแรกเรียกวาเซลล
ตนตอเม็ดโลหิต (Hematopoietic Stem Cells) ซึ่งทําหนาที่สรางเซลลเม็ดเลือดทุกชนิดในรางกาย กลุม
ที่สองเรียกวาเซลลจากไขกระดูกในชั้นสตอรมาล (Bone Marrow Stromal Cells) ซึ่งถูกคนพบ
หลังจากเซลลกลุมแรกประมาณ 2-3 ป และเซลลกลุมนี้จะทําหนาที่สรางกระดูก กระดูกออน ไขมัน และ
เนื้อเยื่อเสนใย (Fibrous Connective Tissue)
           5.1 แหลงที่มาและหนาที่ของเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลว
           เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวนี้สามารถพบไดในอวัยวะและเนื้อเยื่อหลายชนิด จุดสําคัญ
ที่ควรทําความเขาใจเกี่ยวกับเซลลตนตอประเภทนี้คือ ในเนื้อเยื่อแตละชนิดจะมีเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญ
วัยเต็มที่แลวจํ านวนนอยมาก เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวจะสามารถพบไดในบริเวณแค
บางสวนของเนื้อเยื่อและจะคงสภาพเปนเซลลที่ยังไมมีการแบงตัวเปนระยะเวลาหลายปจนกระทั่งไดรับการ
กระตุนโดยโรคหรือการบาดเจ็บที่สงผลตอเนื้อเยื่อสวนนั้น เนื้อเยื่อที่มีการรายงานการคนพบเซลลตนตอจาก
เซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวไดแก สมอง ไขกระดูก กระแสเลือด (Peripheral Blood) หลอดเลือด กลามเนื้อ
โครงราง (Skeletal Muscle) ผิวหนัง และตับ
           นักวิทยาศาสตรไดพยายามหาวิธีเพาะเลี้ยงและควบคุมการเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากเซลลที่
เจริญวัยเต็มที่แลวในหองทดลองไปเปนเซลลจําเพาะชนิดตางๆที่ตองการเพื่อใชในการรักษาโรคหรืออาการ
บาดเจ็ บ ตั ว อย า งของการรั ก ษาโดยใช เ ซลล ต น ตอชนิ ด นี้ ไ ด แ ก การปลู ก ถ า ยเซลล ที่ ผ ลิ ต โดปามี น
(Dopamine-Producing Cells) ลงในสมองของผูปวยที่เปนโรคพารกินสัน การปลูกถายเซลลที่ผลิตอินซูลิน
(Insulin-Producing Cells) ใหกับผูปวยดวยโรคเบาหวานชนิดที่ 1 (Type I Diabetes) และการซอมแซม


                                                          - 17 -
กลามเนื้อหัวใจในผูปวยที่มีโอกาสเกิดอาการกลามเนื้อหัวใจวาย (Heart Attack) ดวยเซลลกลามเนื้อหัวใจ
(Cardiac Muscle Cells)

        5.2 การตรวจสอบในหองทดลองเพื่อพิสูจนและจําแนกเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวั ย
เต็มที่แลว
        นักวิทยาศาสตรยังไมสามารถตกลงหาขอสรุปถึงเกณฑมาตรฐานในการพิสูจนและจําแนกเซลล
ต น ตอจากเซลล ที่ เ จริ ญ วั ย เต็ ม ที่ แ ล ว อย า งไรก็ ต ามนั ก วิ ท ยาศาสตร ส ว นใหญ จ ะเลื อ กแนวทางในการ
ตรวจสอบตามวิธีหนึ่งหรือมากกวาจากสามวิธีดังตอไปนี้
        1) ทําเครื่องหมายกับเซลลตนตอที่อยูที่เนื้อเยื่อโดยใชเครื่องหมายโมเลกุล (Molecular Marker)
        แลวติดตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นวาเซลลตนตอเปลี่ยนไปเปนเซลลจําเพาะชนิดใด
        2) สกัดแยกเซลลตนตอจากสิ่งมีชีวิตเพื่อนํามาเพาะเลี้ยงในหองทดลอง จากนั้นปลูกถายกลุมเซลล
        นั้นใหกับสิ่งมีชีวิตตัวใหม เพื่อตรวจสอบวากลุมเซลลนั้นสามารถกลับมารวมตัวกันที่เนื้อเยื่อตน
        กําเนิดชนิดเดิม
        3) สกัดแยกเซลลตนตอจากสิ่งมีชีวิตแลวนํามาเพาะเลี้ยงในหองทดลอง ใสปจจัยที่ควบคุมการ
        เจริญเติบโตตาง ๆ (Growth Factors) หรือใสยีนชนิดใหมเพื่อควบคุมการเปลี่ยนแปลงของเซลล
        เพื่อตรวจสอบดูชนิดของเซลลที่เปลี่ยนแปลงไป
        เซลล ตน ตอจากเซลลที่เจริญวั ย เต็มที่ แลว หนึ่งเซลล จะสามารถสรางกลุ มเซลลที่มีลัก ษณะทาง
พันธุกรรมเหมือนกับเซลลตนกําเนิดได และเรียกกลุมเซลลนี้วา โคลน (Clone) กลุมเซลลนี้จะสามารถ
เปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดจําเพาะที่เหมาะสมของเนื้อเยื่อได โดยเมื่อเร็วๆนี้นักวิทยาศาสตรไดประสบ
ความสําเร็จในการใสไวรัสบางชนิดเขาไปในโคลนจากเซลลตนตอเพื่อควบคุมใหเซลลสรางตัวเองขึ้นมาใหม
และไปซอมแซมเนื้อเยื่อที่บาดเจ็บ

        5.3 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวเพื่อไปทํา
หนาที่ตางๆ
        เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวจากเนื้อเยื่อหลายๆชนิดสามารถพัฒนาไปสูกระบวนการ
การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาไปเปนเซลลชนิดที่จําเพาะสําหรับเนื้อเยื่อชนิดนั้นๆเพื่อทําหนาที่โดยวิธีปกติ
ได (Normal Differentiation) อยางไรก็ตามเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวจากเนื้อเยื่อชนิดหนึ่งก็
สามารถเปลี่ยนไปเปนเซลลชนิดจําเพาะของเนื้อเยื่อชนิดอื่นได ซึ่งเรียกความสามารถนี้วา ทรานสดิฟเฟอ-
เรนทิเอชัน (Transdifferentiation) หรือ พลาสติซิตี้ (Plasticity)
        1) การเปลี่ยนแปลงเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวไปเปนเซลลจําเพาะโดยกระบวนการ
        ปกติ (Normal Differentiation) เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวในสิ่งมีชีวิตสามารถแบงตัว


                                                        - 18 -
ไดเปนระยะเวลานานและเปลี่ยนไปเปนเซลลที่มีโครงสราง รูปราง คุณลักษณะ และหนาที่จําเพาะ
ตามชนิดของเนื้อเยื่อที่เปนตนกําเนิดของเซลลตนตอนั้น (ดังแสดงในรูปที่ 5) ตัวอยางเชน




  รูปที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวไปเปนเซลลจําเพาะ
                     โดยกระบวนการปกติ (Normal Differentiation)
                        (ที่มา: NIH: Stem Cell Basics, 2008)

       1.1) เซลลตนตอเม็ดโลหิต (Hematopoietic Stem Cells) เปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลเม็ด
       เลือดไดทุกชนิดซึ่งไดแก
               • เซลลเม็ดเลือดแดง บีลิมโฟไซต (B Lymphocytes)
               • ทีลิมโฟไซต (T Lymphocytes)
               • เซลลเพชฌฆาต (Natural Killer Cells)
               • นิวโทรฟล (Neutrophils)

               • บาโซฟล (Basophils)
               • อีโอสิโนฟล (Eosinophils)
               • โมโนไซต (Monocytes)
               • มาโครฟาจ (Macrophages)
               • เกล็ดเลือด (Platelets)


                                        - 19 -
1.2) เซลลจากไขกระดูกในชั้นสตอรมาล (Bone Marrow Stromal Cells) หรือเซลลตนตอ
         ชนิดมีเซ็นไคมอล (Mesenchymal Stem Cells) สามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิด
         ตางๆไดแก
                 • เซลลกระดูกหรือออสติโอไซต (Osteocytes)
                 • เซลลกระดูกออนหรือคอนโดรไซต (Chondrocytes)
                 • เซลลไขมันหรือเซลลอะดิโปไซต (Adipocytes)
                 • เซลลเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective Tissue Cells) ชนิดตางๆ เชน เซลลที่อยู
                      ที่เสนเอ็น (Tendons)
          1.3) เซลลตนตอประสาท (Neural Stem Cells) ในสมองสามารถเปลี่ยนไปเปนเซลลชนิด
         จําเพาะไดสามชนิดไดแก
                 • เซลลประสาทหรือนิวรอน (Neurons)
                 • เซลลชนิด Non-Neuronal อีกสองชนิด ซึ่งไดแก แอสโทรไซต (Astrocytes)
                      และโอลิโกเดนโดรไซต (Oligodendrocytes)
         1.4) เซลลตนตอชั้นอีพิทีเลียล (Epithelial Stem Cells) ซึ่งอยูในโครงสรางเยื้อบุชั้นในของ
         ระบบทางเดินอาหาร สามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดจําเพาะไดหลายชนิดเชน
                 • เซลลดูดซึม (Absorptive Cells)
                 • เซลลกอบเลท (Goblet Cells)
                 • พาเนทเซลล (Paneth Cells)

                 • เซลลชนิดเอ็นเตอโรเอ็นโดครีน (Enteroendocrine Cells)
         1.5) เซลลตนตอจากผิวหนังในชั้นอีพิเดอมิส (Epidermis) และที่ชั้นลางสุดของรูขุมขน
         (Hair Follicles) เซลลตนตอจากผิวหนังในชั้นอีพิเดอมิสสามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนเคราติ-
         โนไซต (Keratinocytes) ซึ่งจะยายไปอยูที่ผิวชั้นบนสุดของผิวหนังเพื่อทําหนาที่เปนชั้น
         ปกปอง สวนเซลลตนตอจากรูขุมขนจะสามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนรูขุมขนและอีพิเดอมิส

2) การเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวจากเนื้อเยื่อชนิดหนึ่งไปเปนเซลล
ชนิดจําเพาะของเนื้อเยื่อชนิดอื่น (Plasticity and Transdifferentiation) เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญ
วัยเต็มที่แลวบางชนิดเปนพลูริโพเทนท (Pluripotent) นั่นคือมีคุณสมบัติในการเปลี่ยนไปเปนเซลล
จํ า เพาะชนิ ด อื่ น ๆได ห ลายชนิ ด ซึ่ ง เรี ย กคุ ณ สมบั ติ เ ช น นี้ ว า พลาสติ ซิ ตี้ (Plasticity) หรื อ
ทรานสดิฟเฟอเรนทิเอชัน (Transdifferentiation) (ดังแสดงในรูปที่ 6)




                                                - 20 -
รูปที่ 6 การเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มทีแลวจากเนื้อเยื่อชนิดหนึ่งไปเปนเซลล
                                                                  ่
                    ชนิดจําเพาะของเนื้อเยื่อชนิดอื่น (Plasticity and Transdifferentiation)
                              (ที่มา: NIH: Stem Cell Basics, 2008)

     ตัวอยางจากงานวิจัยที่ผานมาเชน
             2.1) เซลลตนตอเม็ดโลหิต (Hematopoietic Stem Cells) เปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลประสาท
             ไดทั้งสามชนิด (นิวรอน แอสโทรไซต และโอลิโกเดนโดรไซต) หรือเปลี่ยนแปลงไปเปน
             เซลลกลามเนื้อโครงราง เซลลกลามเนื้อหัวใจ หรือเซลลตับ
             2.2) เซลลจากไขกระดูกในชั้นสตอรมาล (Bone Marrow Stromal Cells) สามารถเปลี่ยน
             แปลงไปเปนเซลลกลามเนื้อหัวใจ หรือเซลลกลามเนื้อโครงราง
             2.3) เซลลตนตอจากสมองสามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลเม็ดเลือด หรือเซลลกลามเนื้อ
             โครงราง



                                              - 21 -
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Us Stem Cells Report 2009

เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
Cell project 1 : Cell studying
Cell project 1 : Cell studyingCell project 1 : Cell studying
Cell project 1 : Cell studyingIPST Thailand
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
เทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพเทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพpeter dontoom
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตฟลุ๊ค ลำพูน
 

Ähnlich wie Us Stem Cells Report 2009 (20)

เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
Cell project 1 : Cell studying
Cell project 1 : Cell studyingCell project 1 : Cell studying
Cell project 1 : Cell studying
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
2
22
2
 
เทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพเทคโนโลยีวีวภาพ
เทคโนโลยีวีวภาพ
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Biology m4
Biology m4Biology m4
Biology m4
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
 

Mehr von Ministry of Science and Technology

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...Ministry of Science and Technology
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีMinistry of Science and Technology
 
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015Ministry of Science and Technology
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTMinistry of Science and Technology
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯMinistry of Science and Technology
 

Mehr von Ministry of Science and Technology (20)

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
 
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
 
Thesearch index-information54
Thesearch index-information54Thesearch index-information54
Thesearch index-information54
 
Mos taction plan2555-2558
Mos taction plan2555-2558Mos taction plan2555-2558
Mos taction plan2555-2558
 
Policy24jan55
Policy24jan55Policy24jan55
Policy24jan55
 
Scius55 1-out-most
Scius55 1-out-mostScius55 1-out-most
Scius55 1-out-most
 
Semina boi
Semina boiSemina boi
Semina boi
 
S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
 
Gov policy-55
Gov policy-55Gov policy-55
Gov policy-55
 
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
 
V532
V532V532
V532
 
V531
V531V531
V531
 
Gmo in-usa
Gmo in-usaGmo in-usa
Gmo in-usa
 
P 20101027-map60
P 20101027-map60P 20101027-map60
P 20101027-map60
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
 
กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
กำหนดการ
 

Us Stem Cells Report 2009

  • 1. รายงานการสืบคนขอมูลความกาวหนาและสถานะ เทคโนโลยีชีวภาพดานสเต็มเซลลในประเทศสหรัฐอเมริกา โดย นางสาว ทิพยอาภา ภูวนัตตรัย ที่ปรึกษาโครงการ เสนอตอสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.) 28 พฤศจิกายน 2552
  • 2. รายงานการสืบคนขอมูลความกาวหนาและสถานะเทคโนโลยีชีวภาพดานสเต็มเซลลในประเทศ สหรัฐอเมริกาภายใตโครงการการดําเนินภารกิจ (ทีมประเทศไทย) ประจําปงบประมาณ 2552 (ธันวาคม 2551 – พฤศจิกายน 2552) สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (ภาพจากหนาปก, ที่มา: Serrano, 2009) รายงานฉบับนี้เปนลิขสิทธิ์ของสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.) หากนําไปใชประโยชนโปรดอางอิงชื่อ สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี (สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.) ดวย -1-
  • 3. คํานํา รายงานการสืบคนขอมูลความกาวหนาและสถานะเทคโนโลยีชีวภาพดานสเต็มเซลลในประเทศ สหรัฐอเมริกา มีวัตถุประสงคการจัดทําเพื่อสืบเสาะแสวงหาและเขาถึงองคความรูและเทคโนโลยีสําคัญใน ประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และการทํานวัตกรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขันของประเทศและเปนการสรางฐานความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหเขมแข็งมากขึ้น ซึ่ง วัตถุประสงคดังกลาวเปนภารกิจสวนหนึ่งของสํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํา กรุ ง วอชิ ง ตั น ดี . ซี . อั น เป น หน ว ยงานภายใต ก ารสั ง กั ด ของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยี คณะผูจัดทําหวังวารายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงานวิจัยและพัฒนา หนวยงานนโยบาย และสถาบันการศึกษา ในการพัฒนางานดานสเต็มเซลลของประเทศไทยตอไป ทั้งนี้รายงานฉบับนี้สามารถ สืบคนไดทางเว็บไซต http://www.ostc.thaiembdc.org อีกทางหนึ่งดวย สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี. 28 พฤศจิกายน 2552 -2-
  • 4. สารบัญ เนื้อหา หนา บทสรุปผูบริหาร 8 ความรูเกี่ยวกับเซลลตนตอ 9 บทนํา 9 ประเภทของเซลลตนตอและความสําคัญ 9 คุณลักษณะพิเศษเฉพาะของเซลลตนตอ 10 เซลลตนตอจากตัวออน 11 เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลว 17 ความเหมือนและความแตกตางระหวางเซลลตนตอจากตัวออนและเซลลตนตอ จากเซลลทเจริญวัยเต็มที่แลว ี่ 22 ประโยชนของเซลลตนตอจากมนุษยและอุปสรรคของการนํามาประยุกตใช ทางการแพทย 23 เซลลตนตอชนิดพลูริโพเทนทซึ่งมีความจําเพาะกับโรคหรือมีความจําเพาะกับผูปวย  27 การสรางเซลลตนตอจากตัวออนโดยการใชเทคนิคการยายฝากนิวเคลียส 27 อินดิวสพลูริโพเทนทเซลลหรือไอพีเอสเซลล 28 การนําเซลลตนตอมาประยุกตใชในทางการแพทย 30 การประยุกตใชเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวในทางการแพทย 30 การประยุกตใชเซลลตนตอจากตัวออนมนุษยในทางการแพทย 30 เซลลตนตอที่เหมาะสมสําหรับนํามาใชในการบําบัดรักษาโรค 31 ตัวอยางของเซลลตนตอในเนื้อเยื่อและการนํามาใชเพื่อรักษาโรค 32 การบําบัดรักษาโรคโดยใชเซลลตนตอ 41 การประยุกตใชอินดิวสพลูริโพเทนทสเต็มเซลลในทางการแพทย 43 ประวัติและความเปนมาของเซลลตนตอ 47 สรุปลําดับเหตุการณประวัติของงานวิจัยเซลลตนตอจากตัวออนมนุษย 47 กฎหมายและนโยบายของสหรัฐอเมริกาที่เกี่ยวของกับงานวิจัยเซลลตนตอ 53 -3-
  • 5. การคนพบครังยิ่งใหญของวงการวิทยาศาสตร ้ 53 การหามทํางานวิจัยที่เกี่ยวกับตัวออน 53 แนวทางในการขอรับเงินทุนสนับสนุนงานวิจัยเซลลตนตอของสถาบันสุขภาพแหงชาติ ของสหรัฐอเมริกา 54 การตัดสินใจของประธานาธิบดีบุช 55 ประเด็นโตแยงในเรื่องจํานวนของกลุมเซลลตนตอที่สามารถนํามาใชได 56 ความกดดันทีเกิดขึ้นในปของการเลือกตั้งประธานาธิบดี ่ 57 การใชสิทธิ์ยบยั้งของประธานาธิบดีบุชครั้งแรก ั 59 การใชสิทธิ์ยบยั้งของประธานาธิบดีบุชครั้งที่สอง ั 59 การตัดสินใจของประธานาธิบดีโอบามา 60 ประเด็นทางดานจริยธรรมที่เกี่ยวของกับงานวิจัยเซลลตนตอ 61 กฎระเบียบของสหรัฐอเมริกาในการใหเงินทุนสนับสนุนงานวิจัยเซลลตนตอ 64 การใหเงินทุนสนับสนุนงานวิจัยตัวออนและมติดิกกี้ 64 มติดิกกี้กับงานวิจัยเซลลตนตอ  64 นโยบายของประธานาธิบดีบุชที่เกียวกับงานวิจัยเซลลตนตอจากตัวออน ่ 65 การสนับสนุนงานวิจัยเซลลตนตอของแตละมลรัฐ 66 นโยบายของประธานาธิบดีโอบามาที่เกี่ยวกับงานวิจัยเซลลตนตอจากตัวออนและ เอกสารแนวทางสําหรับงานวิจัยเซลลตนตอจากมนุษยของสถาบันสุขภาพแหงชาติ ของสหรัฐอเมริกาฉบับสมบูรณ 68 ทะเบียนรายชื่อเซลลตนตอจากตัวออนมนุษยที่ผานเกณฑในการนํามาใชในงานวิจัย และสามารถขอเงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาลกลางได 69 งบประมาณของรัฐบาลกลางที่ใชในการสนับสนุนงานวิจัยเซลลตนตอ 71 หนวยงานที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนาดานเซลลตนตอในสหรัฐอเมริกา 72 สถาบันสุขภาพแหงชาติของสหรัฐอเมริกา 72 องคการอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา 72 องคกรบริหารทรัพยากรดานสุขภาพและการบริการ 74 สถาบันแหงชาติของสหรัฐอเมริกา 75 ธนาคารเซลลตนตอแหงชาติ 75 หนวยงานที่สนับสนุนงานวิจัยเซลลตนตออื่นๆ 76 -4-
  • 6. รายละเอียดที่ติดตอหนวยงานที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนาดานเซลลตนตอใน  สหรัฐอเมริกา 81 รายชื่อบริษัทในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนา เซลลตนตอเพื่อนําไปใชในเชิงพาณิชย 88 บริษัทดานเซลลตนตอในประเทศสหรัฐอเมริกา 88 บริษัทดานเซลลตนตอในประเทศแคนาดา 114 วิธีการสืบคนขอมูลสิทธิบัตรทีเกี่ยวกับงานวิจัยเซลลตนตอของสหรัฐอเมริกา ่ 119 สํานักงานสิทธิบตรและเครืองหมายการคาแหงสหรัฐอเมริกา ั ่ 119 สเต็มเซลลแพทเทนทดอทคอม 129 วิเคราะหแนวโนมในอนาคตของเซลลตนตอในประเทศสหรัฐอเมริกา 134 แนวโนมในอนาคตของเซลลตนตอจากเซลลทเจริญวัยเต็มที่แลว ี่ 134 แนวโนมในอนาคตของเซลลตนตอจากตัวออนและอินดิวสพลูริโพเทนทสเต็มเซลล 135 แนวโนมของการนําเซลลตนตอมาประยุกตใชทางการแพทยในอนาคต  136 นโยบายของประธานาธิบดีโอบามาที่สงผลตอแนวโนมของงานวิจัยเซลลตนตอในอนาคต 142 กฎหมายเบย-โดล (Bayh-Dole Act) กับการพัฒนางานวิจัยดานเซลลตนตอ 143 ประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธิบัตรดานเซลลตนตอ 144 แนวโนมการเจริญเติบโตของธุรกิจที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีเซลลตนตอ  145 แนวโนมในอนาคตของความรวมมือในเรื่องงานวิจัยเซลลตนตอระหวางประเทศ 147 มุมมองที่เกี่ยวกับงานวิจัยเซลลตนตอในระดับโลก 148 องคกรสาธารณประโยชนกบงานวิจัยที่เกียวกับดานพันธุกรรมและเซลลตนตอ ั ่ 152 เชิงอรรถ 154 เอกสารแนบ 166 อภิธานศัพท 172 บรรณานุกรม 177 -5-
  • 7. สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 โรคที่สามารถนําเซลลในผูปวยไปสรางกลุมไอพีเอสเซลลที่มีความจําเพาะกับผูปวยได    44 2 หองทดลองที่มีกลุมเซลลตนตอซึ่งผานเกณฑในการนํามาใชเพื่อขอทุนสนับสนุนจาก  รัฐบาลกลาง 56 3 นโยบายที่เกียวกับการใหทุนสนับสนุนงานวิจัยเซลลตนตอของแตละมลรัฐในสหรัฐอเมริกา ่  66 4 งบประมาณของสถาบันสุขภาพแหงชาติของสหรัฐอเมริกาที่นํามาใชในการสนับสนุนงาน วิจัยเซลลตนตอ 71 5 รายรับของธุรกิจที่เกี่ยวของกับเซลลตนตอในกลุมวิทยาศาสตรชีวภาพในสหรัฐอเมริกา 147 6 ตัวอยางขอแตกตางในกฎหมายดานงานวิจัยเซลลตนตอจากตัวออนมนุษยของบางประเทศ  149 -6-
  • 8. สารบัญรูป รูปที่ หนา 1 โครงสรางของบลาสโตซิสต 12 2 การสกัดแยกเซลลตนตอจากมวลเซลลชนในเพื่อนํามาเพาะเลี้ยงในหองทดลอง ั้ 13 3 การเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากตัวออนไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่นๆ 15 4 ไดเรคท ดิฟเฟอเรนทิเอชัน (Direct Differentiation) 16 5 การเปลี่ยนแปลงเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวไปเปนเซลลจําเพาะ โดยกระบวนการปกติ (Normal Differentiation) 19 6 การเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากเซลลทเจริญวัยเต็มที่แลวจากเนื้อเยื่อชนิดหนึ่ง ี่ ไปเปนเซลลชนิดจําเพาะของเนื้อเยื่อชนิดอื่น (Plasticity and Transdifferentiation) 21 7 การปลูกถายเซลลตนตอใหกับผูปวยโดยใชเซลลตนตอจากตัวออน 24 8 การปลูกถายเซลลตนตอใหกับผูปวยโดยใชเซลลตนตอจากเซลลทเจริญวัยเต็มที่แลว ี่ 25 9 การซอมแซมกลามเนื้อหัวใจโดยการใชเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวของ หนูทดลอง 26 10 เปรียบเทียบการสรางบลาสโตซิสตโดยการสืบพันธุตามธรรมชาติกบการยายฝากนิวเคลียส  ั 28 11 ศักยภาพของเซลลตนตอในการบําบัดรักษาโรคตางๆ 31 12 กลไกการพัฒนาของเซลลตนตอเม็ดโลหิตไปเปนเซลลเม็ดเลือดตางๆ  34 13 เซลลตนตอในโครงสรางของรูขุมขน 35 14 โครงสรางของดวงตา 37 15 โครงสรางของหูชั้นใน 39 16 โครงสรางของปอด 40 17-22 รายละเอียดขอมูลการสืบคนสิทธิบัตรจากสํานักงานสิทธิบัตรและเครื่องหมายการคาแหง สหรัฐอเมริกา (USPTO) 120 23-26 รายละเอียดขอมูลการสืบคนสิทธิบัตรจากเว็บไซตสเต็มเซลลแพทเทนทดอทคอม (StemCellPatents.com) 130 27 การปลูกถายเซลลตนตอในมนุษย 135 28 อัตราการถือครองกรรมสิทธิ์ในสิทธิบัตรดานเซลลตนตอของหนวยงานตางๆและบริษัท ในสหรัฐอเมริกา 145 29 รายรับของธุรกิจที่เกี่ยวของกับเซลลตนตอในกลุมวิทยาศาสตรชีวภาพในสหรัฐอเมริกา 147 -7-
  • 9. บทสรุปผูบริหาร สเต็มเซลล (Stem Cells) หรือเซลลตนตอมีคุณสมบัติสองประการสําคัญที่ไดสรางความหวังใหกับ ทั้งวงการวิทยาศาสตรและการแพทยซึ่งไดแกความสามารถในการสรางทดแทนตัวเองขึ้นมาใหมและการ เปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดอื่นๆไดมากมายหลายชนิด คุณสมบัติเหลานี้ไดจุดประกายใหมีการศึกษา คนควาตอเนื่องถึงความเปนไปไดและประสิทธิภาพในการนําเซลลตนตอมาใชเพื่อรักษาโรคตางๆ ปจจุบัน ในประเทศสหรัฐอเมริกางานวิจัยเซลลตนตอไดมีการพัฒนากาวหนาเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วกวาแตในอดีต เนื่องจากนโยบายของประธานาธิบดีโอบามาที่ใหการสนับสนุนรวมทั้งใหเงินทุนแกงานวิจัยเซลลตนตอ ปจจุบันเซลลตนตอไดมีการนํามาประยุกตใชทางการแพทยเพื่อรักษาโรคตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง โรคที่ในอดีตไมสามารถรักษาไดเปนตนวา โรคอัลไซเมอร โรคพารกินสัน และโรคเบาหวานในเด็ก โดยเซลล ตนตอของมนุษยที่มีการนํามาประยุกตใชไดแก เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลว เซลลตนตอจาก ตัวออนมนุษย และอินดิวสพลูริโพเทนทสเต็มเซลล ซึ่งเปนการนําเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลว มาเปลี่ยนคุณสมบัติใหเปนเหมือนเซลลตนตอจากตัวออน ตอไปในอนาคตการนําเซลลตนตอมาใชเพื่อการ รั ก ษาโรคจะมุ ง เน น ไปที่ ก ารผสมผสานวิ ธี ก ารรั ก ษาโดยใช เ ซลล ต น ตอหลายชนิ ด เข า ด ว ยกั น เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพของการรักษา รวมทั้งมีการนําเซลลตนตอมาใชในการทดสอบยาชนิดตางๆกอนนํามาใชรักษา โรคใหกับผูปวยจริงเพื่อศึกษาผลกระทบและลดความเสี่ยงของการเกิดผลขางเคียงจากการใชยา ในอนาคตงานวิจัยเซลลตนตอมีแนวโนมที่จะเกิดการพัฒนากาวหนายิ่งขึ้น และสงผลใหการนําเซลล ตนตอมาประยุกตใชทางการแพทยมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ธุรกิจที่เกี่ยวของกับเซลลตนตอใน สหรัฐอเมริกาจะมีการเติบโตขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่งธุรกิจที่เกี่ยวของกับการนําเซลลมาใชรักษาโรคและการ จัดเก็บเซลลเพื่อการรักษา อยางไรก็ตามทิศทางและนโยบายที่เกี่ยวกับงานวิจัยเซลลตนตอยังคงมีการ เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา นอกจากนี้ยังมีปจจัยแวดลอมตางๆที่สงผลตองานวิจัยเซลลตนตอเปนตนวา กฎหมาย นโยบายในเรื่องของการใหเงินทุนสนับสนุนงานวิจัย นโยบายในเรื่องที่เกี่ยวกับสิทธิบัตร ทัศนคติ และการตอบสนองของประชาชน ซึ่งปจจัยตางๆเหลานี้เปนสิ่งที่ตองมีการติดตามตอไปเพื่อใหสามารถ วิเคราะหทิศทางในอนาคตของงานวิจัยเซลลตนตอทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกาและในระดับโลกไดชัดเจน มากยิ่งขึ้น -8-
  • 10. ความรูเกี่ยวกับเซลลตนตอ 1. บทนํา งานวิจัยดานสเต็มเซลล (Stem Cells) หรือเซลลตนตอเปนความรูในระดับสูงซึ่งเกี่ยวของกับ กระบวนการพัฒนาของสิ่งมีชีวิตที่เริ่มตนจากเซลลตนกําเนิดเซลลเดียว และกระบวนการแทนที่เซลลที่ เสื่อมสภาพไปโดยเซลลที่แข็งแรงในสิ่งมีชีวิตที่เจริญวัยเต็มที่แลว งานวิจัยเซลลตนตอนี้ยังชวยจุดประกาย ใหนักวิทยาศาสตรไดศึกษาคนควาตอเนื่องถึงความเปนไปไดในการใชเซลลมาชวยรักษาโรคตางๆ โดย เรียกวิทยาการในการนําเซลลมารักษาโรคนี้วา การแพทยทางเลือกใหม หรือการแพทยการสรางอวัยวะ ใหม (Regenerative or Reparative Medicine) ปจจุบันเซลลตนตอเปนสาขาของชีววิทยาที่ไดรับความ สนใจเปนอยางยิ่ง งานวิจัยเซลลตนตอไดชวยตอบคําถามที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตรไดมากมาย และกอใหเกิด การคนพบใหมมากมายเชนเดียวกัน (NIH: Stem Cell Basics, 2008) 2. ประเภทของเซลลตนตอและความสําคัญ เซลลตนตอมีคุณลักษณะที่สําคัญอยูสองประการซึ่งทําใหเซลลตนตอแตกตางและสามารถจําแนก ออกไดจากเซลลทั่วไป ประการแรก เซลลตนตอนี้เปนเซลลที่ไมจําเพาะซึ่งสามารถสรางทดแทนตัวเองขึ้นมา ใหมไดในระยะเวลาอันยาวนานโดยกระบวนการแบงเซลลตัวเองขึ้นมาใหม ประการที่สองคือ เซลลตนตอ สามารถเปลี่ ย นแปลงไปเป น เซลล ช นิ ด จํ า เพาะที่ มี ห น า ที่ พิ เ ศษเฉพาะอย า งภายใต ส ภาวะที่ เ หมาะสม ตัวอยางเชนเซลลที่ทําหนาที่ควบคุมจังหวะการเตนของหัวใจ (Beating Cells) ซึ่งที่อยูที่กลามเนื้อหัวใจ หรือ เซลลที่ทําหนาที่ผลิตอินซูลิน (Insulin-Producing Cells) ซึ่งอยูที่ตับออน นักวิทยาศาสตร ได ให ความสนใจในเซลลตนตอจากสัต วและมนุ ษยอยูสองชนิดซึ่งไดแก เซลล ตนตอจากตัวออน (Embryonic Stem Cells) และเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลว (Adult Stem Cells) เซลลตนตอทั้งสองชนิดนี้มีหนาที่และคุณลักษณะที่แตกตางกัน เปนเวลามากกวา 20 ปแลวที่นักวิทยาศาสตรไดคนพบวิธีการในการสกัดแยกและเพาะเลี้ยงเซลล ตนตอจากตัวออนของหนู หลังจากนั้นเปนตนมานักวิทยาศาสตรไดมีการศึกษาคนควาเพิ่มเติมและไดมีการ คนพบใหมๆเกิดขึ้นมากมาย จนกระทั่งในป พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) นักวิทยาศาสตรไดประสบความสําเร็จ ในการสกัดแยกและเพาะเลี้ยงเซลลตนตอจากตัวออนมนุษยในหองทดลองเปนครั้งแรก และไดเรียกเซลลที่ สกัดแยกไดในครั้งนั้นวา เซลลตนตอจากตัวออนมนุษย (Human Embryonic Stem Cells) ตัวออน มนุษยที่นักวิทยาศาสตรไดนํามาใชในการทดลองครั้งนั้นเปนตัวออนที่เหลือหรือไมตองการจากตัวออนที่ถูก สรางขึ้นมาจากการปฏิสนธิเทียมในหลอดแกว (In Vitro Fertilization) เพื่อจุดประสงคในการแกปญหา ภาวะการมีบุตรยาก ตัวออนที่เหลือนี้เปนตัวออนที่ไดรับมาโดยการบริจาค และผูบริจาคไดแสดงความ ยินยอมในการใหตัวออนมาทําการทดลองดังกลาว เซลลตนตอมีความสําคัญกั บสิ่งมีชีวิ ตดว ยเหตุผลหลายประการ ในตั ว ออนที่มีอายุ 3-5 วัน ซึ่ง เรียกวาระยะบลาสโตซิสต (Blastocyst) นี้ เซลลตนตอในเนื้อเยื่อจะมีการเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิด -9-
  • 11. จําเพาะหลายชนิดซึ่งจะพัฒนาตอไปเปนหัวใจ ปอด ผิวหนัง และเนื้อเยื่อชนิดอื่นๆ ในเนื้อเยื่อที่ของสัตว เจริญเติบโตเต็มที่แลวบางชนิดเปนตนวา ไขกระดูก ผิวหนัง สมอง เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่ แลวจะสามารถสรางตัวเองขึ้นมาใหมเพื่อทดแทนเซลลท่ถูกทําลายไปจากภาวะการบาดเจ็บหรือเจ็บปวยจาก ี โรคตางๆได นักวิทยาศาสตรไดมีสมมุติฐานและมีความเห็นวาในอนาคตเซลลตนตอจะสามารถนํามาใชในการ รักษาโรคตางๆไดเชน โรคพารกินสัน (Parkinson’s Disease) โรคเบาหวาน และโรคหัวใจ ดังนั้นจึงมี งานวิจัยที่เกี่ยวของกับเซลลตนตอเกิดขึ้นมากมาย และนอกจากที่นักวิทยาศาสตรไดทําการทดลองศึกษาถึง ความเปนไปไดในการนําเซลลมารักษาโรคแลว นักวิทยาศาสตรยังไดทําการศึกษาวิจัยถึงความเปนไปไดใน การนําเซลลตนตอมาใชในการทดสอบและคัดเลือกยาชนิดใหม ซึ่งในการที่จะพัฒนาเซลลตนตอเพื่อการ รักษาโรคหรือการทดสอบยาชนิดใหมนั้น คุณลักษณะพื้นฐานสําคัญของเซลลตนตอที่นักวิทยาศาสตรตอง ทําความเขาใจและทําการศึกษาอยางละเอียดลึกซึ้งนั้นไดแก 1) กระบวนการที่เซลลตนตอสามารถคงสภาพเปนเซลลที่ไมจําเพาะและการสรางตัวเองทดแทน ขึ้นมาใหมไดในระยะเวลานาน 2) ปจจัยที่กระตุนและทําใหเซลลตนตอเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลจําเพาะชนิดตางๆ 3. คุณลักษณะพิเศษเฉพาะของเซลลตนตอ เซลลตนตอนั้นแตกตางจากเซลลชนิดอื่นๆในรางกาย โดยที่เซลลตนตอทุกชนิดมีความสามารถใน การแบงตัวและสรางทดแทนตัวเองขึ้นมาใหมในระยะเวลานาน นอกจากนี้เซลลตนตอยังมีคุณสมบัติเปน เซลลที่ไมจําเพาะซึ่งสามารถเปลี่ยนไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่นๆในรางกายได คุณลักษณะพิเศษเฉพาะ ของเซลลตนตอสรุปไดดังนี้ 3.1 เซลลตนตอเปนเซลลที่ไมจําเพาะ คุ ณลั ก ษณะพื้ น ฐานที่สํ า คัญ ของเซลลตน ตอคื อ เซลลต น ตอไม ไดมี โ ครงสรางหรื อ ลั ก ษณะเป น เนื้อเยื่อจําเพาะที่จะเอื้ออํานวยใหเซลลตนตอทําหนาที่เฉพาะเจาะจง เซลลตนตอไมสามารถทํางานรวมกับ เซลลขางเคียงเพื่อสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงรางกาย (เชน เซลลกลามเนื้อหัวใจ) เซลลตนตอไมสามารถลําเลียง ออกซิเจนไปเลี้ยงรางกายโดยผานกระแสโลหิตได (เชน เซลลเม็ดเลือดแดง) เซลลตนตอไมสามารถสง กระแสสัญญาณเคมีไฟฟาไปกระตุนเซลลอื่นใหควบคุมการเคลื่อนไหวของรางกาย (เชน เซลลประสาท) อยางไรก็ตามเซลลตนตอที่ไมจําเพาะนี้สามารถเปลี่ยนไปเปนเซลลจําเพาะเพื่อทําหนาที่เฉพาะได ดังเชน เซลลกลามเนื้อหัวใจ เซลลเม็ดเลือดแดง และเซลลประสาท 3.2 เซลลตนตอสามารถแบงตัวเพื่อสรางทดแทนตัวเองขึ้นมาใหมไดเปนระยะเวลานาน เซลลตนตอไมเหมือนเซลลจําเพาะตรงที่มีความสามารถในการแบงตัวเพื่อสรางตัวเองทดแทนขึ้นมา ใหมไดหลายครั้ง ซึ่งเรียกความสามารถในการสรางตัวเองขึ้นมาใหมของเซลลตนตอนี้วา การแพรขยาย - 10 -
  • 12. หรือการเพิ่มจํานวนเซลล (Proliferation) เซลลตนตอสามารถเพิ่มจํานวนจากเซลลเริ่มตนเพียงไมกี่เซลล ไปเปนหลายลานเซลลในระยะเวลาเพียงไมกี่เดือน ถาเซลลที่ถูกสรางจากการเพิ่มจํานวนของเซลลตนตอนี้ ยังมีลักษณะเปนเซลลที่ไมจําเพาะ เซลลที่ถูกสรางขึ้นมาใหมนี้ก็สามารถสรางทดแทนตัวเองขึ้นมาใหมได เชนกัน 3.3 เซลลตนตอสามารถเปลี่ยนไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่นได กระบวนการที่เซลลตนตอเปลี่ยนไปเปนเซลลชนิดจําเพาะนี้เรียกวา การเปลี่ยนแปลงและพัฒนา เซลลเพื่อไปทําหนาที่ตางๆ หรือ ดิฟเฟอเรนทิเอชัน (Differentiation) นักวิทยาศาสตรพยายามศึกษา ถึงปจจัยทั้งภายในและภายนอกในการทําใหเซลลมีการเปลี่ยนแปลง ปจจัยภายในที่ควบคุมใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงของเซลลคือ ยีนที่กระจายอยูตามสายดีเอ็นเอ ยีนนี้มีรหัสพันธุกรรมที่เปนทําหนาที่เปนกลไก ควบคุมการเปลี่ยนแปลงโครงสรางและการทําหนาที่ของเซลล ปจจัยภายนอกไดแก สารเคมีที่หลั่งมาจาก เซลลอื่นๆ เซลลที่อยูขางเคียง รวมทั้งโมเลกุลของสารประกอบในของเหลวที่อยูรอบลอมเซลล (เชน โมเลกุล ของธาตุอาหารในสารละลายที่ใชเพาะเลี้ยงเซลล) เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวโดยสวนใหญจะเปลี่ยนไปเปนเซลลชนิดจําเพาะตามชนิด ของเนื้ อ เยื่ อ เดิ ม ที่ นํ า มาสกั ด แยกเซลล ต น ตอนั้ น เซลล ต น ตอที่ ส กั ด แยกมาจากไขกระดู ก จะสามารถ เปลี่ยนไปเปนเซลลเม็ดเลือดชนิดตางๆ เชน เซลลเม็ดเลือดแดง เซลลเม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด อยางไร ก็ตามงานวิจัยในชวงระยะเวลาสองถึงสามปที่ผานมาไดทําใหเกิดการคนพบวา เซลลตนตอที่สกัดแยกมา จากเนื้อเยื่ อชนิ ดหนึ่ งนั้ นสามารถเปลี่ ย นไปเปน เซลลช นิดจําเพาะที่อยูใ นเนื้อเยื่ อชนิ ดอื่นได โดยเรี ยก ปรากฏการณนี้วา พลาสติซิตี้ (Plasticity) ตัวอยางเชน เซลลตนตอจากไขกระดูกเปลี่ยนไปเปนเซลล ประสาท หรือเซลลตับสามารถเปลี่ยนเปนเซลลที่ผลิตอินซูลินได 4. เซลลตนตอจากตัวออน (Embryonic Stem Cells) 4.1 อายุของตัวออนที่นํามาใชในการสกัดแยกเซลลตนตอ เซลลตนตอจากตัวออนไดรับมาจากตัวออนซึ่งมาจากไขที่ไดรับการปฏิสนธิเทียมในหลอดแกว (In Vitro Fertilization) และผูบริจาคไดใหความยินยอมในการนํามาใชทดลองเทานั้น เซลลตนตอจาก ตัวออนที่เกิดจากการปฏิสนธิโดยธรรมชาติในมดลูกจะไมถูกนํามาใช ตัวออนมนุษยที่จะนํามาใชเพื่อสกัด แยกเซลลตนตอนั้นจะมีอายุประมาณ 4-5 วัน และมีลักษณะเปนเซลลทรงกลมที่ภายในกลวง โดยเรียกตัว ออนที่อยูในระยะนี้วา บลาสโตซิสต (Blastocyst) บลาสโตซิสตจะประกอบดวยโครงสรางสามสวนไดแก โทรโฟบลาส (Trophoblast) เป น โครงสร า งชั้ น นอกสุ ด ที่ อ ยู ล อ มรอบบลาสโตซิ ส ต บลาสโตซี ล (Blastocoel) เปนโครงสร างชั้ นในของบลาสโตซิสต ซึ่งมีลักษณะเปนชองกลวง และ มวลเซลลชั้ นใน (Inner Cell Mass) เปนกลุมเซลลที่ประกอบดวยเซลลจํานวนประมาณ 30 เซลล ซึ่งจะอยูที่ปลายดานหนึ่ง ของ บลาสโตซีล (ดังแสดงในรูปที่ 1) - 11 -
  • 13. รูปที่ 1 โครงสรางของบลาสโตซิสต (ที่มา: KU, 2009) 4.2 การเพาะเลี้ยงเซลลตนตอจากตัวออนในหองทดลอง การเพาะเลี้ยงเซลลในหองทดลอง (Cell Culture) ของเซลลตนตอจะเริ่มจากการสกัดแยกมวล เซลลชั้นในและนํามาใสในจานเพาะเลี้ยงเซลลที่ใสอาหารเลี้ยงเซลล (Culture Medium) ไวแลว (ดังแสดง ในรูปที่ 2) จากนั้นเซลลจะเริ่มแบงตัวและกระจายอยูที่ผิวหนาของจานเพาะเลี้ยงเซลล ดานในของจาน เพาะเลี้ยงเซลลนี้จะถูกเคลือบดวยเซลลตนตอจากผิวหนังของหนูซึ่งไดผานกระบวนการทําปฏิกิริยากับ สารเคมีเพื่อปองกันไมใหเซลลเกิดการแบงตัวอีก ชั้นของเซลลที่นํามาเคลือบไวดานในของจานเพาะเลี้ยง เซลลนี้เรียกวา ชั้นใหอาหาร (Feeder Layer) จุดประสงคของการเคลือบดานในของจานเพาะเลี้ยงเซลลคอ ื ตองการใหผิวดานในของจานเพาะเลี้ยงเซลลมีลักษณะที่เหนียว เพื่อใหมวลเซลลชั้นในสามารถมาเกาะติดที่ ผิวของจานเพาะเลี้ยงเซลลได นอกจากนี้ชั้นใหอาหารจะปลอยสารอาหารหรือแรธาตุที่จําเปนเขาสูอาหาร เลี้ยงเซลลเพื่อใหเซลลตนตอที่นํามาเพาะเลี้ยงเกิดการแบงตัวและเพิ่มจํานวนไดอยางสมบูรณ ปจจุบัน นักวิทยาศาสตรไดพยายามทดลองหาวิธีการเพาะเลี้ยงเซลลเซลลตนตอโดยไมตองมีชั้นใหอาหารที่มาจาก เซลลตนตอของหนู เนื่องจากมีความเสี่ยงที่ไวรัสหรือโมเลกุลบางชนิดในเซลลของหนูอาจแพรผานเขาไปใน เซลลของมนุษยได - 12 -
  • 14. รูปที่ 2 การสกัดแยกเซลลตนตอจากมวลเซลลชั้นในเพื่อนํามาเพาะเลี้ยงในหองทดลอง (ที่มา: KU, 2009) หลังจากที่เพาะเลี้ยงมวลเซลลชั้นในไวหลายวัน เซลลของมวลเซลลชั้นในจะเพิ่มจํานวนจนกระทั่ง เต็มจานเพาะเลี้ยงเซลล นักวิทยาศาสตรจะแยกเซลลนี้ออกมาจากจานเพาะเลี้ยงเซลลเดิมเพื่อเปลี่ยนถายใส ลงในจานเพาะเลี้ยงเซลลใหม (Subculturing) และจะถูกทําอยางตอเนื่องเปนเวลาหลายเดือน กระบวนการ ยา ยเซลล จ ากจานเพาะเลี้ ย งเซลล เ ดิ ม เพื่ อ ไปใส ใ นจานเพาะเลี้ ย งเซลล ใ หม ใ นแต ล ะครั้ ง จะถู ก เรี ย กว า พาสเสจ (Passage) หลังจากผานไปประมาณ 6 เดือน เซลลตนตอจากมวลเซลลชั้นในที่เริ่มตนจาก 30 เซลล จะเพิ่มจํานวนเปนหลายลานเซลลโดยที่ยังไมเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่นๆ กลุมเซลล ตนตอจากตัวออน (Embryonic Stem Cell Line) นี้จะถูกแยกออกเปนกลุมเล็กๆเพื่อนําไปแชแข็งเตรียม ไวสําหรับการทดลองตอไปหรือสงไปยังหองทดลองอื่นๆ 4.3 การตรวจสอบในหองทดลองเพื่อพิสูจนและจําแนกเซลลตนตอจากตัวออน ในชวงระหวางการเพาะเลี้ ยงเซลลต นตอจากตัว ออนในหองทดลอง นักวิท ยาศาสตรจะทําการ ตรวจสอบว า เซลล ที่ เ พาะเลี้ ย งได นั้ น มี คุ ณ สมบั ติ พื้ น ฐานที่ เ หมื อ นกั บ เซลล ต น ตอจากตั ว อ อ น ซึ่ ง เรี ย ก กระบวนการตรวจสอบนี้วาคาแรกเตอไรเซชั่น (Characterization) อยางไรก็ตามนักวิทยาศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับเซลลตนตอจากตัวออนยังไมสามารถตกลงหาขอสรุป ถึงวิธีการที่เปนมาตรฐานในการตรวจสอบคุณสมบัติของเซลลตนตอได นักวิทยาศาสตรตางใหความเห็นวา วิธีการที่ใชตรวจสอบในปจจุบันยังไมไดเปนวิธีที่ดีที่สุดในการตรวจสอบคุณสมบัติทางชีววิทยาและหนาที่ - 13 -
  • 15. ของเซลล ต น ตอจากตั ว อ อ น ดั ง นั้ น เพื่ อ ให ก ารตรวจสอบได ผ ลลั พ ธ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากที่ สุ ด นักวิทยาศาสตรจึงใชวิธีตรวจสอบหลายวิธีหลายอยางรวมกัน ซึ่งวิธีการตรวจสอบที่ถูกใชไดแก 1) เพาะเลี้ยงเซลลและแยกเซลลเพื่อเปลี่ยนถายใสลงในจานเพาะเลี้ยงเซลลใหมเปนระยะเวลาหลาย เดือน เพื่อตรวจสอบวาเซลลที่เพาะเลี้ยงไดนี้มีความสามารถในการสรางตัวเองขึ้นมาใหมไดใน ระยะเวลานาน และตรวจสอบวาเซลลนี้ยังมีลักษณะเปนเซลลที่ไมจําเพาะอยู 2) ใชเทคนิคพิเศษในการตรวจสอบการแสดงเครื่องหมายบนผิวเซลล (Surface Markers) ที่ สามารถพบไดบนเซลลที่ไมจําเพาะเทานั้น การตรวจสอบที่สําคัญอีกวิธีคือการตรวจสอบการมีอยู ของโปรตีนที่มีชื่อวา Octamer-4 (Oct-4) ซึ่งเปนโปรตีนที่ถูกสรางจากเซลลที่ไมจําเพาะและเปน ปจจัยที่ควบคุมการเพิ่มจํานวนและพัฒนาการของเซลล (Transcription Factor) 3) ตรวจสอบโครโมโซมผ า นกล อ งจุ ล ทรรศน เ พื่ อ ดู ว า โครโมโซมมี ก ารถู ก ทํ า ลายหรื อ จํ า นวน โครโมโซมมีการเปลี่ยนแปลง แตการตรวจสอบโดยวิธีนี้ไมสามารถบงชี้วาเซลลนั้นมีการกลายพันธุ (Genetic Mutations) หรือไม 4) ตรวจสอบวาเซลลสามารถนํามาถายใสลงในจานเพาะเลี้ยงเซลลใหมหลังจากที่ถูกแชแข็งและ ผานการทําการละลายแลว 5) ตรวจสอบวาเซลลตนตอจากตัวออนมนุษยมีคุณสมบัติในการเปลี่ยนไปเปนเซลลจําเพาะชนิด อื่นๆไดเกือบทุกชนิด ซึ่งเรียกคุณสมบัติเชนนี้วา พลูริโพเทนท (Pluripotent) การตรวจสอบเชนนี้ สามารถทําไดโดยวิธีตางๆดังนี้ 5.1) ปลอยใหเซลลมีการเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดอื่นตามธรรมชาติโดยไมตองควบคุม 5.2) ควบคุมเซลลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลจําเพาะชนิดที่ตองการ 5.3) ฉีดเซลลเขาไปในหนูทดลองที่ถูกยับยั้งภูมิคุมกันไวแลว เพื่อตรวจสอบการเกิดเนื้องอก ชนิดไมรายแรง (Benign Tumor) ที่เรียกวา เทอราโทมา (Teratoma) เทอราโทมานี้จะ ประกอบดวยกลุมเซลลชนิดจําเพาะทั้งหมดหรือบางสวน ซึ่งจะสามารถใชเปนเครื่องบงชี้วา เซลลตนตอนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดจําเพาะอื่นๆได 4.4 กระบวนการเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่นๆของเซลลตนตอจากตัวออน เมื่อเพาะเลี้ยงเซลลตนตอจากตัวออนไวในจานเลี้ยงเซลลและควบคุมปจจัยตางๆไว เซลลตนตอจาก ตัวออนจะคงสภาพเปนเซลลที่ไมจําเพาะ แตเมื่อเซลลนั้นมาจับตัวรวมกันเปนกลุมที่เรียกวา เอ็มบริออย บอดีส (Embryoid Bodies) เซลลจะเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่นเชน เซลลกลามเนื้อ และ เซลลประสาท (ดังแสดงในรูปที่ 3) - 14 -
  • 16. รูปที่ 3 การเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากตัวออนไปเปนเซลลจาเพาะชนิดอื่นๆ ํ (ที่มา: Kochar, 2004) นักวิทยาศาสตรไดพยายามควบคุมการเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดอื่นๆที่ตองการโดยวิธีตางๆ เช น การเปลี่ ย นองค ป ระกอบทางเคมี ใ นอาหารเลี้ ย งเซลล การเปลี่ย นชั้น ให อ าหารที่ เ คลื อ บไว ใ นจาน เพาะเลี้ยงเซลล การดัดแปลงเซลลโดยใสยีนพิเศษบางชนิด จากการวิจัยหลายปที่ผานมา นักวิทยาศาสตร ไดป ระสบความสําเร็ จในการคน พบวิ ธี ก ารเพื่อ ควบคุมการเปลี่ย นแปลงโดยตรงหรื อเรียกวา ไดเรคท ดิฟเฟอเรนทิเอชัน (Directed Differentiation) ของเซลลตนตอจากตัวออนไปเปนเซลลจําเพาะชนิดอื่น บางชนิด (ดังแสดงในรูปที่ 4) ซึ่งถานักวิทยาศาสตรสามารถควบคุมการเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากตัว - 15 -
  • 17. ออนไปเปนเซลลชนิดอื่นไดโดยสมบูรณแลว ในอนาคตโรคบางชนิดเชน โรคพารกินสัน โรคเบาหวาน และ โรคหัวใจ ก็จะสามารถรักษาใหหายไดโดยการปลูกถายเซลลจําเพาะชนิดที่จําเปนในการรักษาใหกับผูปวย รูปที่ 4 ไดเรคท ดิฟเฟอเรนทิเอชัน (Directed Differentiation) (ที่มา: NIH: Stem Cell Basics, 2008) - 16 -
  • 18. 5. เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลว (Adult Stem Cells) เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวเปนเซลลที่ไมจําเพาะซึ่งพบไดทามกลางเซลลชนิดจําเพาะ ในเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่สามารถสรางทดแทนตัวเองขึ้นมาใหมไดและ สามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดจําเพาะไดบางชนิด หนาที่หลักของเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัย เต็มที่แลวในสิ่งมีชีวิตคือรักษาและซอมแซมเนื้อเยื่อในสวนที่พบเซลลตนตอนั้น นักวิทยาศาสตรบางคนได เรียกเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลววาเซลลตนตอจากรางกาย (Somatic Stem Cell) และยัง ไมมีใครคนพบจุดกําเนิดของในเนื้อเยื่อของเซลลตนตอประเภทนี้ ปจจุบันนักวิทยาศาสตรคนพบเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวในเนื้อเยื่อประเภทตางๆ มากขึ้น การคนพบนี้ไดสรางความหวังใหกับนักวิทยาศาสตรถึงความเปนไปไดในการนําเซลลตนตอจาก เซลลที่เจริญวัยเต็มที่มาปลูกถายใหกับผูปวย ในความเปนจริงแลวเซลลตนตอที่ทําหนาที่สรางเลือดจากไข กระดู ก ได ถู ก ใช ป ลู ก ถ า ยมากกว า 30 ป แ ล ว เซลล ต น ตอจากเซลล ที่ เ จริ ญ วั ย เต็ ม ที่ แ ล ว บางชนิ ด มี ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลอื่นๆไดหลายชนิดภายใตสภาวะที่เหมาะสม เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวนั้นไดถูกคนพบเปนครั้งแรกเมื่อ 40 ปที่แลว ในป พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) นักวิจัยไดคนพบวาไขกระดูกประกอบดวยเซลลตนตอสองชนิด กลุมแรกเรียกวาเซลล ตนตอเม็ดโลหิต (Hematopoietic Stem Cells) ซึ่งทําหนาที่สรางเซลลเม็ดเลือดทุกชนิดในรางกาย กลุม ที่สองเรียกวาเซลลจากไขกระดูกในชั้นสตอรมาล (Bone Marrow Stromal Cells) ซึ่งถูกคนพบ หลังจากเซลลกลุมแรกประมาณ 2-3 ป และเซลลกลุมนี้จะทําหนาที่สรางกระดูก กระดูกออน ไขมัน และ เนื้อเยื่อเสนใย (Fibrous Connective Tissue) 5.1 แหลงที่มาและหนาที่ของเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลว เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวนี้สามารถพบไดในอวัยวะและเนื้อเยื่อหลายชนิด จุดสําคัญ ที่ควรทําความเขาใจเกี่ยวกับเซลลตนตอประเภทนี้คือ ในเนื้อเยื่อแตละชนิดจะมีเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญ วัยเต็มที่แลวจํ านวนนอยมาก เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวจะสามารถพบไดในบริเวณแค บางสวนของเนื้อเยื่อและจะคงสภาพเปนเซลลที่ยังไมมีการแบงตัวเปนระยะเวลาหลายปจนกระทั่งไดรับการ กระตุนโดยโรคหรือการบาดเจ็บที่สงผลตอเนื้อเยื่อสวนนั้น เนื้อเยื่อที่มีการรายงานการคนพบเซลลตนตอจาก เซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวไดแก สมอง ไขกระดูก กระแสเลือด (Peripheral Blood) หลอดเลือด กลามเนื้อ โครงราง (Skeletal Muscle) ผิวหนัง และตับ นักวิทยาศาสตรไดพยายามหาวิธีเพาะเลี้ยงและควบคุมการเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากเซลลที่ เจริญวัยเต็มที่แลวในหองทดลองไปเปนเซลลจําเพาะชนิดตางๆที่ตองการเพื่อใชในการรักษาโรคหรืออาการ บาดเจ็ บ ตั ว อย า งของการรั ก ษาโดยใช เ ซลล ต น ตอชนิ ด นี้ ไ ด แ ก การปลู ก ถ า ยเซลล ที่ ผ ลิ ต โดปามี น (Dopamine-Producing Cells) ลงในสมองของผูปวยที่เปนโรคพารกินสัน การปลูกถายเซลลที่ผลิตอินซูลิน (Insulin-Producing Cells) ใหกับผูปวยดวยโรคเบาหวานชนิดที่ 1 (Type I Diabetes) และการซอมแซม - 17 -
  • 19. กลามเนื้อหัวใจในผูปวยที่มีโอกาสเกิดอาการกลามเนื้อหัวใจวาย (Heart Attack) ดวยเซลลกลามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle Cells) 5.2 การตรวจสอบในหองทดลองเพื่อพิสูจนและจําแนกเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวั ย เต็มที่แลว นักวิทยาศาสตรยังไมสามารถตกลงหาขอสรุปถึงเกณฑมาตรฐานในการพิสูจนและจําแนกเซลล ต น ตอจากเซลล ที่ เ จริ ญ วั ย เต็ ม ที่ แ ล ว อย า งไรก็ ต ามนั ก วิ ท ยาศาสตร ส ว นใหญ จ ะเลื อ กแนวทางในการ ตรวจสอบตามวิธีหนึ่งหรือมากกวาจากสามวิธีดังตอไปนี้ 1) ทําเครื่องหมายกับเซลลตนตอที่อยูที่เนื้อเยื่อโดยใชเครื่องหมายโมเลกุล (Molecular Marker) แลวติดตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นวาเซลลตนตอเปลี่ยนไปเปนเซลลจําเพาะชนิดใด 2) สกัดแยกเซลลตนตอจากสิ่งมีชีวิตเพื่อนํามาเพาะเลี้ยงในหองทดลอง จากนั้นปลูกถายกลุมเซลล นั้นใหกับสิ่งมีชีวิตตัวใหม เพื่อตรวจสอบวากลุมเซลลนั้นสามารถกลับมารวมตัวกันที่เนื้อเยื่อตน กําเนิดชนิดเดิม 3) สกัดแยกเซลลตนตอจากสิ่งมีชีวิตแลวนํามาเพาะเลี้ยงในหองทดลอง ใสปจจัยที่ควบคุมการ เจริญเติบโตตาง ๆ (Growth Factors) หรือใสยีนชนิดใหมเพื่อควบคุมการเปลี่ยนแปลงของเซลล เพื่อตรวจสอบดูชนิดของเซลลที่เปลี่ยนแปลงไป เซลล ตน ตอจากเซลลที่เจริญวั ย เต็มที่ แลว หนึ่งเซลล จะสามารถสรางกลุ มเซลลที่มีลัก ษณะทาง พันธุกรรมเหมือนกับเซลลตนกําเนิดได และเรียกกลุมเซลลนี้วา โคลน (Clone) กลุมเซลลนี้จะสามารถ เปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดจําเพาะที่เหมาะสมของเนื้อเยื่อได โดยเมื่อเร็วๆนี้นักวิทยาศาสตรไดประสบ ความสําเร็จในการใสไวรัสบางชนิดเขาไปในโคลนจากเซลลตนตอเพื่อควบคุมใหเซลลสรางตัวเองขึ้นมาใหม และไปซอมแซมเนื้อเยื่อที่บาดเจ็บ 5.3 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวเพื่อไปทํา หนาที่ตางๆ เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวจากเนื้อเยื่อหลายๆชนิดสามารถพัฒนาไปสูกระบวนการ การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาไปเปนเซลลชนิดที่จําเพาะสําหรับเนื้อเยื่อชนิดนั้นๆเพื่อทําหนาที่โดยวิธีปกติ ได (Normal Differentiation) อยางไรก็ตามเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวจากเนื้อเยื่อชนิดหนึ่งก็ สามารถเปลี่ยนไปเปนเซลลชนิดจําเพาะของเนื้อเยื่อชนิดอื่นได ซึ่งเรียกความสามารถนี้วา ทรานสดิฟเฟอ- เรนทิเอชัน (Transdifferentiation) หรือ พลาสติซิตี้ (Plasticity) 1) การเปลี่ยนแปลงเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวไปเปนเซลลจําเพาะโดยกระบวนการ ปกติ (Normal Differentiation) เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวในสิ่งมีชีวิตสามารถแบงตัว - 18 -
  • 20. ไดเปนระยะเวลานานและเปลี่ยนไปเปนเซลลที่มีโครงสราง รูปราง คุณลักษณะ และหนาที่จําเพาะ ตามชนิดของเนื้อเยื่อที่เปนตนกําเนิดของเซลลตนตอนั้น (ดังแสดงในรูปที่ 5) ตัวอยางเชน รูปที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวไปเปนเซลลจําเพาะ โดยกระบวนการปกติ (Normal Differentiation) (ที่มา: NIH: Stem Cell Basics, 2008) 1.1) เซลลตนตอเม็ดโลหิต (Hematopoietic Stem Cells) เปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลเม็ด เลือดไดทุกชนิดซึ่งไดแก • เซลลเม็ดเลือดแดง บีลิมโฟไซต (B Lymphocytes) • ทีลิมโฟไซต (T Lymphocytes) • เซลลเพชฌฆาต (Natural Killer Cells) • นิวโทรฟล (Neutrophils) • บาโซฟล (Basophils) • อีโอสิโนฟล (Eosinophils) • โมโนไซต (Monocytes) • มาโครฟาจ (Macrophages) • เกล็ดเลือด (Platelets) - 19 -
  • 21. 1.2) เซลลจากไขกระดูกในชั้นสตอรมาล (Bone Marrow Stromal Cells) หรือเซลลตนตอ ชนิดมีเซ็นไคมอล (Mesenchymal Stem Cells) สามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิด ตางๆไดแก • เซลลกระดูกหรือออสติโอไซต (Osteocytes) • เซลลกระดูกออนหรือคอนโดรไซต (Chondrocytes) • เซลลไขมันหรือเซลลอะดิโปไซต (Adipocytes) • เซลลเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective Tissue Cells) ชนิดตางๆ เชน เซลลที่อยู ที่เสนเอ็น (Tendons) 1.3) เซลลตนตอประสาท (Neural Stem Cells) ในสมองสามารถเปลี่ยนไปเปนเซลลชนิด จําเพาะไดสามชนิดไดแก • เซลลประสาทหรือนิวรอน (Neurons) • เซลลชนิด Non-Neuronal อีกสองชนิด ซึ่งไดแก แอสโทรไซต (Astrocytes) และโอลิโกเดนโดรไซต (Oligodendrocytes) 1.4) เซลลตนตอชั้นอีพิทีเลียล (Epithelial Stem Cells) ซึ่งอยูในโครงสรางเยื้อบุชั้นในของ ระบบทางเดินอาหาร สามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลชนิดจําเพาะไดหลายชนิดเชน • เซลลดูดซึม (Absorptive Cells) • เซลลกอบเลท (Goblet Cells) • พาเนทเซลล (Paneth Cells) • เซลลชนิดเอ็นเตอโรเอ็นโดครีน (Enteroendocrine Cells) 1.5) เซลลตนตอจากผิวหนังในชั้นอีพิเดอมิส (Epidermis) และที่ชั้นลางสุดของรูขุมขน (Hair Follicles) เซลลตนตอจากผิวหนังในชั้นอีพิเดอมิสสามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนเคราติ- โนไซต (Keratinocytes) ซึ่งจะยายไปอยูที่ผิวชั้นบนสุดของผิวหนังเพื่อทําหนาที่เปนชั้น ปกปอง สวนเซลลตนตอจากรูขุมขนจะสามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนรูขุมขนและอีพิเดอมิส 2) การเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มที่แลวจากเนื้อเยื่อชนิดหนึ่งไปเปนเซลล ชนิดจําเพาะของเนื้อเยื่อชนิดอื่น (Plasticity and Transdifferentiation) เซลลตนตอจากเซลลที่เจริญ วัยเต็มที่แลวบางชนิดเปนพลูริโพเทนท (Pluripotent) นั่นคือมีคุณสมบัติในการเปลี่ยนไปเปนเซลล จํ า เพาะชนิ ด อื่ น ๆได ห ลายชนิ ด ซึ่ ง เรี ย กคุ ณ สมบั ติ เ ช น นี้ ว า พลาสติ ซิ ตี้ (Plasticity) หรื อ ทรานสดิฟเฟอเรนทิเอชัน (Transdifferentiation) (ดังแสดงในรูปที่ 6) - 20 -
  • 22. รูปที่ 6 การเปลี่ยนแปลงของเซลลตนตอจากเซลลที่เจริญวัยเต็มทีแลวจากเนื้อเยื่อชนิดหนึ่งไปเปนเซลล ่ ชนิดจําเพาะของเนื้อเยื่อชนิดอื่น (Plasticity and Transdifferentiation) (ที่มา: NIH: Stem Cell Basics, 2008) ตัวอยางจากงานวิจัยที่ผานมาเชน 2.1) เซลลตนตอเม็ดโลหิต (Hematopoietic Stem Cells) เปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลประสาท ไดทั้งสามชนิด (นิวรอน แอสโทรไซต และโอลิโกเดนโดรไซต) หรือเปลี่ยนแปลงไปเปน เซลลกลามเนื้อโครงราง เซลลกลามเนื้อหัวใจ หรือเซลลตับ 2.2) เซลลจากไขกระดูกในชั้นสตอรมาล (Bone Marrow Stromal Cells) สามารถเปลี่ยน แปลงไปเปนเซลลกลามเนื้อหัวใจ หรือเซลลกลามเนื้อโครงราง 2.3) เซลลตนตอจากสมองสามารถเปลี่ยนแปลงไปเปนเซลลเม็ดเลือด หรือเซลลกลามเนื้อ โครงราง - 21 -