SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
1. กำหนดปัญหำและวิเครำะห์ปัญหำ ประกอบด้วยขั้นตอนต่ำงๆ ดังนี้
1.กำหนดวัตถุประสงค์ของงำน เพื่อพิจารณาว่าโปรแกรมต้องทาการ
ประมวลผลอะไรบ้าง
2. พิจำรณำข้อมูลนำเข้ำ เพื่อให้ทราบว่าจะต้องนาข้อมูลอะไรเข้า
คอมพิวเตอร์ ข้อมูลมีคุณสมบัติเป็นอย่างไร ตลอดจนถึงลักษณะและรูปแบบของ
ข้อมูลที่จะนาเข้า
3. พิจำรณำกำรประมวลผล เพื่อให้ทราบว่าโปรแกรมมีขั้นตอนการ
ประมวลผลอย่างไรและมีเงื่อนไปการประมวลผลอะไรบ้าง
4. พิจำรณำข้อสนเทศนำออก เพื่อให้ทราบว่ามีข้อสนเทศอะไรที่จะแสดง
ตลอดจนรูปแบบและสื่อที่จะใช้ในการแสดงผล
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
2. ซูโดโค้ตและกำรเขียนผังงงำน
ก่อนที่จะลงมือเขียนโปรแกรม ต้องออกแบบขั้นตอนการทางาน หรือ
อัลกอริทึม (Algorithm) ก่อน ซึ่งเป็นเครื่องมือในการแสดงขั้นตอนการทางานของ
ระบบงานใด ๆ เพื่อให้การเขียนโปรแกรมเป็นไปได้อย่างรวดเร็วและง่ายขึ้น โดยเราจะ
เขียนอัลกอริทึมในลักษณะรหัสลาลองที่เรียกว่า ซูโดโค้ด (Pseudocode) หรือผังงาน
(Flowchart) ก็ได้
2.1 ซูโดโค้ด (Pseudocode)
เป็นคาอธิบายขั้นตอนการทางานของโปรแกรม โดยใช้ถ้อยคาผสมระหว่าง
ภาษาอังกฤษและภาษาการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง จะช่วยให้ผู้เขียนโปรแกรม
สำมำรถพัฒนำขั้นตอนต่ำง ๆ ให้เป็นโปรแกรมได้ง่ำยขึ้น ส่วนใหญ่มักใช้คาเฉพาะ
(Reserve Word) ที่มีในภาษาการเขียนโปรแกรมและมักเขียนด้วยตัวอักษรตัวใหญ่ ซู
โดโค้ดที่ดี จะต้องมีความชัดเจน สั้น และได้ใจความ ข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้จะถูกเขียนอยู่
ในรูปของตัวแปร
รูปแบบ
Algorithm <ชื่อของอัลกอริทึม>
1……………………………….
2……………………………….
…………………………………
END
ตัวอย่ำง การออกแบบโปรแกรมโดยใช้อัลกอริธึม
เริ่มต้นทางาน
รับค่า คะแนนสอบ (Score)
ถ้าคะแนนสอบตั้งแต่ 50 คะแนนขึ้นไป ให้Grade=‘Pass’
ถ้าน้อยกว่า 50 คะแนน ให้ทานิพจน์ Grade=‘Fail’
แสดงผล เกรด (Grade)
จบการทางาน
ตัวอย่ำง การออกแบบโปรแกรมโดยใช้รหัสจาลอง
Begin
Read Score
IF Score >= 50
THEN Grade = ‘Pass’
ELSE Grade = ‘Fail’
END IF
Write Grade
End
ตัวอย่ำง การออกแบบโปรแกรมโดยใช้ผังงาน
ตารางแสดงสัญลักษณ์และความหมายของผังงาน
3. เขียนโปรแกรม (Programming)
การเขียนโปรแกรมจะต้องเขียนตามภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจโดยอาจใช้ภาษา
ระดับสูงหรือระดับต่าซึ่งสามารถเลือกได้หลายภาษาการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา
จะต้องทาตามหลักไวยากรณ์ (Syntax) ที่กาหนดไว้ในภาษานั้น นอกจากนี้ การเลือกใช้
ภาษาจะต้องพิจารณาถึงความถนัดของผู้เขียนโปรแกรมด้วย
4. กำรทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Program Testing and Debugging)
หลังจากเขียนโปรแกรมแล้วจาเป็นต้องทดสอบโปรแกรมเพื่อหาจุดผิดพลาดของ
โปรแกรมว่ามีหรือไม่ และตรวจสอบจนไม่พบที่ผิดอีก จุดผิดพลาดของโปรแกรมนี้
เรียกว่า บัก (Bug) ส่วนการแก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้อง เรียกว่า ดีบัก (Debug) โดยทั่วไป
แล้วข้อผิดพลาดจากการเขียนโปรแกรมมี 2 ประเภท คือ
4.1 การเขียนคาสั่งไม่ถูกต้องตามหลักการเขียนโปรแกรมภาษานั้นๆ ซึ่งเรียกว่า
Syntax Error หรือ Coding Error ข้อผิดพลาดประเภทนี้เรามักพบตอนแปลภาษา
โปรแกรมเป็นรหัสภาษาเครื่อง
4.2 ข้อผิดพลาดทางตรรกะ หรือ Logic Error เป็นข้อผิดพลาดที่โปรแกรมทางานได้
แต่ผลลัพธ์ออกมาไม่ถูกต้อง
5. ทำเอกสำรและบำรุงรักษำโปรแกรม
ขั้นตอนนี้ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
สะดวกในการตรวจสอบข้อผิดพลาดโดยเขียนเป็นเอกสารประกอบโปรแกรมขึ้นมา
โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
5.1 คู่มือการใช้ ซึ่งจะอธิบายการใช้โปรแกรม
5.2 คู่มือโปรแกรมเมอร์ ซึ่งจะอานวยความสะดวกในการแก้ไขโปรแกรม
และพัฒนาโปรแกรมในอนาคต โดยจะมีรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับโปรแกรม เช่น ชื่อ
โปรแกรม การรับข้อมูล การพิมพ์ผลลัพธ์ขั้นตอนต่างๆ ในโปรแกรมเป็นต้น
ส่วนกำรบำรุงรักษำโปรแกรม (Maintenance) เป็นการที่ผู้เขียนโปรแกรม
จะต้องคอยตรวจสอบการใช้โปรแกรมจริงเพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดซึ่งอาจเกิดขึ้นใน
ภายหลัง รวมทั้งพัฒนาโปรแกรมให้ทันสมัยอยู่เสมอ
ภาษาซี
ภาษาซีเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ที่ใช้สาหรับเขียนโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ
เช่นเดียวกับ ภาษาปาสคาล ภาษาเบสิก และภาษาฟอร์แทรน เป็นต้น นอกจากนี้ภาษาซียังใช้
สาหรับเขียนโปรแกรมระบบและโปรแกรมสาหรับควบคุมฮาร์ดแวร์บางส่วนที่ภาษาโปรแกรม
ระดับสูงหลายภาษาไม่สามารถทาได้ ภาษาซีจึงจัดเป็นภาษาระดับกลางด้วย
ภาษาซี
กำเนิดภำษำซี
ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง( High-Level-Language) และภาษาโปรแกรมที่
นักเขียนโปรแกรมหรือที่เรียกว่าโปรแกรมเมอร์ นิยมใช้กันมาก เนื่องจากเป็นภาษาที่มี
ความเร็วในการทางานสูงใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง มีโครงสร้างที่ชัดเจน เข้าใจง่าย
สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับฮาร์ดแวร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างดี
ภาษาซีเกิดขึ้นในปี ค.ศ.1972 ผู้คิดค้นคือนายเดนนีส ริทชี (Dennis Ritchi) การศึกษา
ภาษาซีถือว่าเป็นพื้นฐานในการศึกษาภาษาใหม่ ๆ ได้
นายเดนนีส ริทชี (Dennis Ritchi) ผู้คิดค้นภาษาซี
โครงสร้ำงของโปรแกรมภำษำซี
การเขียนโปแกรมภาษาซี จะมีรูปแบบโครงสร้างของภาษาแน่นอน จาก
โปรแกรมอย่างง่ายของภาษาซีทางขวามือ ต่อไปนี้ จะเห็นว่า การเขียนโปรแกรม
ภาษาซี จะมีโครงสร้าง 2 ส่วนคือ
1. ส่วนหัว (Head) เป็นส่วนหัวของโปรแกรมทุกโปรแกรม ส่วนนี้จะต้องอยู่
บนสุดของโปรแกรมเสมอ บางที่เรียกส่วนนี้ว่า Preprocessor ใช้เพื่อระบุชื่อ header file
เพื่อควบคุมการทางานของ ฟังก์ชันมาตรฐาน ที่ถูกเรียกใช้งานในส่วนของ main
function
2. ส่วนฟังก์ชันหลัก ( main Function) เป็นส่วนเขียนคาสั่งควบคุมการทางานโดยจะ
เขียนอยู่ภายในเครื่องหมาย { } ในการเขียนโปรแกรมภาษาซี จะต้องมีฟังก์ชันอย่าง
น้อย 1 ฟังก์ชัน ชื่อ main() โดยทั่วไปผู้เขียนสามารถตั้งชื่อฟังก์ชันได้เอง แต่สาหรับ
ฟังก์ชัน main() จะเป็นฟังก์ชันบังคับของโปรแกรม เพื่อใช้เป็น จุดเริ่มต้นการ
ประมวลผลโปรแกรม และเป็นจุดเริ่มต้นในการเรียกใช้ฟังก์ชันอื่น สรุปว่า ทุกโปรแกรม
จะต้องมีฟังก์ชัน main()
ชนิดของตัวแปร
ขนำด
(bits)
ขอบเขต ข้อมูลที่เก็บ
char 8 -128 ถึง 127 ข้อมูลชนิดอักขระ ใช้เนื้อที่ 1 byte
unsigned char 8 0 ถึง 255 ข้อมูลชนิดอักขระ ไม่คิดเครื่องหมาย
int 16 -32,768 ถึง 32,767 ข้อมูลชนิดจานวนเต็ม ใช้เนื้อที่ 2 byte
unsigned int 16 0 ถึง 65,535 ข้อมูลชนิดจานวนเต็ม ไม่คิดเครื่องหมาย
short 8 -128 ถึง 127 ข้อมูลชนิดจานวนเต็มแบบสั้น ใช้เนื้อที่ 1 byte
unsigned short 8 0 ถึง 255 ข้อมูลชนิดจานวนเต็มแบบสั้น ไม่คิดเครื่องหมาย
long 32 -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,649 ข้อมูลชนิดจานวนเต็มแบบยาว ใช้เนื้อที่ 4 byte
unsigned long 32 0 ถึง 4,294,967,296 ข้อมูลชนิดจานวนเต็มแบบยาว ไม่คิดเครื่องหมาย
float 32 3.4*10e(-38) ถึง 3.4*10e(38) ข้อมูลชนิดเลขทศนิยม ใช้เนื้อที่ 4 byte
double 64 3.4*10e(-308) ถึง 3.4*10e(308) ข้อมูลชนิดเลขทศนิยม ใช้เนื้อที่ 8 byte
long double 128 3.4*10e(-4032) ถึง 1.1*10e(4032) ข้อมูลชนิดเลขทศนิยม ใช้เนื้อที่ 16 byte
ชนิดของตัวแปรในภาษาซี
อักขระ Escape sequence
Escape Sequence คือรหัสพิเศษที่แทรกลงไปในค่าคงที่สตริง เพื่อใช้ควบคุมการ
แสดงผลของตัวอักษรในลักษณะต่างๆ โดยการเขียนจะต้องมีเครื่องหมาย  (Back-Slash)
นาหน้า รหัสควบคุมการแสดงผลดูได้จากตารางต่อไปนี้
รหัสรูปแบบ Format code
เป็นรหัสที่ใช้ควบคุมการรับ และ แสดงผลข้อมูล ในภาษาซี ซึ่งมักจะใช้ร่วมกับ
ฟังก์ชัน printf และ scanf เพื่อบอกว่าข้อมูลที่แสดง หรือรับเข้ามานั้นเป็นชนิดอะไร ดัง
ตาราง
ตัวอย่าง
printf("Enterradius: "); // แสดง
ข้อความว่า Enter number :
scanf("%d",&number); // รอรับ
จานวนเต็มมาเก็บไว้ที่ตัวแปร radius
หรือ
char scl[20]="chauat school"; // scl เก็บคา
ว่า chauat school
printf("Thisis %s",scl); // ให้แสดง
ข้อความ This is chauat school

More Related Content

What's hot

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
F'olk Worawoot
 
การใช้งานโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
การใช้งานโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลการใช้งานโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
การใช้งานโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
Noom Sataporn
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
kruthanyaporn
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Thank Chiro
 
Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0
Theeravaj Tum
 

What's hot (10)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
การใช้งานโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
การใช้งานโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลการใช้งานโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
การใช้งานโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
 
งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
หน่วยที่ 2 โปรแกรม Microsoft office Access 2007
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0
 

Viewers also liked

โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Worapod Khomkham
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
kramsri
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
mycomc55
 

Viewers also liked (20)

โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Mind is the builder
Mind is the builderMind is the builder
Mind is the builder
 
Ring
RingRing
Ring
 
Vibational medicine
Vibational medicineVibational medicine
Vibational medicine
 
Mind miraculous
Mind miraculousMind miraculous
Mind miraculous
 
Spiritual r e-a-l-m-s
Spiritual r e-a-l-m-sSpiritual r e-a-l-m-s
Spiritual r e-a-l-m-s
 
La interacción entre departamentos.
La interacción entre departamentos. La interacción entre departamentos.
La interacción entre departamentos.
 
Ensayo Francisco Jose de Caldas
Ensayo Francisco Jose de CaldasEnsayo Francisco Jose de Caldas
Ensayo Francisco Jose de Caldas
 
Planet earth
Planet earthPlanet earth
Planet earth
 
Ensayo Administracion Recursos Humanos
Ensayo Administracion Recursos HumanosEnsayo Administracion Recursos Humanos
Ensayo Administracion Recursos Humanos
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)
ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)
ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)
 
Pyramid energy
Pyramid energyPyramid energy
Pyramid energy
 
คอมพิวเตอร์ ง33201
คอมพิวเตอร์ ง33201คอมพิวเตอร์ ง33201
คอมพิวเตอร์ ง33201
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Laboratorio de física II
Laboratorio de física IILaboratorio de física II
Laboratorio de física II
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 

Similar to ภาษาซี

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
SubLt Masu
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Paweena Kittitongchaikul
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
Por Kung
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
Nattapon
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
-
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
Kriangx Ch
 

Similar to ภาษาซี (20)

ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
Answer unit1.1
Answer unit1.1Answer unit1.1
Answer unit1.1
 
Introduction Of C
Introduction Of CIntroduction Of C
Introduction Of C
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
ใบความรู้เขียนโปรแกรม
ใบความรู้เขียนโปรแกรมใบความรู้เขียนโปรแกรม
ใบความรู้เขียนโปรแกรม
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
 

ภาษาซี