SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ใบความรู้ ที่ 5

                                เรื่อง ความหมายระบบเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต
           อินเตอร์เน็ต (Internet) มาจากคาว่า Interconnection Network เป็ น เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่
ที่เชื่อมต่อกันทัวโลกโดยมีมาตรฐานการรับส่ งข้อมูลระหว่างกันเป็ นแบบเดียวกันซึ่ งคอมพิวเตอร์ ภายใน
                 ่
เครื อข่ายแต่ละเครื่ องสามารถรับและส่ งข้อมูลในรู ปแบบต่างๆ ได้หลากหลายรู ปแบบ เช่น ตัวอักษร
ภาพกราฟิ ก และเสี ยง เป็ นต้น"
         กิดานันท์ มลิทอง (2540 , 321) ได้กล่าวถึงความหมายของอินเตอร์ เน็ตว่าหมายถึงระบบของการ
เชื่อมโยงข่ายงานคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มากครอบคลุมไปทัวโลก เพื่ออานวยความสะดวกในการให้บริ การ
                                                                ่
                                                                                        ่
สื่ อสารข้อมูล ดังนั้นอินเตอร์ เน็ตจึงเป็ นวิธีในการเชื่อมโยงข่ายงานคอมพิวเตอร์ ที่มีอยูซ่ ึ งขยายออกไปอย่าง
กว้างขวาง เพื่อการเข้าถึงแต่ละระบบที่มีส่วนร่ วมอยู่
          สมนึก คีรีโต , สุ รศักดิ์ สงวนพงษ์ และสมชาย นาประเสริ ฐชัย (2538 , 1) ได้กล่าวเพิ่มเติมว่า
อินเตอร์ เน็ตเป็ นกลุ่มเครื อข่ายย่อยคอมพิวเตอร์ ที่ต่อเชื่อมเข้าด้วยกันภายใต้มาตรฐานการสื่ อสาร
(โปรโตคอล) เดียวกัน ภายในอินเตอร์ เน็ตมีบริ การมากมายหลายรู ปแบบ อาทิ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การ
ถ่ายโอนแฟ้ มข้อมูล บริ การค้นหาข้อมูลและเอกสารต่าง ๆ จานวนมาก ข่าวสารในอินเตอร์ เน็ตนับเป็ น
แหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ท่ีสุดเท่าที่มีปรากฎอยู่
          นอกจากนี้ นิพนธุ์ อินทอง และอาจารี นาโค (2540, 143) ได้ให้ความหมายของอินเตอร์เน็ตใน
                       ั
ทานองเดียวกันว่า อินเตอร์ เน็ต คือเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เป็ นเครื อข่ายที่เชื่ อมโยง
คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หลาย ๆ เครื อข่ายเข้าด้วยกันไม่วาจะเป็ นเครื อข่ายเอกชนฯ
                                                                              ่
หรื อเครื อข่ายของหน่วยงานราชการ โดยมีปัจจัยหลักอยู่ 3 ประการคือ
        1. อินเตอร์ เน็ตยอมให้คอมพิวเตอร์ และเครื อข่ายหลากหลายประเภทสื่ อสารกันได้
        2. ไม่มีองค์กรใดเป็ นเจ้าของหรื อจัดการวางระเบียบในอินเตอร์เน็ต
        3. อินเตอร์เน็ตเป็ นสังคมที่เต็มไปด้วยจิตสานึก ผูใช้อินเตอร์ เน็ตต้องมีมารยาทใน
                                                         ้

การใช้ ทรัพยากรร่ วมกันในเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต
         จากความหมายของนักการศึกษาที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้ทราบว่าอินเตอร์ เน็ต คือ เครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงข่ายงานทั้งหมดทัวโลกเข้าด้วยกัน มีมาตรฐานการสื่ อสารข้อมูลแบบ
                                                     ่
เดียวกัน ภายในเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตมีบริ การมากมายหลายรู ปแบบ ที่สามารถสื่ อสารข้อมูลถึงกันได้อย่าง
สะดวก รวดเร็ ว แม่นยาและมีประสิ ทธิ ภาพ
การบริการ บนเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต
        จากความหมายของนักการศึกษาที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้ทราบว่าอินเตอร์ เน็ต คือ เครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงข่ายงานทั้งหมดทัวโลกเข้าด้วยกันภายในอินเตอร์ เน็ตมีบริ การมากมาย
                                                     ่
หลายรู ปแบบ ที่สามารถสื่ อสารข้อมูลถึงกันได้อย่างสะดวก
        การใช้งานในอินเตอร์เน็ต การใช้งานหรื อการบริ การในอินเตอร์ เน็ตมีหลายประเภทด้วยกัน กิ
ดานันท์ มลิทอง (2540 , หน้า 326 - 328) ได้กล่าวถึงการใช้งานในอินเตอร์ เน็ต ดังนี้
          1. ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ (electronics mail : e-mail) หรื อที่เรี ยกกันสั้น ๆ ว่า "อี-เมล์" เป็ นการ
                      ์
                                           ้                                           ่
รับส่ งข้อความผ่านข่ายงานคอมพิวเตอร์ ผูใช้สามารถส่ งข้อความข่ายงานที่ตนใช้อยูไปยังผูรับอื่น ๆ ใน้
ข่ายงานเดียวกันหรื อข้ามข่ายงานอื่นในอินเตอร์ เน็ตได้ทวโลกในทันที นอกจากข้อความที่เป็ นตัวอักษรแล้ว
                                                           ั่
ยังสามารถส่ งแฟ้ มภาพและเสี ยงร่ วมไปด้วยได้เพื่อให้ผรับได้อ่านทั้งตัวอักษร ดูภาพนิ่ งและภาพเคลื่อนไหว
                                                        ู้
รวมทั้งเสี ยงพูดหรื อเสี ยงเพลงประกอบด้วย
          2. การถ่ายโอนแฟ้ ม (เอฟทีพี) file transfer protocol : FTP) เป็ นการถ่ายทอดโอนแฟ้ มข้อมูลประเภท
ต่าง ๆ เช่น แฟ้ มข่าว แฟ้ มภาพ แฟ้ มเสี ยงเพลง ฯลฯ จากคอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่นบรรจุลง (download) ไว้ใน
คอมพิวเตอร์ของเรา หรื อจะเป็ นการบรรจุน้ ี (upload) ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ ของเราส่ งไปที่เครื่ องบริ การ
แฟ้ มเพื่อให้ผอื่นนาไปใช้ได้เช่นกัน
               ู้
          3. การค้นหาแฟ้ ม เนื่ องจากอินเตอร์ เน็ตเป็ นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมกว้างขวางทัวโลกโดยมี
                                                                                             ่
                                                    ่
แฟ้ มข้อมูลต่าง ๆ มากมายหลายล้านแฟ้ มบรรจุอยูในระบบเพื่อให้ผใช้สามารถสื บค้นใช้งาน ดังนั้น จึง
                                                                       ู้
จาเป็ นต้องมีระบบหรื อโปรแกรมเพื่อช่วยในการค้นหาแฟ้ มอย่างสะดวกรวดเร็ วโปรแกรมที่นิยมใช้กน                ั
โปรแกรมหนึ่ง ได้แก่ อาร์ คี (archic) ที่ช่วยในการค้นหาแฟ้ มที่เราทราบชื่ อแต่ไม่ทราบว่าแฟ้ มนั้นอยูใน   ่
เครื่ องบริ การใด ๆ ในอินเตอร์เน็ต โปรแกรมนี้จะสร้างบัตรรายการแฟ้ มไว้ในฐานข้อมูล เมื่อต้องการค้นว่า
             ่
แฟ้ มนั้นอยูในเครื่ องบริ การใดก็เพียงแต่เรี ยกใช้อาร์ คีแล้วพิมพ์ชื่อแฟ้ มข้อมูลที่ตองการนั้นลงไป อาร์ คีจะ
                                                                                     ้
ตรวจค้นฐานข้อมูลและแสดงชื่อแฟ้ มพร้อมรายชื่ อเครื่ องบริ การที่เก็บแฟ้ มนั้นให้ทราบ เมื่อทราบชื่อเครื่ อง
บริ การแล้วก็สามารถใช้เอฟทีพีเพื่อถ่ายโอนแฟ้ มข้อมูลมาบรรจุลงในคอมพิวเตอร์ ของเราได้
การใช้ งานและบริการต่ างๆ บนเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต

  จากที่ได้กล่าวมาแล้วว่าบริ การบนอินเตอร์ เน็ตที่น่าสนใจมีอยูเ่ ป็ นจานวนมาก บริ การที่น่าสนใจและเป็ นที่
นิยมกันมีดงนี้
          ั
1. บริ การจดหมายอิเล็คทรอนิคส์ (Electronic Mail หรื อ E-mail)

2. บริ การเข้าใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ระยะไกล (Remote Login, Telnet)

3. บริ การโอนย้ายข้อมูล (FTP)

4.บริ การแลกเปลี่ยนข้อมูลและความคิดเห็น (Usenet News)

5. บริ การแลกเปลี่ยนข้อมูลและความคิดเห็น (Usenet News)

6. ระบบอาร์ชี (Archie)

7. การสนทนาออนไลน์

8. บริ การเวิลด์ไวด์เวบ (World Wide Web)

9. โปรแกรมบราวเซอร์

         Laughingการเชื่ อมต่ อเข้ ากับอินเตอร์ เน็ต การประยุกต์ ใช้ อนเตอร์ เน็ต
                                                                      ิ

    เป็ นที่ทราบกันดีแล้วว่า ข้อมูลและบริ การต่างๆ ในอินเตอร์ เน็ตมีเป็ นจานวนมากมายและหลายหลาก
ประเภท ทาให้มีการพัฒนาและประยุกต์ใช้อินเตอร์ เน็ตกับงานในด้านต่างๆ มากมาย จึงจะขอยก ตัวอย่าง
การประยุกต์ใช้อินเตอร์ เน็ตพอสังเขป ดังนี้

1. ด้านการศึกษา

2. ธุ รกิจการค้า

3. การเงินการธนาคาร

4. ความบันเทิง

         ในการเชื่อมต่อเข้าสู่ ระบบอินเตอร์ เน็ตนั้นโดยมากแล้วจะกระทาผ่านหน่วยงานที่เป็ นผูให้บริ การ
                                                                                           ้
เชื่อมต่อกับอินเตอร์ เน็ต (Internet Service Provider) หรื อนิ ยมเรี ยกทัวไปอย่างย่อๆ ว่า ISP ซึ่ง ISP ส่ วนใหญ่
                                                                        ่
แล้วจะให้บริ การในลักษณะเชิงพาณิ ชย์ โดยจะมีวงจรสื่ อสารความเร็ วสู งเชื่อมต่อเครื อข่ายเข้ากับ ISP ราย
อื่นๆ จานวนมากทั้งในประเทศและต่างประเทศ การติดต่อเข้าสู่ ระบบอินเตอร์ เน็ต สามารถแบ่งประเภทได้
ตามลักษณะของการเชื่ อมต่อได้ 2 แบบ ดังนี้
1. การเชื่อมต่อแบบหมุนโทรศัพท์ (Dial Up Connection)

        2.การเชื่อมต่อแบบโดยตรง (Direct Connection)

        เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และเป็ นแหล่งรวบรวมความรู ้ความ
บันเทิงไว้จานวนมหาศาล เปรี ยบเสมือนกับห้องสมุดขนาดใหญ่ที่สุดในโลก อินเตอร์ เน็ต มีกาเนิ ดจาก
เหตุผลทางด้านการทหารของประเทศสหรัฐอเมริ กา หลังจากที่กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริ กาได้
สนับสนุนโครงการเครื อข่ายที่มีชื่อว่า "อาร์ พาเน็ต" อันเกิดจากความร่ วมมือ กันระหว่างมหาวิทยาลัยชื่อดัง 4
แห่ง เครื อข่ายดังกล่าวก็เป็ นที่แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู ้ซ่ ึ งมีประโยชน์มากทั้งทางด้านการศึกษาและ
การทหาร ภายหลังองค์กรและบริ ษทต่างๆ ก็เล็งเห็นประโยชน์ ในการใช้เครื อข่ายให้เป็ นประโยชน์ จึงได้ขอ
                             ั
ดาเนินการเชื่ อมเครื อข่ายของตนเข้าเป็ นหนึ่งเดียวกันทาให้ขนาดของเครื อข่ายขยายขอบเขตจนครอบคลุม
                    ่                                                  ่
ทัวโลกดังที่เป็ นอยูใน ปั จจุบนและได้เรี ยกชื่อ เครื อข่ายดังกล่าวใหม่วา "เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต"
  ่                           ั

                                             ่
        การติดต่อกันระหว่างคอมพิวเตอร์ ที่อยูในเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตสามารถติดต่อกันได้โดยอาศัย
โปรโตคอล TCP/IP ซึ่ งในระดับกายภาพภายในเครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องจะใช้หมายเลข ไอพี
แอดเดรสในการอ้างอิงถึงคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายซึ่ งหมายเลขไอพีจะเป็ นเลขขนาด 32 บิต เครื่ องแต่ละ
เครื่ องจะต้องมีหมายเลขไอพีที่ไม่ซ้ ากันเลย สาหรับผูใช้สามารถใช้ระบบชื่อโดเมน อ้างอิงถึงคอมพิวเตอร์
                                                    ้
แทนหมายเลขไอพีก็ได้ เนื่องจากสามารถจดจาได้ง่ายกว่าหมายเลขไอพี

        สาหรับการเชื่ อมต่อกับเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตนั้นสามารถแบ่งออกเป็ น 2 วิธีหลักๆ ได้แก่ การหมุน
โทรศัพท์ผานโมเด็มและวิธีการเชื่ อมต่อโดยตรง ทั้งสองวิธีน้ นทาให้ผใช้สามารถเข้าใช้ บริ การต่างๆ ที่มีอยู่
         ่                                                ั      ู้
หลากหลายบนเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตได้ ยกตัวอย่างเช่น บริ การจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ บริ การเข้าใช้ระบบ
ระยะไกล บริ การโอนถ่ายแฟ้ มข้อมูล บริ การค้นหาข้อมูล หรื อบริ การ สนทนาออนไลน์ เป็ นต้น

        บริ การบนอินเตอร์ เน็ตอีกหนึ่งบริ การที่ถือว่าได้รับความนิ ยมมากที่สุดในปั จจุบน ได้แก่ บริ การ
                                                                                       ั
เวิลด์ไวด์เวบ ซึ่งเป็ นบริ การนาเสนอข้อมูลในรู ปแบบของไฮเปอร์เท็กซ์ ซึ่งปัจจุบนสามารถนาเสนอ ใน
                                                                              ั
ระบบมัลติมีเดียร่ วมด้วยได้ รวมเรี ยกว่าเป็ น "ระบบไฮเปอร์ มีเดีย" ทาให้บริ การเวิลด์ไวด์เวบได้รับความนิยม
อย่างสู ง เวิลด์ไวด์เวบใช้สถาปั ตยกรรมการส่ งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบ Client/Server ผูใช้
                                                                                                      ้
จะระบุขอมูลที่ตองการผ่านโปรแกรมเวบบราวเซอร์ ซ่ ึ งจะทาการร้องขอไปยังเวบเซิ ร์ฟเวอร์ โดยใช้
       ้       ้
โปรโตคอล HTTP เมื่อเวบเซิ ร์ฟเวอร์ ได้รับการร้องขอก็จะส่ งข้อมูล ที่ตองการกลับมาให้เวบบราวเซอร์เพื่อ
                                                                     ้
แสดงแก่ผใช้ ด้วยลักษณะเด่นและบริ การที่น่าสนใจของบริ การต่างๆ บนเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตทาให้
        ู้
หน่วยงาน และบริ ษทต่างๆ สนใจที่จะนาเสนอข้อมูลของตนในเครื อข่าย
                 ั

        นอกจากนี้ยงมีบริ ษทหลายแห่ง ใช้อินเตอร์ เน็ตในการทาการค้าซึ่ งเรี ยกว่า "การพาณิ ชย์
                  ั       ั
อิเล็คทรอนิกส์" ทาให้จานวนเว็บไซต์เพิมขึ้นด้วยอัตราที่เร็ วรวดมาก ทาให้เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตมีประโยชน์
                                     ่
ทั้งในด้านการทาธุ รกิจ การศึกษา การบันเทิง เนื่ องด้วยเพราะจานวนข้อมูล และผูใช้งานซึ่ งมีจานวนสู งมาก
                                                                            ้
ขึ้นเรื่ อยๆ เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตยังได้ถูกประยุกต์ให้มาใช้ภายในองค์กรที่มีเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ของตนเอง
อีกด้วย โดยจะมีการเชื่ อมต่อคอมพิวเตอร์ และมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลขององค์กรเฉพาะ ภายในองค์กร
เท่านั้น บุคคลภายนอกที่ไม่ได้เป็ นสมาชิกขององค์กรจะถูกกาหนดสิ ทธิ์ ไม่ให้เข้าใช้เครื อข่ายในส่ วนนี้ ซึ่ ง
                            ่
เรี ยกเครื อข่ายในลักษณะนี้วา "เครื อข่ายอินทราเน็ต" ปั จจุบนระบบเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตก็ยงคงเจริ ญเติบโต
                                                            ั                              ั
และได้รับการพัฒนาเพื่ออานวยประโยชน์ให้แก่ มวลมนุษย์ต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559kkrunuch
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)Krusine soyo
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตสื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตkiss_jib
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานครู อินดี้
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปguest0b1d15e4
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2เขมิกา กุลาศรี
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายบทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายxsitezaa
 
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์xsitezaa
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ครู อินดี้
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 

Was ist angesagt? (20)

สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ตสื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
สื่อการสอนอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิป
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายบทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 

Andere mochten auch

แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนMayuree Janpakwaen
 

Andere mochten auch (18)

Prostes
ProstesProstes
Prostes
 
Lernning 10.1
Lernning 10.1Lernning 10.1
Lernning 10.1
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
Lernning 15
Lernning 15Lernning 15
Lernning 15
 
Lernning 07
Lernning 07Lernning 07
Lernning 07
 
Lernning 11
Lernning 11Lernning 11
Lernning 11
 
Lernning 10.2
Lernning 10.2Lernning 10.2
Lernning 10.2
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
Learnning03
Learnning03Learnning03
Learnning03
 
Lernning 13
Lernning 13Lernning 13
Lernning 13
 
Lernning 14
Lernning 14Lernning 14
Lernning 14
 
Lernning 12
Lernning 12Lernning 12
Lernning 12
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียน
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
 

Ähnlich wie Lernning 05

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
อิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตอิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตNaluemonPcy
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ammarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)Paveenut
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1gotchagon
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นAmmarirat
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตSamart Phetdee
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายNote Narudaj
 

Ähnlich wie Lernning 05 (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตอิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 

Mehr von Mayuree Janpakwaen (14)

Job 15
Job 15Job 15
Job 15
 
Job 14
Job 14Job 14
Job 14
 
Job 13
Job 13Job 13
Job 13
 
Job 08
Job 08Job 08
Job 08
 
Lernning 08
Lernning 08Lernning 08
Lernning 08
 
Job 07
Job 07Job 07
Job 07
 
Job 5
Job 5Job 5
Job 5
 
Job 5
Job 5Job 5
Job 5
 
Job 4
Job 4Job 4
Job 4
 
Job 03
Job 03Job 03
Job 03
 
Job 12
Job 12Job 12
Job 12
 
Job 11
Job 11Job 11
Job 11
 
Job10.2
Job10.2Job10.2
Job10.2
 
Job10.1
Job10.1Job10.1
Job10.1
 

Lernning 05

  • 1. ใบความรู้ ที่ 5 เรื่อง ความหมายระบบเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต อินเตอร์เน็ต (Internet) มาจากคาว่า Interconnection Network เป็ น เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ที่เชื่อมต่อกันทัวโลกโดยมีมาตรฐานการรับส่ งข้อมูลระหว่างกันเป็ นแบบเดียวกันซึ่ งคอมพิวเตอร์ ภายใน ่ เครื อข่ายแต่ละเครื่ องสามารถรับและส่ งข้อมูลในรู ปแบบต่างๆ ได้หลากหลายรู ปแบบ เช่น ตัวอักษร ภาพกราฟิ ก และเสี ยง เป็ นต้น" กิดานันท์ มลิทอง (2540 , 321) ได้กล่าวถึงความหมายของอินเตอร์ เน็ตว่าหมายถึงระบบของการ เชื่อมโยงข่ายงานคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มากครอบคลุมไปทัวโลก เพื่ออานวยความสะดวกในการให้บริ การ ่ ่ สื่ อสารข้อมูล ดังนั้นอินเตอร์ เน็ตจึงเป็ นวิธีในการเชื่อมโยงข่ายงานคอมพิวเตอร์ ที่มีอยูซ่ ึ งขยายออกไปอย่าง กว้างขวาง เพื่อการเข้าถึงแต่ละระบบที่มีส่วนร่ วมอยู่ สมนึก คีรีโต , สุ รศักดิ์ สงวนพงษ์ และสมชาย นาประเสริ ฐชัย (2538 , 1) ได้กล่าวเพิ่มเติมว่า อินเตอร์ เน็ตเป็ นกลุ่มเครื อข่ายย่อยคอมพิวเตอร์ ที่ต่อเชื่อมเข้าด้วยกันภายใต้มาตรฐานการสื่ อสาร (โปรโตคอล) เดียวกัน ภายในอินเตอร์ เน็ตมีบริ การมากมายหลายรู ปแบบ อาทิ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การ ถ่ายโอนแฟ้ มข้อมูล บริ การค้นหาข้อมูลและเอกสารต่าง ๆ จานวนมาก ข่าวสารในอินเตอร์ เน็ตนับเป็ น แหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ท่ีสุดเท่าที่มีปรากฎอยู่ นอกจากนี้ นิพนธุ์ อินทอง และอาจารี นาโค (2540, 143) ได้ให้ความหมายของอินเตอร์เน็ตใน ั ทานองเดียวกันว่า อินเตอร์ เน็ต คือเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เป็ นเครื อข่ายที่เชื่ อมโยง คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หลาย ๆ เครื อข่ายเข้าด้วยกันไม่วาจะเป็ นเครื อข่ายเอกชนฯ ่ หรื อเครื อข่ายของหน่วยงานราชการ โดยมีปัจจัยหลักอยู่ 3 ประการคือ 1. อินเตอร์ เน็ตยอมให้คอมพิวเตอร์ และเครื อข่ายหลากหลายประเภทสื่ อสารกันได้ 2. ไม่มีองค์กรใดเป็ นเจ้าของหรื อจัดการวางระเบียบในอินเตอร์เน็ต 3. อินเตอร์เน็ตเป็ นสังคมที่เต็มไปด้วยจิตสานึก ผูใช้อินเตอร์ เน็ตต้องมีมารยาทใน ้ การใช้ ทรัพยากรร่ วมกันในเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต จากความหมายของนักการศึกษาที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้ทราบว่าอินเตอร์ เน็ต คือ เครื อข่าย คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงข่ายงานทั้งหมดทัวโลกเข้าด้วยกัน มีมาตรฐานการสื่ อสารข้อมูลแบบ ่ เดียวกัน ภายในเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตมีบริ การมากมายหลายรู ปแบบ ที่สามารถสื่ อสารข้อมูลถึงกันได้อย่าง สะดวก รวดเร็ ว แม่นยาและมีประสิ ทธิ ภาพ
  • 2. การบริการ บนเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต จากความหมายของนักการศึกษาที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้ทราบว่าอินเตอร์ เน็ต คือ เครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงข่ายงานทั้งหมดทัวโลกเข้าด้วยกันภายในอินเตอร์ เน็ตมีบริ การมากมาย ่ หลายรู ปแบบ ที่สามารถสื่ อสารข้อมูลถึงกันได้อย่างสะดวก การใช้งานในอินเตอร์เน็ต การใช้งานหรื อการบริ การในอินเตอร์ เน็ตมีหลายประเภทด้วยกัน กิ ดานันท์ มลิทอง (2540 , หน้า 326 - 328) ได้กล่าวถึงการใช้งานในอินเตอร์ เน็ต ดังนี้ 1. ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ (electronics mail : e-mail) หรื อที่เรี ยกกันสั้น ๆ ว่า "อี-เมล์" เป็ นการ ์ ้ ่ รับส่ งข้อความผ่านข่ายงานคอมพิวเตอร์ ผูใช้สามารถส่ งข้อความข่ายงานที่ตนใช้อยูไปยังผูรับอื่น ๆ ใน้ ข่ายงานเดียวกันหรื อข้ามข่ายงานอื่นในอินเตอร์ เน็ตได้ทวโลกในทันที นอกจากข้อความที่เป็ นตัวอักษรแล้ว ั่ ยังสามารถส่ งแฟ้ มภาพและเสี ยงร่ วมไปด้วยได้เพื่อให้ผรับได้อ่านทั้งตัวอักษร ดูภาพนิ่ งและภาพเคลื่อนไหว ู้ รวมทั้งเสี ยงพูดหรื อเสี ยงเพลงประกอบด้วย 2. การถ่ายโอนแฟ้ ม (เอฟทีพี) file transfer protocol : FTP) เป็ นการถ่ายทอดโอนแฟ้ มข้อมูลประเภท ต่าง ๆ เช่น แฟ้ มข่าว แฟ้ มภาพ แฟ้ มเสี ยงเพลง ฯลฯ จากคอมพิวเตอร์ เครื่ องอื่นบรรจุลง (download) ไว้ใน คอมพิวเตอร์ของเรา หรื อจะเป็ นการบรรจุน้ ี (upload) ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ ของเราส่ งไปที่เครื่ องบริ การ แฟ้ มเพื่อให้ผอื่นนาไปใช้ได้เช่นกัน ู้ 3. การค้นหาแฟ้ ม เนื่ องจากอินเตอร์ เน็ตเป็ นระบบใหญ่ที่ครอบคลุมกว้างขวางทัวโลกโดยมี ่ ่ แฟ้ มข้อมูลต่าง ๆ มากมายหลายล้านแฟ้ มบรรจุอยูในระบบเพื่อให้ผใช้สามารถสื บค้นใช้งาน ดังนั้น จึง ู้ จาเป็ นต้องมีระบบหรื อโปรแกรมเพื่อช่วยในการค้นหาแฟ้ มอย่างสะดวกรวดเร็ วโปรแกรมที่นิยมใช้กน ั โปรแกรมหนึ่ง ได้แก่ อาร์ คี (archic) ที่ช่วยในการค้นหาแฟ้ มที่เราทราบชื่ อแต่ไม่ทราบว่าแฟ้ มนั้นอยูใน ่ เครื่ องบริ การใด ๆ ในอินเตอร์เน็ต โปรแกรมนี้จะสร้างบัตรรายการแฟ้ มไว้ในฐานข้อมูล เมื่อต้องการค้นว่า ่ แฟ้ มนั้นอยูในเครื่ องบริ การใดก็เพียงแต่เรี ยกใช้อาร์ คีแล้วพิมพ์ชื่อแฟ้ มข้อมูลที่ตองการนั้นลงไป อาร์ คีจะ ้ ตรวจค้นฐานข้อมูลและแสดงชื่อแฟ้ มพร้อมรายชื่ อเครื่ องบริ การที่เก็บแฟ้ มนั้นให้ทราบ เมื่อทราบชื่อเครื่ อง บริ การแล้วก็สามารถใช้เอฟทีพีเพื่อถ่ายโอนแฟ้ มข้อมูลมาบรรจุลงในคอมพิวเตอร์ ของเราได้ การใช้ งานและบริการต่ างๆ บนเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต จากที่ได้กล่าวมาแล้วว่าบริ การบนอินเตอร์ เน็ตที่น่าสนใจมีอยูเ่ ป็ นจานวนมาก บริ การที่น่าสนใจและเป็ นที่ นิยมกันมีดงนี้ ั
  • 3. 1. บริ การจดหมายอิเล็คทรอนิคส์ (Electronic Mail หรื อ E-mail) 2. บริ การเข้าใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ระยะไกล (Remote Login, Telnet) 3. บริ การโอนย้ายข้อมูล (FTP) 4.บริ การแลกเปลี่ยนข้อมูลและความคิดเห็น (Usenet News) 5. บริ การแลกเปลี่ยนข้อมูลและความคิดเห็น (Usenet News) 6. ระบบอาร์ชี (Archie) 7. การสนทนาออนไลน์ 8. บริ การเวิลด์ไวด์เวบ (World Wide Web) 9. โปรแกรมบราวเซอร์ Laughingการเชื่ อมต่ อเข้ ากับอินเตอร์ เน็ต การประยุกต์ ใช้ อนเตอร์ เน็ต ิ เป็ นที่ทราบกันดีแล้วว่า ข้อมูลและบริ การต่างๆ ในอินเตอร์ เน็ตมีเป็ นจานวนมากมายและหลายหลาก ประเภท ทาให้มีการพัฒนาและประยุกต์ใช้อินเตอร์ เน็ตกับงานในด้านต่างๆ มากมาย จึงจะขอยก ตัวอย่าง การประยุกต์ใช้อินเตอร์ เน็ตพอสังเขป ดังนี้ 1. ด้านการศึกษา 2. ธุ รกิจการค้า 3. การเงินการธนาคาร 4. ความบันเทิง ในการเชื่อมต่อเข้าสู่ ระบบอินเตอร์ เน็ตนั้นโดยมากแล้วจะกระทาผ่านหน่วยงานที่เป็ นผูให้บริ การ ้ เชื่อมต่อกับอินเตอร์ เน็ต (Internet Service Provider) หรื อนิ ยมเรี ยกทัวไปอย่างย่อๆ ว่า ISP ซึ่ง ISP ส่ วนใหญ่ ่ แล้วจะให้บริ การในลักษณะเชิงพาณิ ชย์ โดยจะมีวงจรสื่ อสารความเร็ วสู งเชื่อมต่อเครื อข่ายเข้ากับ ISP ราย อื่นๆ จานวนมากทั้งในประเทศและต่างประเทศ การติดต่อเข้าสู่ ระบบอินเตอร์ เน็ต สามารถแบ่งประเภทได้ ตามลักษณะของการเชื่ อมต่อได้ 2 แบบ ดังนี้
  • 4. 1. การเชื่อมต่อแบบหมุนโทรศัพท์ (Dial Up Connection) 2.การเชื่อมต่อแบบโดยตรง (Direct Connection) เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และเป็ นแหล่งรวบรวมความรู ้ความ บันเทิงไว้จานวนมหาศาล เปรี ยบเสมือนกับห้องสมุดขนาดใหญ่ที่สุดในโลก อินเตอร์ เน็ต มีกาเนิ ดจาก เหตุผลทางด้านการทหารของประเทศสหรัฐอเมริ กา หลังจากที่กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริ กาได้ สนับสนุนโครงการเครื อข่ายที่มีชื่อว่า "อาร์ พาเน็ต" อันเกิดจากความร่ วมมือ กันระหว่างมหาวิทยาลัยชื่อดัง 4 แห่ง เครื อข่ายดังกล่าวก็เป็ นที่แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู ้ซ่ ึ งมีประโยชน์มากทั้งทางด้านการศึกษาและ การทหาร ภายหลังองค์กรและบริ ษทต่างๆ ก็เล็งเห็นประโยชน์ ในการใช้เครื อข่ายให้เป็ นประโยชน์ จึงได้ขอ ั ดาเนินการเชื่ อมเครื อข่ายของตนเข้าเป็ นหนึ่งเดียวกันทาให้ขนาดของเครื อข่ายขยายขอบเขตจนครอบคลุม ่ ่ ทัวโลกดังที่เป็ นอยูใน ปั จจุบนและได้เรี ยกชื่อ เครื อข่ายดังกล่าวใหม่วา "เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต" ่ ั ่ การติดต่อกันระหว่างคอมพิวเตอร์ ที่อยูในเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตสามารถติดต่อกันได้โดยอาศัย โปรโตคอล TCP/IP ซึ่ งในระดับกายภาพภายในเครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องจะใช้หมายเลข ไอพี แอดเดรสในการอ้างอิงถึงคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายซึ่ งหมายเลขไอพีจะเป็ นเลขขนาด 32 บิต เครื่ องแต่ละ เครื่ องจะต้องมีหมายเลขไอพีที่ไม่ซ้ ากันเลย สาหรับผูใช้สามารถใช้ระบบชื่อโดเมน อ้างอิงถึงคอมพิวเตอร์ ้ แทนหมายเลขไอพีก็ได้ เนื่องจากสามารถจดจาได้ง่ายกว่าหมายเลขไอพี สาหรับการเชื่ อมต่อกับเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตนั้นสามารถแบ่งออกเป็ น 2 วิธีหลักๆ ได้แก่ การหมุน โทรศัพท์ผานโมเด็มและวิธีการเชื่ อมต่อโดยตรง ทั้งสองวิธีน้ นทาให้ผใช้สามารถเข้าใช้ บริ การต่างๆ ที่มีอยู่ ่ ั ู้ หลากหลายบนเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตได้ ยกตัวอย่างเช่น บริ การจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ บริ การเข้าใช้ระบบ ระยะไกล บริ การโอนถ่ายแฟ้ มข้อมูล บริ การค้นหาข้อมูล หรื อบริ การ สนทนาออนไลน์ เป็ นต้น บริ การบนอินเตอร์ เน็ตอีกหนึ่งบริ การที่ถือว่าได้รับความนิ ยมมากที่สุดในปั จจุบน ได้แก่ บริ การ ั เวิลด์ไวด์เวบ ซึ่งเป็ นบริ การนาเสนอข้อมูลในรู ปแบบของไฮเปอร์เท็กซ์ ซึ่งปัจจุบนสามารถนาเสนอ ใน ั ระบบมัลติมีเดียร่ วมด้วยได้ รวมเรี ยกว่าเป็ น "ระบบไฮเปอร์ มีเดีย" ทาให้บริ การเวิลด์ไวด์เวบได้รับความนิยม อย่างสู ง เวิลด์ไวด์เวบใช้สถาปั ตยกรรมการส่ งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบ Client/Server ผูใช้ ้ จะระบุขอมูลที่ตองการผ่านโปรแกรมเวบบราวเซอร์ ซ่ ึ งจะทาการร้องขอไปยังเวบเซิ ร์ฟเวอร์ โดยใช้ ้ ้ โปรโตคอล HTTP เมื่อเวบเซิ ร์ฟเวอร์ ได้รับการร้องขอก็จะส่ งข้อมูล ที่ตองการกลับมาให้เวบบราวเซอร์เพื่อ ้
  • 5. แสดงแก่ผใช้ ด้วยลักษณะเด่นและบริ การที่น่าสนใจของบริ การต่างๆ บนเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตทาให้ ู้ หน่วยงาน และบริ ษทต่างๆ สนใจที่จะนาเสนอข้อมูลของตนในเครื อข่าย ั นอกจากนี้ยงมีบริ ษทหลายแห่ง ใช้อินเตอร์ เน็ตในการทาการค้าซึ่ งเรี ยกว่า "การพาณิ ชย์ ั ั อิเล็คทรอนิกส์" ทาให้จานวนเว็บไซต์เพิมขึ้นด้วยอัตราที่เร็ วรวดมาก ทาให้เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตมีประโยชน์ ่ ทั้งในด้านการทาธุ รกิจ การศึกษา การบันเทิง เนื่ องด้วยเพราะจานวนข้อมูล และผูใช้งานซึ่ งมีจานวนสู งมาก ้ ขึ้นเรื่ อยๆ เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตยังได้ถูกประยุกต์ให้มาใช้ภายในองค์กรที่มีเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ของตนเอง อีกด้วย โดยจะมีการเชื่ อมต่อคอมพิวเตอร์ และมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลขององค์กรเฉพาะ ภายในองค์กร เท่านั้น บุคคลภายนอกที่ไม่ได้เป็ นสมาชิกขององค์กรจะถูกกาหนดสิ ทธิ์ ไม่ให้เข้าใช้เครื อข่ายในส่ วนนี้ ซึ่ ง ่ เรี ยกเครื อข่ายในลักษณะนี้วา "เครื อข่ายอินทราเน็ต" ปั จจุบนระบบเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตก็ยงคงเจริ ญเติบโต ั ั และได้รับการพัฒนาเพื่ออานวยประโยชน์ให้แก่ มวลมนุษย์ต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง