SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
สัมมนา iZen ครั้งที่ 3 ประจําเดือนธันวาคม 2552
        จัดโดย Siam Intelligence Unit
“Update Global Economy Outlook in 2010”
                  16 ธันวาคม 2552
                       เสนอโดย
                 สุรศักดิ์ ธรรมโม
      นักเศรษฐศาสตร ของ Siam Intelligence Unit

     http://www.siamintelligence.com/
สรุป
1.   เศรษฐกิจโลกในป 2010 จะมีจุดศูนยกลางการจับตาหลักอยูที่ a) การถอนมาตรการ
     กระตุนเศรษฐกิจของประเทศ G-3 (Exit Strategy) โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา b) ความ
     ขัดแยงเรื่องอัตราแลกเปลี่ยนโดยเฉพาะคาเงินหยวน C) ประสิทธิผลของมาตรการกระตุน
     เศรษฐกิจในป 2552 เพราะบางประเทศอาจมีความจําเปนที่จะตองดําเนินมาตรการกระตุน
     เศรษฐกิจตอไปอีก แมวาระดับหนี้สาธารณะจะอยูในระดับที่สูงแลวก็ตาม
2.   เศรษฐกิจประเทศกลุม BRICs โดยเฉพาะ “จีน” คือแกนกลางหลักในการขับเคลื่อนการ
     ขยายตัวของเศรษฐกิจโลก โดยในป ค.ศ. 2010-11 เศรษฐกิจจีนมีบทบาทในการขยายตัว
     ของเศรษฐกิจโลกสูงถึง 63.3 % และ 55.5 % ซึ่งหมายความวาการขยายตัวของเศรษฐกิจ
     โลกมากกวากี่งหนึ่งนั้นขึ้นอยูกับประเทศ “จีน”
3.   เอเชียกําลังจะเริมตนในการเปนศูนยกลางของเศรษฐกิจโลกอยางแทจริงอีกครั้งหลังจากที่
                      ่
     ความฝนดังกลาวพังทลายลงใน Asia Crisis ป 1997
การขยายตัวของเศรษฐกิจโลก

% qoq                         Q2/52            Q3/52
1.5



  1



0.5



  0



-0.5



 -1
        Euro Zone   Germany   France   Italy           UK   Japan   US
การขยายตัวของ GDP รายไตรมาสของประเทศอาเซียน

 yoy    Philippines               Indonesia            M alaysia            Singapore
  8
                                  6.4
  6     4.6                          5.2               4.8
                                           4.5 4.2
  4           2.9                            4.0
  2                   0.8 0.8                           0.1                              0.6
                0.6                                                         0.0
  0
 -2                                                                  -1.2
 -4                                                                 -3.9     -4.2    -3.3
 -6
                                                             -6.2
 -8
-10                                                                               -9.5
-12
              Q 3/08            Q 4/08        Q 1/09          Q 2/09        Q 3/09

  ที่มา: Bloomberg
การขยายตัวของ GDP รายไตรมาสของประเทศกลุม BRICs
       yoy
10                                                                      7 .9   9 .0          8 .9
                                                        7 .7                             7 .9
         6 .8                     6 .0                              6 .1         6 .8 6 .1
                                                             5 .85 .8
  5
                1 .3                 1 .2
  0
                 B ra zil -1 .2       R u s s ia               In d ia                C h in a

 -5               -1 .8


-1 0                                            -8 .9
                                      -9 .8
                                          -1 0 .9
-1 5
                Q 3 /0 8          Q 4 /0 8         Q 1 /0 9        Q 2 /0 9       Q 3 /0 9
   ที่มา: Bloomberg
80
                                  85
                                       90
                                                     95
                                                                100
                                                                                        105
                                                                                              110
                                                                                                    115
                                                                                                                                  120
                                                                                                                                        In d ex
                   Jan-06
                   Feb-06
                   Mar-06
                   Apr-06
                   May-06




ที่มา: Bloomberg
                   Jun-06
                    Jul-06
                   Aug-06
                                                                                                          USA




                   Sep-06
                   Oct-06
                   Nov-06
                   Dec-06
                   Jan-07
                   Feb-07
                   Mar-07
                   Apr-07
                   May-07
                   Jun-07
                    Jul-07
                                                                                                                                                  OECD Leading Indicators
                                                                                                          E u ro Area




                   Aug-07
                   Sep-07
                   Oct-07
                   Nov-07
                   Dec-07
                   Jan-08
                   Feb-08
                   Mar-08
                   Apr-08
                                                                                                          Japan




                   May-08
                   Jun-08
                    Jul-08
                   Aug-08
                   Sep-08
                   Oct-08
                   Nov-08
                   Dec-08
                   Jan-09
                   Feb-09
                   Mar-09
                   Apr-09
                   May-09
                   Jun-09
                    Jul-09
                   Aug-09
                                                                                                          All O E C D m em bers




                   Sep-09
                                                      USA

                                            Jap an
                                                            All O E C D
                                                            m em b ers
                                                                          E u ro Area
Asia Export Momentum Growth

yo y                                                                                     C h in a                                     T a iw a n                                     M a la ys ia
  60
                                                                                         S in g a p o re                              T h a ila n d                                  Hongkong

                                                                                         V ie tn a m                                  S o u th K o re a
 40



 20                                                                                                                                                                                              S o u th K o re a



   0



 -2 0



 -4 0



 -6 0
                                   Apr-08




                                                                                                                                                 Apr-09
                                                                       Aug-08




                                                                                                                                                                                        Aug-09
                                            May-08




                                                                                                                                                          May-09
                                                                                                  Nov-08




                                                                                                                                                                                                                      Nov-09
                          Mar-08




                                                                                                                                        Mar-09
                                                              Jul-08




                                                                                                           Dec-08




                                                                                                                                                                            Jul-09
        Jan-08

                 Feb-08




                                                     Jun-08




                                                                                Sep-08

                                                                                         Oct-08




                                                                                                                    Jan-09

                                                                                                                             Feb-09




                                                                                                                                                                   Jun-09




                                                                                                                                                                                                    Sep-09

                                                                                                                                                                                                             Oct-09
Source: Bloomberg
เศรษฐกิจจีนในบริบทโลก
  ในป 2010-11 เศรษฐกิจจีนจะมีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก โดย SIU คํานวณจากฐานขอมูล
  กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF ,WEO October 2009) พบวาเศรษฐกิจจีนจะมีสัดสวน Contribution to
  Global Growth ในปค.ศ. 2010-11 ที่ 63.3 % และ 55.5 % ตามลําดับชี้วาการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกมากกวา
  ครึ่งหนึ่งขึ้นอยูกับการขยายตัวของเศรษฐกิจจีนเพียงประเทศเดียว
  กล า วได ว า ใน 2 ป ข า งหน า “จี น ” จะมี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการกํ า หนดการขยายตั ว ของเศรษฐกิ จ โลกจนกว า
  เศรษฐกิจของตะวันตกและญีปุนจะกลับมาขยายตัวอีกครั้ง (Normalization to Growth) ดังนั้น การจับตา
  เศรษฐกิจจีนจึงสามารถสะทอนภาวะการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกได
  Goldman Sachs ประเมิน ณ วันที่ 4 ธ.ค. 2552 (The Long-Term Outlook for the BRICs and N-11 Post Crisis)
  ชี้วา เศรษฐกิจจีนจะแซงหนาสหรัฐฯ เปนเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญที่สุดในโลกในป ค.ศ. 2027
  ความสัมพันธของเศรษฐกิจ สหรัฐฯ-จีน เปนแกนกลางของปรากฏการณ Global Imbalance ซึ่งกระบวนการ
  Re-balancing หลังวิกฤติเศรษฐกิจโลกมีความเสี่ยงที่จะลาชากวานักวิเคราะหทั่วโลกคาดการณเนื่องจาก
  เศรษฐกิจจีนมีการออมที่สูงผิดปรกติและเปนการยากที่จีนจะลดระดับการออมและเปลี่ยนเปนการบริโภคใน
  ขณะที่สหรัฐฯ แมวาการออมจะเริ่มตนขึ้นและการบริโภคจะลดลงแตในดานการคาระหวางประเทศ สหรัฐฯยัง
  ไมแสดงถึงการลดการขาดดุลการคาอยางจริงจังและตอเนื่องเพราะจีนกําหนดคาเงินหยวนคงที่กับคาเงิน
  ดอลลารสหรัฐฯ เมื่อคาเงินดอลลารสหรัฐฯออนคาสงผลใหคาเงินหยวนออนคาตามไปดวย
  ในป ค.ศ. 2010-11 สหรัฐฯจําเปนที่จะตองกดดันจีนในเรื่องของอัตราแลกเปลี่ยนมากขึ้นกวาที่เปนอยูโดยแรง
  กดดันจีนในเรื่องคาเงินหยวนนี้จะมีสหภาพยุโรปเขากดดันจีนดวย ในขณะที่จีนเองเนื่องจากไมสามารถใชการ
  บริ โ ภคปรั บ เศรษฐกิ จ จี น เองให ส มดุ ล ได ดั ง นั้ น จี น จํ า เป น ที่ จ ะต อ งใช ก ารลงทุ น ภาครั ฐ เป น ตั ว ขั บ เคลื่ อ น
  เศรษฐกิจใหมากขึ้นกวาที่เปนอยู สงผลใหทางจีนเองมีแรงจูงใจที่จะปรับคาเงินหยวนใหแข็งคาขึ้นเพื่อใหคาเงิน
  หยวนสูงขึ้นและเพิ่มอํานาจซื้อของจีนใหมากขึ้นกวาที่เปนอยู
การเมืองจีน
  จีน กําลังอยูในระหวางคนหาผูนําการเมืองรุน 5 ที่จะดํารงประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีตอจากนาย หูจิน
  เตา และนายเวิ น เจี ย เป า ที่ จ ะหมดอํ า นาจ ค.ศ.2012-13 โดยนั ก วิ เ คราะห ก ารเมื อ งประเมิ น ว า รอง
  ประธานาธิบดี สีจิ้นผิง และรองนายกรัฐมนตรี นายหลี่ เคอเฉียงจะดํารงตําแหนงสืบตอจากนายหู และนาย
  เวินตามลําดับ         SIU ประเมินวาการสืบตออํานาจทางการเมืองนี้จะกอใหเกิดเสถียรภาพในการสืบทอด
  ตําแหนงเพราะผูนํารุน 5 ในปจจุบันนี้ลวนแตทํางานในระดับที่มีความสําคัญและรองลงมาจากประธานาธิบดี
  และนายกรัฐมนตรี
  ความสัมพันธระหวางจีนและไตหวันมีแนวโนมดีขึ้นมากหลังจากที่พรรคการเมืองกกมินตั๋ง ซึ่งมีนโยบายสาน
  สัมพันธกับจีนขึ้นมามีอํานาจในขณะที่อดีตผูนําการเมืองไตหวันที่มีนโยบายเปนปรปกษกับจีนคนสําคัญ
  ไดแก นายเฉิน สุยเปยน หมดอํานาจและถูกดําเนินคดี
  ปญหาการเมืองของจีนที่แทจริงและอยูในวาระการประชุมกรมการเมืองซึ่งเปนที่ประชุมคณะผูบริหารสูงสุด
  ของประเทศจีนตลอดคือ 1) ปญหามณฑลซินเกียงโดยเฉพาะความขัดแยงเชิงชาติพันธุและศาสนาระหวาง
  “ฮั่น” และ “อุยกูร” 2) ปญหาการวางงานและอาจจะกอใหเกิดความไมสงบทางสังคม 3) ปญหาชองแคบ
  ไตหวัน SIU ประเมินวาจีนจะใชนโยบายที่แข็งกราวในมณฑลซินเกียงควบคูไปกับการกระตุนเศรษฐกิจ
  อยางตอเนื่องเพื่อลดปญหาการวางงาน
  SIU ประเมินวามณฑลซินเกียงอาจจะมีการปะทะระหวางชาวอุยกูรซึ่งเปนคนทองถื่นกับรัฐบาลจีนในป
  ค.ศ.2010-11 ซึ่งสงผลไมดีตอบรรยากาศธุรกิจในแถบตะวันตก
IMF :China Saving and Consuption




  เศรษฐกิจจีนในชวงป ค.ศ.2000-8 ขยายตัวโดยการลงทุนและการบริโภคเปนหลักในขณะทีการสงออกสุทธิมีบทบาท
  นอยมาก
  เมื่อเปรียบเทียบกันระหวางป ค.ศ.2000 และป ค.ศ. 2008 พบวาในป 2008 การบริโภคเอกชนของจีนลดลง การลงทุน
  เพิ่มขึ้น การใชจายภาครัฐเพิ่มขึ้น
  SIU            ประเมิ นว าการบริ โภคที่ ลดลงของจี นมาจากการออมที่ สู งขึ้น เนื่ องจากประเทศจี น ไม มีโครงขายทาง
  ประกันสังคม (Social Safety Net) สงผลใหคนจีนตองออมเงินเพื่อดูแลตัวเองยามเกษียณ ยามวางงานและยามเจ็บ
  ไข ไ ด ป ว ย ดั ง นั้ น การที่ ห วั ง ว า จี น จะบริ โ ภคมากขึ้ น และสั่ ง สิ น ค า สํ า เร็ จ รู ป เพื่ อ ตอบสนองวิ ถี ชี วิ ต ชนชั้ น กลาง
  เชนเดียวกับยุโรปและสหรัฐจึงอาจจะไมถูกตองนัก
-5
                                                      0
                                                          5
                                                                      10
                                                                              15




                                    -15
                                          -10
                           2000Q1
                           2000Q2
                           2000Q3
                           2000Q4
                           2001Q1
                           2001Q2
                           2001Q3
                           2001Q4
                           2002Q1




Source: IMF October 2009
                           2002Q2
                           2002Q3
                           2002Q4
                           2003Q1
                           2003Q2
                           2003Q3
                           2003Q4
                           2004Q1
                           2004Q2
                           2004Q3
                           2004Q4
                           2005Q1
                           2005Q2
                           2005Q3
                           2005Q4
                           2006Q1
                           2006Q2
                                                                                                          การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนเหนือกวา BRICs และ G-3




                           2006Q3
                           2006Q4
                           2007Q1
                           2007Q2
                           2007Q3
                           2007Q4
                           2008Q1
                           2008Q2
                           2008Q3
                           2008Q4
                           2009Q1
                           2009Q2
                           2009Q3
                           2009Q4
                           2010Q1
                           2010Q2
                           2010Q3
                           2010Q4
                                                      USA



                                                      Area
                                                      Euro
                                                              India

                                                     Brazil
                                                                      China




                                                     Japan
                                                      World
                                                                              Projected by IMF Oct 2009
Contribution to Growth of Global Economy




Source: IMF October 2009

          จากฐานขอมูลของ IMF พบวาอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในชวงป 2010 เปนตนไปจะมาจากประเทศจีนเปน
          สําคัญ ในขณะที่สหรัฐอเมริกาและประเทศพัฒนาแลวจะมีสวนในการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในอัตราที่ต่ําลงเมื่อเทียบ
          กับอดีตสะทอนวาบทบาททางเศรษฐกิจของจีนจะทวีความสําคัญมากขึ้นในอนาคต
Goldman Sachs Long-Term Outlook for China




Source: Goldman Sachs - “The Long-Term Outlook for the BRICs and N-11 Post Crisis” : December 2009

    Goldman Sachs ประเมินวาดวยอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในชวงป ค.ศ. 2011-20 ที่อัตรา 7.9
    % และชวงปค.ศ. 2021-30 ที่อัตรา 5.7 % จะผลักดันใหเศรษฐกิจจีนมีขนาดใหญที่สุดในโลกมากกวา
    สหรัฐอเมริกาในป ค.ศ. 2027 เปนตนไป

More Related Content

More from Isriya Paireepairit

20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯIsriya Paireepairit
 
Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Isriya Paireepairit
 
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลจะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่นอนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่นIsriya Paireepairit
 
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยกฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยIsriya Paireepairit
 
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติIsriya Paireepairit
 
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?Isriya Paireepairit
 
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzIsriya Paireepairit
 
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิโครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิIsriya Paireepairit
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIIsriya Paireepairit
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการIsriya Paireepairit
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งสไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งIsriya Paireepairit
 
Thailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementThailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementIsriya Paireepairit
 
IPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIsriya Paireepairit
 

More from Isriya Paireepairit (20)

20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
 
Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?Wearable Computing: Fad or For Real?
Wearable Computing: Fad or For Real?
 
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัลความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
ความเห็น กสทช. ต่อ ร่าง พ.ร.บ.ดิจิทัล
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
 
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัลจะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
จะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัล ต้องคิดแบบดิจิทัล
 
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่นอนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
อนาคตของการจัดสรรและใช้ทรัพยากรคลื่น
 
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยกฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
 
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
 
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
 
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิโครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
 
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งสไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
 
Agenda Bangkok
Agenda BangkokAgenda Bangkok
Agenda Bangkok
 
Mobile Trends 2012
Mobile Trends 2012Mobile Trends 2012
Mobile Trends 2012
 
Thailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementThailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency Management
 
IPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand Case
 
Three IT Kingdoms
Three IT KingdomsThree IT Kingdoms
Three IT Kingdoms
 

SIU - Update Global Economy Outlook 2010

  • 1. สัมมนา iZen ครั้งที่ 3 ประจําเดือนธันวาคม 2552 จัดโดย Siam Intelligence Unit “Update Global Economy Outlook in 2010” 16 ธันวาคม 2552 เสนอโดย สุรศักดิ์ ธรรมโม นักเศรษฐศาสตร ของ Siam Intelligence Unit http://www.siamintelligence.com/
  • 2. สรุป 1. เศรษฐกิจโลกในป 2010 จะมีจุดศูนยกลางการจับตาหลักอยูที่ a) การถอนมาตรการ กระตุนเศรษฐกิจของประเทศ G-3 (Exit Strategy) โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา b) ความ ขัดแยงเรื่องอัตราแลกเปลี่ยนโดยเฉพาะคาเงินหยวน C) ประสิทธิผลของมาตรการกระตุน เศรษฐกิจในป 2552 เพราะบางประเทศอาจมีความจําเปนที่จะตองดําเนินมาตรการกระตุน เศรษฐกิจตอไปอีก แมวาระดับหนี้สาธารณะจะอยูในระดับที่สูงแลวก็ตาม 2. เศรษฐกิจประเทศกลุม BRICs โดยเฉพาะ “จีน” คือแกนกลางหลักในการขับเคลื่อนการ ขยายตัวของเศรษฐกิจโลก โดยในป ค.ศ. 2010-11 เศรษฐกิจจีนมีบทบาทในการขยายตัว ของเศรษฐกิจโลกสูงถึง 63.3 % และ 55.5 % ซึ่งหมายความวาการขยายตัวของเศรษฐกิจ โลกมากกวากี่งหนึ่งนั้นขึ้นอยูกับประเทศ “จีน” 3. เอเชียกําลังจะเริมตนในการเปนศูนยกลางของเศรษฐกิจโลกอยางแทจริงอีกครั้งหลังจากที่ ่ ความฝนดังกลาวพังทลายลงใน Asia Crisis ป 1997
  • 3. การขยายตัวของเศรษฐกิจโลก % qoq Q2/52 Q3/52 1.5 1 0.5 0 -0.5 -1 Euro Zone Germany France Italy UK Japan US
  • 4. การขยายตัวของ GDP รายไตรมาสของประเทศอาเซียน yoy Philippines Indonesia M alaysia Singapore 8 6.4 6 4.6 5.2 4.8 4.5 4.2 4 2.9 4.0 2 0.8 0.8 0.1 0.6 0.6 0.0 0 -2 -1.2 -4 -3.9 -4.2 -3.3 -6 -6.2 -8 -10 -9.5 -12 Q 3/08 Q 4/08 Q 1/09 Q 2/09 Q 3/09 ที่มา: Bloomberg
  • 5. การขยายตัวของ GDP รายไตรมาสของประเทศกลุม BRICs yoy 10 7 .9 9 .0 8 .9 7 .7 7 .9 6 .8 6 .0 6 .1 6 .8 6 .1 5 .85 .8 5 1 .3 1 .2 0 B ra zil -1 .2 R u s s ia In d ia C h in a -5 -1 .8 -1 0 -8 .9 -9 .8 -1 0 .9 -1 5 Q 3 /0 8 Q 4 /0 8 Q 1 /0 9 Q 2 /0 9 Q 3 /0 9 ที่มา: Bloomberg
  • 6. 80 85 90 95 100 105 110 115 120 In d ex Jan-06 Feb-06 Mar-06 Apr-06 May-06 ที่มา: Bloomberg Jun-06 Jul-06 Aug-06 USA Sep-06 Oct-06 Nov-06 Dec-06 Jan-07 Feb-07 Mar-07 Apr-07 May-07 Jun-07 Jul-07 OECD Leading Indicators E u ro Area Aug-07 Sep-07 Oct-07 Nov-07 Dec-07 Jan-08 Feb-08 Mar-08 Apr-08 Japan May-08 Jun-08 Jul-08 Aug-08 Sep-08 Oct-08 Nov-08 Dec-08 Jan-09 Feb-09 Mar-09 Apr-09 May-09 Jun-09 Jul-09 Aug-09 All O E C D m em bers Sep-09 USA Jap an All O E C D m em b ers E u ro Area
  • 7. Asia Export Momentum Growth yo y C h in a T a iw a n M a la ys ia 60 S in g a p o re T h a ila n d Hongkong V ie tn a m S o u th K o re a 40 20 S o u th K o re a 0 -2 0 -4 0 -6 0 Apr-08 Apr-09 Aug-08 Aug-09 May-08 May-09 Nov-08 Nov-09 Mar-08 Mar-09 Jul-08 Dec-08 Jul-09 Jan-08 Feb-08 Jun-08 Sep-08 Oct-08 Jan-09 Feb-09 Jun-09 Sep-09 Oct-09 Source: Bloomberg
  • 8. เศรษฐกิจจีนในบริบทโลก ในป 2010-11 เศรษฐกิจจีนจะมีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก โดย SIU คํานวณจากฐานขอมูล กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF ,WEO October 2009) พบวาเศรษฐกิจจีนจะมีสัดสวน Contribution to Global Growth ในปค.ศ. 2010-11 ที่ 63.3 % และ 55.5 % ตามลําดับชี้วาการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกมากกวา ครึ่งหนึ่งขึ้นอยูกับการขยายตัวของเศรษฐกิจจีนเพียงประเทศเดียว กล า วได ว า ใน 2 ป ข า งหน า “จี น ” จะมี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการกํ า หนดการขยายตั ว ของเศรษฐกิ จ โลกจนกว า เศรษฐกิจของตะวันตกและญีปุนจะกลับมาขยายตัวอีกครั้ง (Normalization to Growth) ดังนั้น การจับตา เศรษฐกิจจีนจึงสามารถสะทอนภาวะการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกได Goldman Sachs ประเมิน ณ วันที่ 4 ธ.ค. 2552 (The Long-Term Outlook for the BRICs and N-11 Post Crisis) ชี้วา เศรษฐกิจจีนจะแซงหนาสหรัฐฯ เปนเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญที่สุดในโลกในป ค.ศ. 2027 ความสัมพันธของเศรษฐกิจ สหรัฐฯ-จีน เปนแกนกลางของปรากฏการณ Global Imbalance ซึ่งกระบวนการ Re-balancing หลังวิกฤติเศรษฐกิจโลกมีความเสี่ยงที่จะลาชากวานักวิเคราะหทั่วโลกคาดการณเนื่องจาก เศรษฐกิจจีนมีการออมที่สูงผิดปรกติและเปนการยากที่จีนจะลดระดับการออมและเปลี่ยนเปนการบริโภคใน ขณะที่สหรัฐฯ แมวาการออมจะเริ่มตนขึ้นและการบริโภคจะลดลงแตในดานการคาระหวางประเทศ สหรัฐฯยัง ไมแสดงถึงการลดการขาดดุลการคาอยางจริงจังและตอเนื่องเพราะจีนกําหนดคาเงินหยวนคงที่กับคาเงิน ดอลลารสหรัฐฯ เมื่อคาเงินดอลลารสหรัฐฯออนคาสงผลใหคาเงินหยวนออนคาตามไปดวย ในป ค.ศ. 2010-11 สหรัฐฯจําเปนที่จะตองกดดันจีนในเรื่องของอัตราแลกเปลี่ยนมากขึ้นกวาที่เปนอยูโดยแรง กดดันจีนในเรื่องคาเงินหยวนนี้จะมีสหภาพยุโรปเขากดดันจีนดวย ในขณะที่จีนเองเนื่องจากไมสามารถใชการ บริ โ ภคปรั บ เศรษฐกิ จ จี น เองให ส มดุ ล ได ดั ง นั้ น จี น จํ า เป น ที่ จ ะต อ งใช ก ารลงทุ น ภาครั ฐ เป น ตั ว ขั บ เคลื่ อ น เศรษฐกิจใหมากขึ้นกวาที่เปนอยู สงผลใหทางจีนเองมีแรงจูงใจที่จะปรับคาเงินหยวนใหแข็งคาขึ้นเพื่อใหคาเงิน หยวนสูงขึ้นและเพิ่มอํานาจซื้อของจีนใหมากขึ้นกวาที่เปนอยู
  • 9. การเมืองจีน จีน กําลังอยูในระหวางคนหาผูนําการเมืองรุน 5 ที่จะดํารงประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีตอจากนาย หูจิน เตา และนายเวิ น เจี ย เป า ที่ จ ะหมดอํ า นาจ ค.ศ.2012-13 โดยนั ก วิ เ คราะห ก ารเมื อ งประเมิ น ว า รอง ประธานาธิบดี สีจิ้นผิง และรองนายกรัฐมนตรี นายหลี่ เคอเฉียงจะดํารงตําแหนงสืบตอจากนายหู และนาย เวินตามลําดับ SIU ประเมินวาการสืบตออํานาจทางการเมืองนี้จะกอใหเกิดเสถียรภาพในการสืบทอด ตําแหนงเพราะผูนํารุน 5 ในปจจุบันนี้ลวนแตทํางานในระดับที่มีความสําคัญและรองลงมาจากประธานาธิบดี และนายกรัฐมนตรี ความสัมพันธระหวางจีนและไตหวันมีแนวโนมดีขึ้นมากหลังจากที่พรรคการเมืองกกมินตั๋ง ซึ่งมีนโยบายสาน สัมพันธกับจีนขึ้นมามีอํานาจในขณะที่อดีตผูนําการเมืองไตหวันที่มีนโยบายเปนปรปกษกับจีนคนสําคัญ ไดแก นายเฉิน สุยเปยน หมดอํานาจและถูกดําเนินคดี ปญหาการเมืองของจีนที่แทจริงและอยูในวาระการประชุมกรมการเมืองซึ่งเปนที่ประชุมคณะผูบริหารสูงสุด ของประเทศจีนตลอดคือ 1) ปญหามณฑลซินเกียงโดยเฉพาะความขัดแยงเชิงชาติพันธุและศาสนาระหวาง “ฮั่น” และ “อุยกูร” 2) ปญหาการวางงานและอาจจะกอใหเกิดความไมสงบทางสังคม 3) ปญหาชองแคบ ไตหวัน SIU ประเมินวาจีนจะใชนโยบายที่แข็งกราวในมณฑลซินเกียงควบคูไปกับการกระตุนเศรษฐกิจ อยางตอเนื่องเพื่อลดปญหาการวางงาน SIU ประเมินวามณฑลซินเกียงอาจจะมีการปะทะระหวางชาวอุยกูรซึ่งเปนคนทองถื่นกับรัฐบาลจีนในป ค.ศ.2010-11 ซึ่งสงผลไมดีตอบรรยากาศธุรกิจในแถบตะวันตก
  • 10. IMF :China Saving and Consuption เศรษฐกิจจีนในชวงป ค.ศ.2000-8 ขยายตัวโดยการลงทุนและการบริโภคเปนหลักในขณะทีการสงออกสุทธิมีบทบาท นอยมาก เมื่อเปรียบเทียบกันระหวางป ค.ศ.2000 และป ค.ศ. 2008 พบวาในป 2008 การบริโภคเอกชนของจีนลดลง การลงทุน เพิ่มขึ้น การใชจายภาครัฐเพิ่มขึ้น SIU ประเมิ นว าการบริ โภคที่ ลดลงของจี นมาจากการออมที่ สู งขึ้น เนื่ องจากประเทศจี น ไม มีโครงขายทาง ประกันสังคม (Social Safety Net) สงผลใหคนจีนตองออมเงินเพื่อดูแลตัวเองยามเกษียณ ยามวางงานและยามเจ็บ ไข ไ ด ป ว ย ดั ง นั้ น การที่ ห วั ง ว า จี น จะบริ โ ภคมากขึ้ น และสั่ ง สิ น ค า สํ า เร็ จ รู ป เพื่ อ ตอบสนองวิ ถี ชี วิ ต ชนชั้ น กลาง เชนเดียวกับยุโรปและสหรัฐจึงอาจจะไมถูกตองนัก
  • 11. -5 0 5 10 15 -15 -10 2000Q1 2000Q2 2000Q3 2000Q4 2001Q1 2001Q2 2001Q3 2001Q4 2002Q1 Source: IMF October 2009 2002Q2 2002Q3 2002Q4 2003Q1 2003Q2 2003Q3 2003Q4 2004Q1 2004Q2 2004Q3 2004Q4 2005Q1 2005Q2 2005Q3 2005Q4 2006Q1 2006Q2 การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนเหนือกวา BRICs และ G-3 2006Q3 2006Q4 2007Q1 2007Q2 2007Q3 2007Q4 2008Q1 2008Q2 2008Q3 2008Q4 2009Q1 2009Q2 2009Q3 2009Q4 2010Q1 2010Q2 2010Q3 2010Q4 USA Area Euro India Brazil China Japan World Projected by IMF Oct 2009
  • 12. Contribution to Growth of Global Economy Source: IMF October 2009 จากฐานขอมูลของ IMF พบวาอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในชวงป 2010 เปนตนไปจะมาจากประเทศจีนเปน สําคัญ ในขณะที่สหรัฐอเมริกาและประเทศพัฒนาแลวจะมีสวนในการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในอัตราที่ต่ําลงเมื่อเทียบ กับอดีตสะทอนวาบทบาททางเศรษฐกิจของจีนจะทวีความสําคัญมากขึ้นในอนาคต
  • 13. Goldman Sachs Long-Term Outlook for China Source: Goldman Sachs - “The Long-Term Outlook for the BRICs and N-11 Post Crisis” : December 2009 Goldman Sachs ประเมินวาดวยอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในชวงป ค.ศ. 2011-20 ที่อัตรา 7.9 % และชวงปค.ศ. 2021-30 ที่อัตรา 5.7 % จะผลักดันใหเศรษฐกิจจีนมีขนาดใหญที่สุดในโลกมากกวา สหรัฐอเมริกาในป ค.ศ. 2027 เปนตนไป