SlideShare a Scribd company logo
1 of 285
การวิจัย
ทาง
สังคมศาสตร์
1
การค้นหาความรู้แบบ
ดั้งเดิม
1. จากการบอกเล่า
2. จาการยอมรับที่เป็นข้อ
ตกลง
3. จากความเชื่อ
ผลจากข้อค้นพบทำาให้มีการใช้
ความเป็นเหตุเป็นผล
2
การใช้ความเป็นเหต
เป็นผล
ในการค้นหาความรู้
1. การใช้เหตุผลแบบอนุมาน (Deductive
Reasoning)
(1) ใช้จากข้อเท็จจริงหลัก (Major
Premise)
(2) ใช้ข้อเท็จจริงรอง (Minor Premise)
(3) ใช้จากข้อสรุป (Conclusion)
(เป็นวิธีทีมีข้อผิดพลาดได้ง่าย)3
ความคลาดเคลื่อนที่
เกิดขึ้น
จาการใช้ความเป็นเหตุ
เป็นผล
1. การสังเกตที่ขาดความแม่นยำา
2. การสรุปอ้างอิงเกินข้อค้นพบ
3. การเลือกสังเกตเพียงบาง
เหตุการณ์
4. การสร้างสารสนเทศขึ้นก่อน
4
การค้นหา
ความรู้
ด้วยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ 5
เริ่มจากการที่ ชาลส์ ดาวิน ที่
นำาการใช้เหตุผลเชิง
อนุมานควบคู่ไปกับการใช้เหตุผล
แบบอุปมาน โดย
(1) ศึกษาสภาพปัญหา
(2) วิเคราะห์ข้อมูล
(3) สร้างสมมุติฐาน
(4) รวบรวมข้อมูลเพื่อนำามายืนยัน
ความถูกต้องของ
สมมุติฐาน 6
วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์
(Scientific Method)
เป็นวิธีการที่มีการพิสูจน์ระบบความ
คิดที่รวบรวมไว้ได้ใน
จุดเริ่มต้นด้วยข้อมูลหรือหลักฐาน
นำามาสรุปผล โดยมี
ขั้นตอน ดังนี้
1. การใช้เหตุผลเชิงอนุมาน
7
2. การเชื่อมโยงเหตุผลเชิงอนุมาน
เข้ากับเหตุผลเชิงอุปมาน
(1) วางแผนดำาเนินงาน
(2) ออกแบบวิธีศึกษา
3. การใช้เหตุผลเชิงอุปมาน
(1) การเก็บรวบรวมข้อมูล และหลัก
ฐานเพื่อ
ยืนยันสมมุติฐานที่วางไว้
(2) การวิเคราะห์ข้อมูล
8
การวิจัย
(Research)
9
การวิจัยทาง
สังคมศาสตร์
ความหมาย กระบวนการ
แสวงหาความรู้ ข้อเท็จจริง
ด้วยวิธีการที่เป็นระบบ มี
แบบแผนตามแนวทางของ
วิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้
ได้ความรู้ หรือ
10
ความรู้ของนักวิจัยทาง
สังคมศาสตร์
นักวิจัยที่จะสามารถทำาการวิจัย
ทางสังคมศาสตร์ได้
ต้องมีความรู้ ดังนี้
1. ความรู้ในสาขาวิชาที่ต้อง
ทำาการวิจัย
2. ความรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธี
11
จุดมุ่งหมายของการ
วิจัย
1. เพื่อการบรรยาย
(Description)
2. เพื่อการอธิบาย (Explanation)
3. เพื่อการทำานาย (Prediction)
4. เพื่อการควบคุม (Control)
12
ประโยชน์ของการวิจัย
ทางสังคมศาสตร์
1. ทำาให้ข้อค้นพบที่ทำาให้ผู้อื่นมี
ความเข้าใจและยอมรับ
2. เป็นข้อมูลที่สามารถนำามาใช้
ประโยชน์ในการกำาหนด
นโยบายและการวางแผน
3. ทำาให้เกิดการยอมรับในการ 13
ลักษณะการศึกษา
การวิจัยทาง
สังคมศาสตร์
1. การศึกษาถึงความอยู่รอดหรือ
การดำารง
อยู่ขององค์กรหรือกลุ่ม
บุคคลทางสังคม
2. การศึกษาถึงการเจริญเติบโต
หรือการขยาย 14
คุณภาพของงาน
วิจัย
1. ความรู้ของนักวิจัย
2. ความคิดริเริ่มของนักวิจัย
3. ความสามารถในการวิเคราะห์
หรือสังเคราะห์
ของนักวิจัย
4. จรรยาบรรณของนักวิจัย
(1) ความซื่อสัตย์ในการดำาเนินงาน
(2) การไม่ล่วงละเมินสิทธิของ 15
ประเภทของ
การวิจัย
ทาง
สังคมศาสตร์ 16
การแบ่งตามจุดมุ่ง
หมาย
1. การวิจัยเชิงพยากรณ์
(Predicting)
เป็นการวิจัยที่มุ่งถึงเหตุการณ์ใน
อดีตจนถึงปัจจุบัน
เพื่อใช้ทำานายอนาคต
2. การวิจัยเชิงวินิจฉัย
(Diagnosis)
เป็นการวิจัยที่มีเป้าหมายในการ 17
การแบ่งตามประโยชน์
ของการใช้
1. การวิจัยพื้นฐาน (Basic Research)
เป็นการวิจัยที่มุ่งพัฒนาทาง
แนวคิดโดยยังไม่มีจุดหมาย
แน่นอนของการนำาไปใช้
2. การวิจัยประยุกต์ (Applied
Research)
เป็นการวิจัยที่มุ่งหมายการนำา
18
การแบ่งตามวิธี
รวบรวมข้อมูล
1. การวิจัยเอกสาร
(Documentary)
2. การวิจัยจาการสังเกต
(Observation)
3. การวิจัยแบบสำามะโน (Census)
โดยการรวบรวมข้อมูลจากทุก
หน่วยของประชากร 19
แบ่งตามสาขาวิชา
1. การวิจัยเชิงประเมิน
(Evaluation Research)
2. การวิจับเชิงนโยบาย
(Policy Research)
3. การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
(Historical Research)
20
แบ่งการควบคุมตัวแปร
แทรกซ้อน
1. การวิจัยไม่ทดรอง (Non-
Experimental)
เป็นการวิจัยตามสภาพที่เป็น
ไปตามธรรมชาติ
(1) การวิจัยเชิงพรรณนา
(Descriptive)
(2) การวิจัยเชิงความสัมพันธ์
21
แบ่งตามประเภทการ
วิจัย
1. การศึกษาเฉพาะกรณี (Case
Study)
2. การสำารวจ (Survey)
3. การทดรอง (Experimental)
22
แบ่งตามชนิดของ
ข้อมูล
1. การวิจัยเชิงปริมาณ
(Quantitative)
เป็นการวิจัยที่ศึกษาข้อมูลที่
สามารถแจงนับได้
และอาศัยเทคนิคทางสถิติมา
ช่วยวิเคราะห์ข้อมูล 23
แบ่งตามระยะเวลา
การศึกษา
1. การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
(Historical)
2. การวิจัยภาคตัดขวาง (Cross-
Section)
วิจัยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
กับกลุ่ม
เป้าหมายจำานวนมาก 24
แบ่งตามความซับซ้อน
ของการศึกษา
1. การวิจัยบุกเบิก (Exploratory)
2. การวิจัยเชิงบรรยาย
(Descriptive)
3. การวิจัยเชิงความสัมพันธ์
(Correlation)
4. การวิจัยเชิงเหตุและผล (Causal)
(1) การศึกษาโดยการสร้าง 25
ความแตกต่าง
ของการวิจัย
เชิงปริมาณและ
26
1. ความแตกต่างด้านแนวคิด
2. สมมุติฐานการวิจัย
3. การสุ่มตัวอย่าง
4. ผลของการสุ่มตัวอย่าง
5. ชนิดของข้อมูล
6. การเก็บรวบรวมข้อมูลเมื่อ
ใช้ข้อมูลปฐมภูมิ
7. ผลการเก็บรวบรวมข้อมูล
8. การวิเคราะห์ข้อมูล 27
ความแตกต่างด้าน
แนวคิด
การวิจัยเชิงปริมาณ เป็นการวิจัย
ที่มีความเชื่อแนวคิด
แบบวิทยาศาสตร์ที่สนใจการ
อธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นด้วย
วิธีการคณิตศาสตร์ และเชื่อว่า
วิธีการแสวงหาความรู้
ที่ดีที่สุดคือ การใช้วิธีการทาง 28
การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการวิจัยที่
มีความเชื่อพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์
เกี่ยวกับการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ
ที่เกิดขึ้นตลอดช่วงเวลาที่ศึกษา เพื่อ
สร้างข้อสรุป โดยให้ความสำาคัญใน
ด้าน
(1) ข้อมูลที่เป็นพฤติกรรมที่
สังเกตได้
(2) ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็นของ
มนุษย์
(3) การกำาหนดคุณค่าของสิ่ง 29
ความแตกต่างด้าน
สมมติฐานการวิจัย
(Hypothesis)
1. เชิงปริมาณ ถูกกำาหนดขึ้นก่อน
ที่จะเก็บรวบรวมข้อมูล
และนำาผลจากข้อมูลที่เก็บ
รวบรวมได้มาทำาการ
วิเคราะห์เพื่อพิสูจน์สมมติฐาน
30
ความแตกต่างด้านการ
สุ่มตัวอย่าง
(Sampling)
1. เชิงปริมาณ เป็นการสุ่มโดย
อาศัยความน่าจะเป็น
เช่น การสุ่มอย่างง่าย (Simple
Random)
การสุ่มแบบจำาแนกให้
31
ความแตกต่างของผล
การสุ่มตัวอย่าง
1. เชิงปริมาณ
(1) ช่วยลดความคลาดเคลื่อนจากการ
สุ่มตัวอย่าง
(2) สามารถควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้
(3) ไม่มีความผูกพันระหว่างผู้วิจัยกับ
กลุ่มตัวอย่าง
หรือประชากรที่ศึกษา
2. เชิงคุณภาพ
(1) มีความคลาดเคลื่อนจากการเลือก 32
ความแตกต่างชนิด
ของข้อมูล
1. เชิงปริมาณ นิยมใช้ข้อมูลปฐม
ภูมิ
2. เชิงคุณภาพ ใช้ทั้งข้อมูลปฐม
ภูมิและทุติยภูมิ
33
ความแตกต่าง
ด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล
เมื่อใช้ข้อมูลปฐมภูมิ
1. เชิงปริมาณ การใช้
แบบสอบถาม การสัมภาษณ์
การสังเกต และการ
ศึกษาจากสถานที่
2. เชิงคุณภาพ การสังเกต การ 34
ความแตกต่าง
ด้านผลการเก็บ
รวบรวมข้อมูล
1. เชิงปริมาณ ได้เฉพาะข้อมูลที่
กำาหนดไว้เท่านั้น ทำาให้
มีโอกาสขาดรายละเอียดที่
สำาคัญอื่นๆ
2. เชิงคุณภาพ ได้ข้อมูลทุก 35
ความแตกต่างด้านการ
วิเคราะห์ข้อมูล
1. เชิงปริมาณ
(1) ใช้สถิติบรรยาย (Descriptive)
(2) ใช้สถิติอนุมาน (Interferential)
(3) การวิเคราะห์มีความเป็นปรนัย
เข้าใจง่าย
2. เชิงคุณภาพ
(1) ใช้สถิติบรรยายประกอบการ
วิเคราะห์โดยใช้ความ
เป็นเหตุเป็นผล 36
37
การวิจัยเชิง
ทดลอง
(Experimental Research)
38
หลักการที่สำาคัญ
ของการวิจัยเชิง
ทดลอง
1. การสุ่ม (Randomization)
2. การจัดกระทำาตัวแปร
(Manipulation)
3. การควบคุม (Control)
39
การสุ่ม
(Randomization)
เป็นการควบคุมตัวแปร
แทรกซ้อนที่เกิดจากกลุ่มตัวอย่าง
และวิธีการทดลอง มี 2 ขั้นตอน
1. การสุ่มจากประชากร (Random
Selection)
เป็นการสุ่มแต่ละหน่วยของ
ตัวอย่างประชากร ที่ทุก
40
การจัดกระทำา
ตัวแปร
(Manipulation)
เป็นการกำาหนดตัวแปรที่ใช้
ดำาเนินการทดลอง โดยตัวแปร
อิสระ (Independent Variable) ในการ
วิจัยเชิงทดลองเป็นตัวแปรที่เรียก
ว่า Active Variable ซึ่งผู้วิจัยจัด
41
การควบคุม (Control)
เป็นการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อ
นอื่นๆที่จะเกิดขึ้น
ในการทดลอง ซึ่งการทดลองทาง
สังคมศาสตร์จะเป็น
เรื่องที่ยาก เพราะมีผลในด้าน
จริยธรรมและการละเมิด
สิทธิมนุษยชน
42
รูปแบบของการวิจัย
เชิงทดลอง
1. Pre-experiment เป็นการดำาเนิน
การที่ใช้
กลุ่มตัวอย่างเพียงกลุ่มเดียว
2. Quasi-experiment ใช้กลุ่ม
ตัวอย่าง 2
กลุ่ม ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน
มาก มีกลุ่มหนึ่งเป็น
ขั้นตอนการ
วิจัย
ทาง
สังคมศาสตร์ 43
1. ขั้นตอนทางทฤษฎี
(1) การกำาหนดประเด็นปัญหา
การวิจัย
(2) การทบทวนทฤษฎี แนวคิด
และ
ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
(3) การกำาหนดวัตถุประสงค์ใน
การวิจัย
(4) การตั้งสมมุติฐานการวิจัย 44
2. ขั้นตอนทางภาคปฏิบัติ
(1) การสร้างเครื่องมือและตรวจ
สอบคุณภาพ
ของเครื่องมือ
(2) การเก็บรวบรวมข้อมูล
(3) การวิเคราะห์ข้อมูล
(4) การแปลผลและสรุปผลการ
วิจัย
(5) การเขียนรายงานการวิจัย45
46
การกำาหนดประเด็น
ปัญหาการวิจัย
1. ความแตกต่างระหว่างปัญหา
ทั่วไปและปัญหาวิจัย
2. ที่มาของปัญหาการวิจัย
3. การกำาหนดปัญหาการวิจัยด้วย
การวิเคราะห์
(1) ความเป็นเหตุเป็นผล
(2) องค์ประกอบงานและสภาพ
47
5. การเลือกใช้ประเภทการวิจัย
ให้เหมาะสมกับ
ปัญหาการวิจัย
6. การเขียนประเด็นปัญหาการ
วิจัย
7. ข้อบกพร่องของการกำาหนด
ประเด็นการวิจัย
8. การทำาให้หัวข้อปัญหาการ
วิจัยแคบลง
48
ความแตกต่างของปัญหา
ทั่วไปและปัญหาการวิจัย
(1) ปัญหาทั่วไป เป็นปัญหาที่
เกิดความขัดแย้ง
ระหว่างสถานการณ์ที่
เป็นจริงกับสถานการณ์
ที่คาดหวัง
(2) ปัญหาการวิจัย เป็น
ประเด็นที่นักวิจัยสงสัย
49
ที่มาของปัญหาการ
วิจัย
1. จากทฤษฎีต่างๆ
2. จากแนวคิดต่างๆ
3. จากประสบการณ์การทำางาน
4. จากงานวิจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
5. จากการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
6. จากความสนใจส่วนตัวของผู้
50
ปรากฏก
ารณ์
งาน
วิจัย
แนวคิด
ทฤษฎี
ความ
สนใจ
ประสบก
ารณ์
ผู้
เชี่ยวชา
ญ
คำา
สั่ง
ราย
ละเอียด
ของ
ปรากฏกา
รณ์
สาเหตุ
ผลที่
ตามมา
ศึกษาการ
เปลี่ยนแปลง
หรือแนว
โน้ม
ศึกษาความ
แตกต่าง
ระหว่าง
ประชากร
พื้นที่
ศึกษาราย
ละเอียด
เพื่อการ
บรรยายศึกษาความ
สัมพันธ์
ศึกษาความ
แนวทาง
แก้ไข
เวลา กลุ่มประชากร หรือ
สภาพทางภูมิศาสตร์
51
การกำาหนดปัญหา
การวิจัย
ด้วยการวิเคราะห์ความ
เป็นเหตุเป็นผล
1. จากรายละเอียดเกี่ยวกับ
ปรากฏการณ์ที่สนใจ
2. จากการศึกษาผลที่เกิดจาก
ปรากฏการณ์
52
การกำาหนดประเด็น
ปัญหา
ผู้วิจัยสามารถกำาหนดประเด็น
ปัญหาได้จาก
1. การศึกษาเจาะลึกในรายละเอียดของ
สถานการณ์
2. การศึกษาสาเหตุของการเกิด
สถานการณ์
(1) การศึกษาระดับความสัมพันธ์ระหว่าง
สถานการณ์กับสาเหตุ
(2) การศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
53
การกำาหนดปัญหาการวิจัย
ด้วยการวิเคราะห์
องค์ประกอบงานและ
สภาพการดำาเนินงาน
1. ประเด็นที่เกิดขึ้นก่อนการ
ดำาเนินงาน
2. ประเด็นที่เกิดขึ้นระหว่าง
การดำาเนินงาน
54
การกำาหนดปัญหาการวิจัย
ด้วยการวิเคราะห์
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการ
ดำาเนินงาน
เป็นการมุ่งค้นหาความรู้เพื่อ
แก้ไขสภาพการดำาเนินงาน
ที่เป็นอยู่ หรือที่เรียกว่า การวิจัย
เชิงปฏิบัติการ
55
การสังเกต
ปัญหาที่เกิดขึ้น
การศึกษาข้อมูลเบ้องต้นเพื่อ
ยืนยันสภาพปัญหา
การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง
เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหา
การออกแบบ
การวิจัย
การทดลองใช้
แนวทางแก้ปัญหา
เก็บข้อมูลที่ได้รับ
และวิเคราะห์ข้อมูล
ได้ผลตามที่
ต้องการ
ไม่ได้ผลตาม
ที่ต้องการ
สรุปผล-เขียนรายงาน
และนำาไปใช้ปฏิบัติ
กาปรับ
แบบ
ได้ผลตามที่ ไม่ได้ผลตาม
การทดลอง
ใช้ครั้งที่ 2
56
วงจรต่อเนื่องของการ
วิจัยเชิงปฏิบัติการ
การ
สะท้อน
ผล
การปฏิบัติ
ตามแผน
การ
สะท้อน
ผล
การปฏิบัติ
ตามแผน
การ
วางแผน
การ
วางแผน
การติดตามและ
ประเมินผล
การติดตามและ
ประเมินผล
57
การประเมินหัวข้อ
ปัญหาที่จะทำาการวิจัย
1. พิจารณาด้านผู้ทำาการวิจัย โดย
พิจารณาจาก
(1) เรื่องที่ผู้วิจัยสนใจ
(2) ความสามารถของผู้วิจัย
(3) ความรู้ของผู้วิจัย
(4) ข้อจำากัดเรื่องเวลา
(5) แหล่งข้อมูล
(6) ความร่วมมือของผู้
58
2. พิจารณาด้านสังคม
(1) เป็นเรื่องวิกฤตของปัญหา
(2) เป็นงานเสริมความรู้ใหม่
(3) เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน
(4) ไม่ซำ้าซ้อนกับงานวิจัยอื่น
(5) เป็นการศึกษาต่อจากงานวิจัย
อื่นเพื่อให้ครบวงจร
(6) เป็นผิดต่อศีลธรรมหรือไม่
ละเมิดสิทธิของบุคคลอื่น
59
การเลือกใช้ประเภท
ของการวิจัย
ให้เหมาะกับประเด็น
ปัญหาการวิจัย
1. จุดมุ่งหมายการทำาวิจัย
2. เงื่อนไขและข้อจำากัดในการ
ทำาการวิจัย
3. การควบคุมสถานการณ์ใน
60
การเขียนประเด็นปัญหา
ในรายงานวิจัย
1. มีหัวข้อประเด็นปัญหาในบทที่ 1
และเขียนในรูป
ประโยคคำาถาม
2. เขียนรวมอยู่ในหัวข้อความเป็น
มาและความสำาคัญ
ของปัญหา โดยไม่พบข้อความ
61
ข้อบกพร่อง
ของการกำาหนดประเด็น
ปัญหาการวิจัย
1. กำาหนดปัญหากว้างเกินไปทำาให้ไม่
ทราบว่าจะเริ่มต้นอย่างไร
2. ผู้วิจัยไม่ได้วิเคราะห์ปัญหาให้ถูก
ต้อง ทำาให้เข้าใจ
คลาดเคลื่อนจากจุดเริ่มต้น
3. ผู้วิจัยขาดความสนใจในการ
62
การทำาให้หัวข้อการ
วิจัยแคบลง
1. ระบุประเด็นย่อยที่ต้องการ
ศึกษาให้ชัดเจน
2. ระบุกลุ่มเป้าหมายที่จะทำาการ
ศึกษา
3. ระบุทิศทางให้ชัดเจนเกี่ยวกับ
(1) รายละเอียดของปัญหา (2)
สาเหตุของปัญหา
63
การตั้งชื่อในเรื่อง
วิจัย
1. ควรตั้งชื่อที่เป็นกลาง และ
ชัดเจน
2. มีการกำาหนดขอบเขตการวิจัย
ที่ชัดเจน
(1) ทางภูมิศาสตร์ (2) เวลา
(3) ประเภทการวิจัย (4)
ขอบเขตทางวิชาการ
64
การเขียนวัตถุประสงค์
การวิจัย
1. ต้องสอดคล้องกับปัญหาการ
วิจัย
2. มีความเป็นไปได้ที่จะได้คำาตอบ
จากการวิจัยครั้งนี้
3. สามารถเข้าใจได้ง่าย
4. ใช้ประโยคบอกเล่า
5. มีองค์ประกอบ ES-SMART
65
การทบทวน
เอกสารที่
เกี่ยวข้องกับงาน
วิจัย
66
การอ้างอิงเชิง
ทฤษฎี
(Theoretical Reference)
เป็นการนำาผลจากการค้นคว้าจาก 1.
ทฤษฎี (Theory)
2. แนวคิด (Paradigm) และ 3. ผลงาน
วิจัยที่เกี่ยวข้อง
มาใช้อ้างอิงในขั้นตอนต่างๆของการ
วิจัย ประกอบด้วย
1. การกำาหนดประเด็นปัญหาการวิจัย
67
การอ้างอิงเชิง
ประจักษ์
(Empirical Reference)
เป็นการนำาผลการรวบรวมข้อมูลที่ผู้
วิจัยได้จาดสภาพ
ข้อเท็จจริงมาเทียบเคียงกับขั้นตอน
ต่างๆของการอ้างอิง
ทางทฤษฎี ประกอบด้วย
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีความ
ถูกต้อง
68
ประโยชน์ของการทบทวน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. ป้องกันการวิจัยที่ซำ้าซ้อน
2. สามารถกำาหนดขอบเขต
การวิจัยที่ชัดเจน
3. ผู้วิจัยสามารถเสนอแนวคิด
และทฤษฎี
การวิจัยได้ถูกต้อง
4. เตรียมการป้องกัน
69
แหล่งเอกสารและผลงาน
วิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. หนังสือทั่วไป (General Books)เช่น ตำาร
ต่างๆ
2. หนังสืออ้างอิง (Reference Books) เช่น
สารานุกรม
(Encyclopedia)หนังสือรายปี (Year-book) อักขรนุกรม
ชีวประวัติ
(Bibliographical Dictionaries) บรรณานุกรม Bibliographies)
ดัชนีวารสาร (Periodical Indexes) นามานุกรม (Directorie
3. วิทยานิพนธ์ (Thesis)
70
การกำาหนดประเด็นใน
การทบทวนเอกสาร
1. มีความละเอียดรอบคอบ
2. ใช้เวลาที่เหมาะสม
3. ไม่ส่งผลทำาให้งานวิจัย
ล่าช้า
4. สอดคล้องกับการนำาไปใช้
ในงานวิจัย
71
ขั้นตอนการรวบรวม
เอกสารเพื่อใช้ในงานวิจัย
1. การค้นข้อมูล : จากบัตรชื่อเรื่อง
ผู้แต่ง ฯ
2. การเลือกเอกสารและรายงาน
การวิจัย จาก
(1) แหล่งข้อมูล : ปฐมภูมิ หรือ
ทุติยภูมิ
(2) ความน่าเชื่อถือของผู้แต่ง
72
4. การบันทึกข้อมูล ควรบันทึกเกี่ยวกับ
(1) ชื่อผู้แต่ง ผู้วิจัย หรือคณะผู้วิจัย (2) ชื่อหัว
เรื่อง ชื่อหนังสือหรือวารสาร
(3) วัตถุประสงค์การวิจัย (4) วิธีวิจัย เช่น การ
กำาหนดกลุ่มตัวอย่าง การ
รวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ (5) ผลการ
วิจัยตรงตามสมมติฐานหรือไม่
(6) ฉบับที่ (7) สถานที่พิมพ์ (8) ชื่อโรงพิมพ์ (9) ปีท
พิมพ์
5. การสังเคราะห์ข้อมูล โดยมุ่งเน้นเกี่ยว
กับ
(1) ประเด็นที่ควรศึกษา โดยการจัดเรียงตาม
73
การวิเคราะห์และ
การสังเคราะห์
การวิจัยทาง
74
การวิเคราะห์และการ
สังเคราะห์การวิจัย
การวิเคราะห์การวิจัย (Research
Analysis)
1. แยกขั้นตอนในรายงานการวิจัย
2. แยกแยะรายละเอียดในแต่ละ
ขั้นตอนการวิจัย
3. ระบุความสอดคล้องระหว่างวิธี
การในแต่ละขั้นตอน
75
การเขียนรายงาน
การวิจัย
1. บทนำา (Background and
Justification)
2. การทบทวนเอกสารที่
เกี่ยวข้อง
(Literature Review)
3. วิธีดำาเนินงานวิจัย
(Methodology)
76
สมมติฐานและ
ตัวแปรการวิจัย
(Hypothesis & Variable)
77
สมมติฐานการวิจัย
(Research Hypothesis)
เป็นคำาคามที่คาดหวังในการ
วิจัย มีลักษณะที่ดี ดังนี้
1. เป็นคำาตอบที่ตรงประเด็น
ปัญหาการวิจัย
2. มีความชัดเจนมากพอที่จะ
พิสูจน์หรือทดสอบ
3. สามารถทดสอบได้ภายในระยะ
78
ประโยชน์ของ
สมมติฐานการวิจัย
1. ช่วยกำาหนดขอบเขตการวิจัย
2. ช่วยผู้วิจัยสามารถเลือกใช้
ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
3. ช่วยกำาหนดตัวแปรที่ใช้ในงาน
วิจัย
4. ช่วยให้ผู้วิจัยเลือกรูปแบบการ
วิจัยที่เหมาะสม
79
หลักการเขียน
สมมติฐานการวิจัย
1. เขียนในบทที่ 1 บทนำา
2. เขียนในบทที่ 2 การทบทวน
เอกสาร
3. เป็นคำาตอบที่สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์งานวิจัย
4. เขียนในลักษณะประโยคบอกเล่า
5. อาจจะมีหรือไม่มีทิศทางของความ
สัมพันธ์
80
ลักษณะของ
สมมติฐานการวิจัย
1. ศึกษาจากตัวแปรตัวเดียวแต่
ต้องการเปรียบเทียบ
ในประชากรตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้น
ไป โดย
(1) กำาหนดทิศทางของความ
แตกต่าง
(2) ไม่กำาหนดทิศทางของความ
81
ตัวแปรการวิจัย
(Variable)
ตัวแปร คือลักษณะ
(Characteristic) คุณลักษณะ (Attribute)
หรือสถานการณ์ (Situation) หรือสิ่งที่
มีค่าแปรเปลี่ยนได้ ซึ่งสามารถ
สังเกตได้จาก
1. ชื่อเรื่องการวิจัย
2. วัตถุประสงค์การวิจัย
82
ประเภทของตัวแปร
1. แบ่งตามอิทธิพลของตัวแปรหนึ่งที่
มีต่ออีกตัวแปรหนึ่ง
(1) ตัวแปรอิสระ (Independent) คือ
ตัวแปรที่
เกิดขึ้นโดยไม่จำาเป็นต้องมี
ตัวแปรอื่นเกิดขึ้นมาก่อน
(2) ตัวแปรตาม (Dependent) เป็นตัวแปร
ที่เป็น
ผลมาจากการเกิดขึ้นของตัวแปร
อื่น
83
3. แบ่งตามภาระแทรกซ้อนของ
ตัวแปร
(1) ตัวแปรแทรกซ้อน (Extraneous V.)
คือตัวแปรที่
ไม่ต้องการศึกษา โดยผู้วิจัยทราบ
ล่วงหน้า และพยาม
ที่จะควบคุม
(2) ตัวแปรสอดแทรก (Intervening V.)
เป็นตัวแปรที่ไม่
ต้องการศึกษา แต่มีอิทธิพลต่อ
ตัวแปรที่ทำาการศึกษา โดย
84
4. แบ่งตามความต่อเนื่องของค่าตัว
แปร
(1) ตัวแปรต่อเนื่อง (Continuous V.) คือ
ตัวแปรที่
มีค่าเป็นไปได้อย่างต่อเนื่องใน
ช่วงของค่าที่ตัวแปรนั้น
จะเป็นไปได้
เช่น นำาหนัก 50-51 ก.ก. จะมีค่า
ระหว่างทั้งสองเท่ากับ
50.1-50.2-50.3------50.9 เป็นต้น
(2) ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง (Discrete V.) เป็น
85
ความผิดพลาดในการ
กำาหนดตัวแปร
1. ผู้วิจัยไม่เข้าใจความหมาย
ตัวแปร
2. การขาดทักษะหรือจิตวิทยา
เกี่ยวกับตัวแปร
3. การขาดการทบทวนเอกสารที่
เกี่ยวข้อง
4. ความบกพร่องในการใช้ภาษา
86
การวัดตัวแปร
1. ต้องทราบถึงคำานิยามตัวแปร ทั้ง
ความหมาย และ
รายละเอียดของตัวแปร
2. ต้องทราบถึงระดับตัวแปร
(1) เชิงปริมาณ มี 4 ระดับ ได้แก่
- มาตรนามบัญญัติ (Nominal Scale)
- มาตรอันดับ (Ordinal Scale)
- มาตรอันตรภาค (Interval Scale)
- มาตรอัตราส่วน (Ratio Scale)
(2) เชิงคุณภาพ มาตรการวัดเป็นการ
87
3. เครื่องมือที่ใช้วัดตัวแปร
(1) แบบสังเกต
(2) แบบสัมภาษณ์
(3) แบบสอบถาม
(4) การเข้าไปมีส่วนร่วมในเป้า
หมายที่จะศึกษา
(5) การศึกษาจากสถานที่จริง
88
การออกแบบ
การวิจัย
(Research Design)
89
ความหมาย
1. แบบแผนและโครงสร้างของการ
ศึกษาที่ทำาให้ได้
คำาตอบของปัญหาการวิจัย
2. การกำาหนดรูปแบบ ขอบเขต
และแนวทางการวิจัย
เพื่อให้ได้มาซึ่งคำาตอบหรือ
ข้อความรู้ตามปัญหา
หารวิจัยที่ตั้งไว้
90
จุดมุ่งหมายของการ
ออกแบบการวิจัย
1. เพื่อให้ได้คำาตอบปัญหาการวิจัยที่
มีความตรง ความเป็น
ปรนัย ความแม่นยำา และประหยัด
ทรัพยากร
2. เพื่อควบคุมความแปรปรวน ได้แก่
ความแปรปรวนของ
(1) ตัวแปรที่มีค่าสูงสุด
91
จุดมุ่งหมายของการ
ออกแบบการวิจัย
1. เพื่อให้ได้คำาตอบปัญหาการวิจัยที่
มีความตรง ความเป็น
ปรนัย ความแม่นยำา และประหยัด
ทรัพยากร
2. เพื่อควบคุมความแปรปรวน ได้แก่
ความแปรปรวนของ
(1) ตัวแปรที่มีค่าสูงสุด
92
เกณฑ์ที่ใช้ในการ
ออกแบบการวิจัย
1. เพื่อให้ได้คำาตอบตรงปัญหาการ
วิจัย
2. เพื่อให้ได้ผลงานวิจัยที่มีความตรง
ทั้ง
(1) ความตรงภายใน (Internal
Validity) และ
(2) ความตรงภายนอก (External
93
ความตรงภายใน (Internal
Validity)
เป็นผลของการเปลี่ยนแปลงของ
ตัวแปรตามที่เป็นผลมาจาก
ตัวแปรอิสระ ที่ใช้ในการศึกษา
เท่านั้น
ปัจจัยที่มีผลต่อความตรง
ภายใน
1. ภูมิหลัง 2. วุฒิภาวะ 3.
การทดสอบ
94
ความตรงภายนอก (External
Validity)
เป็นผลการวิจัยที่สามารถอ้างอิงกลับ
ไปยังเนื้อหา สถานการณ์
ที่ใกล้เคียงกันและประชากรได้อย่าง
ถูกต้อง
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตรง
ภายนอก
1. ปฏิสัมพันธ์ของการคัดเลือกตัวอย่าง
กับวิธีการทดลอง
ที่ทำาให้ไม่สามารถสรุปผลการวิจัย
95
สิ่งที่ต้องคำานึงถึงในการ
ออกแบบการวิจัย
1. วัตถุประสงค์การวิจัย
2. สมมติฐานการวิจัยและตัวแปร
ที่เกี่ยวข้อง
3. ข้อจำากัดในการวิจัย ได้แก่
(1) งบประมาณ
(2) เวลาทำางานการวิจัย
(3) บุคลากร
96
ขั้นตอนของการออกแบบ
การวิจัย
1. กำาหนดขอบเขตการวิจัย
2. เลือกรูปแบบการวิจัย
3. ออกแบบการดำาเนินงาน
(1) ออกแบบการสุ่มตัวอย่าง
(2) ออกแบบการวัดตัวแปร
(3) ออกแบบการวิเคราะห์
ข้อมูล
97
ออกแบบการสุ่ม
ตัวอย่าง
หลักการ : ต้องเลือกที่เป็นตัวแทนที่ดี
ของประชากร และ
มาขนาดพอเหมาะทั้งทาง
ทฤษฎีและปฏิบัติ
วิธีการ : กลุ่มประชากรมีโอกาส
เท่าๆกันที่จะได้รับการคัดเลือก
โดยวิธี Probability Sampling
ใน 5 วิธี
98
การสุ่มตัวอย่าง
ด้วย
วิธี Non-Probability Sampling
กรณีที่วิธี Probability Sampling มีข้อ
จำากัด
อาจจะใช้วิธี Non-Probability Sampling
(Selection) ได้ โดยใช้วิธี
1. Purposive Selection
2. Accidental Selection
99
ขั้นตอนการออกแบบ
การวัดตัวแปร
1. ศึกษาลักษณะตัวแปรว่าเป็น
ตัวแปรเดียว
หรือตัวแปรรวม
2. กำาหนดรูปแบบและวิธีการ
ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน
3. กำาหนดลักษณะข้อมูลว่าเป็น
ปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ
100
เทคนิคการควบคุม
ตัวแปรแทรกซ้อน
1. Randomization : เพื่อให้กลุ่มตัวอย่าง
มีความเท่า
เทียมกัน โดยใช้วิธี
(1) Random Selection และ
(2) Random Assignment
2. Matching : เป็นการจับคู่ตัวอย่างที่มี
ลักษณะคล้ายกัน
3. Blocking : แยกกลุ่มตัวอย่างที่คล้ายกัน
101
วิธีการรวบรวม
ข้อมูล
1. การเลือกเครื่องมือที่เหมาะสม
(1) แบบสอบถาม (2) แบบสังเกต
(3) แบบทดสอบ (4) แบบบันทึก
ข้อมูล
2. กำาหนดรูปแบบคำาถามที่เหมาะ
สม
(1) แบบเติมคำา (2) แบบตัว
เลือก
102
ออกแบบการวิเคราะห์
ข้อมูล
1. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
(Quantitative)
(1) ชนิดสถิติที่ใช้ : สถิติบรรยาย
(Descriptive)
: สถิติเชิงอนุมาน
(Inferential)
(2) การเลือกใช้สถิติ : มาตรวัคตัวแปร
: ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง : ความเป็น
103
2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิง
คุณลักษณะ (Qualitative)
(1) Content Analysis เป็นการวิเคราะห์เนื้อหา
ของข้อมูลที่
รวมได้ทั้งหมด
(2) Pattern Matching เป็นการสร้างรูปแบบของ
ความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปรจากทฤษฎี แนวคิด และ
ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
(3) Explanation Building เป็นลักษณะหนึ่งของ
(2) ที่มีลักษณะ
แตกต่างออกไปตรงที่ต้องอธิบายถึง
104
การสร้าง
เครื่องมือ
ในการเก็บ
105
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการวิจัย
1. การทดสอบ (Testing) เก็บข้อมูล
เกี่ยวกับความรู้
ความสามารคของบุคคล
เครื่องมือคือ แบบทดสอบ
2. การสัมภาษณ์ (Interview) เครื่อง
มือคือ
แบบสัมภาษณ์
106
มาตรตัวแปร (Variable
Scale)
1. มาตรนามบัญญัติ (Nominal Scale) เป็น
มาตรจำาแนก
ประเภทหรือหมวดหมู่ของสิ่งต่างๆที่ไม่
สามารถเรียงลำาดับและ
บอกปริมาณได้ เช่น เพศ สีผิว
2. มาตรอันดับ (Ordinal Scale) สามารถบอก
ลำาดับได้แต่
ไม่สามารถบอกปริมาณความแตกต่าง
107
ขั้นตอนในการสร้าง
เครื่องมือ
1. ศึกษา ทบทวนทฤษฎี แนวคิด และ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดย
พิจารณา
(1) ความหมาย ลักษณะ และองค์
ประกอบของตัวแปร
(2) ชนิด และความเหมาะสมของ
เครื่องมือที่ใช้วัด
(3) วิธีสร้างและตรวจสอบคุณภาพ
108
5. สร้างข้อคำาถามจากนิยามเชิงปฏิบัต
การแล้วรวบรวม
เป็นแบบสอบถาม
6. นำาเครื่องที่กำาหนดไปทดลองใช้
7. นำาผลจากการทดลองใช้มา
วิเคราะห์ เพื่อตรวจสอบ
คุณภาพของเคราองมือ
8. ปรับปรุงเครื่องมือให้ได้คุณภาพเป็น
ที่พอใจ
109
สิ่งที่ควรคำานึงในการ
สร้างเครื่องมือ
1. ต้องทราบลักษณะตัวแปรที่จะสร้าง เช่น
(1) มีลักษณะทางกายภาพที่เป็นตัวแปรเดี่ยว:
เพศ อายุ
(2) มีลักษณะทางกายภาพที่เป็นตัวแปรรวม
เช่น
ปัจจัยทางสังคม ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
(3) มีลักษณะเป็นภาวะสันนิฐาน (Construct)
หรือคุณลักษณะแฝง
(Latent Trait) เช่น การยอมรับ
2. หากเป็นตัวแปรรวมหรือภาวะสันนิฐาน
110
การสร้าง
แบบสอบถาม
(Questionnaire)
111
ตัวแปรที่มีลักษณะ
กายภาพ
เป็นตัวแปรเดี่ยว
1. การนิยามตัวแปร (Definition)
(1) นิยามศัพท์ (Definition of Term)
2. การตั้งคำาถามจากตัวแปร
(1) การเติมคำา
(2) การเลือกตอบ
112
ตัวแปรที่มีลักษณะกายภาพ
เป็นตัวแปรรวม
1. การนิยามตัวแปรรวม (Definition)
(1) นิยามเชิงทฤษฎี (Conceptual) (2) นิยามเชิง
ปฏิบัติการ (OD)
2. การสร้างข้อคำาถาม
(1) คำาถามปลายปิด (Closed) : ตอบรับหรือ
ปฏิเสธ แบบเลือกตอบ
(2) คำาถามปลายเปิด (Opened)
3. พิจารณามาตรวัดที่ได้จากข้อคำาถาม
(1) มาตรอัตราส่วน (Ratio Scale)
113
ตัวแปรที่มีลักษณะเป็น
ภาวะสันนิษฐาน
1. ลักษณะตัวแปรสันนิษฐาน (Construct)
เกี่ยวกับ
(1) อารมณ์หรือความรู้สึก (2) เป็นลักษณะ
เฉพาะตัวของบุคคล
(3) มีทิศทางการแสดงออก (4) มีโอกาสที่จะ
เปลี่ยนแปลง
(5) มีระดับความมากน้อยของลักษณะแตก
ต่างกัน
(6) เป็นลักษณะของอารมณ์และความรู้สึกต่อ
สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
114
4. ขั้นตอนการสร้าง แบบวัด (Rating
Scale)
(1) การสร้างส่วนของข้อความ (Statement) ได้
มาจากนิยาม
เชิงทฤษฎี (Conceptual D) และเชิงปฏิบัติ
(OD)
(2) การสร้างตารางแสดงพฤติกรรมบ่งชี้ที่มี
หลายตัว (Composite
Indicators) ที่สามารถพิจารณาความตรง
ตามเนื้อหา
(Content Validity)
(3) การสร้างส่วนของคำาตอบ โดยใช้
115
: มาตรวัดที่ประเมินจากค่าคะแนนรวม
(Summated
Rating) เพื่อใช้วัดเจตคติ (Attitude) มี
ลักษณะเป็น
- ลักษณะบ่งชี้รวม (Composite Indicator)
- คะแนนที่ได้แต่ละข้ออยู่ในมาตร
อันดับ (Ordinal Scale)
- คะแนนรวมที่ได้อยู่ในมาตร
อันตรภาค (Interval Scale)
: มาตรแบบใช้คำาที่มีความหมายตรงข้าม
กัน (Sementic
Differential Scale) โดยมีคำาตอบเป็น 3
116
: มาตรวัดแบบแบ่งคะแนนรวม (Constant
Sum Scale)
เช่น แบ่งคะแนน 100 คะแนน เป็น
คุณภาพ 40 คะแนน
รูปแบบ 10 คะแนน สีสัน 20 คะแนน
และ ราคา 30 คะแนน
(4) การจัดวางข้อคำาถามในแบบวัด
หรือแบบสอบถาม
: การเรียงข้อคำาถาม
: การจัดข้อคำาถามเข้ากับส่วนอื่นของ
แบบสอบถาม
117
ลักษณะเครื่องมือวิจัยที่
ดี
1. มีความเที่ยง (Reliability)
2. มีความตรง (Validity)
3. มีความเป็นปรนัย (Objectivity)
4. มีความยากง่ายพอเหมาะแก่กลุ่ม
เป้าหมายที่นะเครื่องมือไปใช้
5. มีความยาวพอเหมาะกับเวลาและ
เนื้อหาที่ต้องการวัด
6. สามารถแบ่งแยกความแตกต่างใน
118
ประโยชน์การใช้
แบบสอบถาม
1. ทำาให้ได้ผลการตอบจากกลุ่มเป้า
หมายในลักษณะเดียวกัน
2. สามารถส่งทางไปรษณีย์ได้ เมื่อกลุ่ม
เป้าหมายมี
ลักษณะกระจัดกระจาย
3. ผู้ตอบมีอิสระในการตอบโดยไม่
จำากัดเรื่องเวลา
4. สามารถใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ เพื่อให
119
การสัมภาษณ์และ
การสังเกต
(Interview and Observation)
120
องค์ประกอบสำาคัญใน
การสัมภาษณ์
1. บทบาทของผู้สัมภาษณ์ จะขึ้นอยู่กับ
(1) จำานวน (2) บุคลิกภาพ
(3) ความรับผิดชอบ (4) การฝึกอบรม
2. พฤติกรรมของผู้ถูกสัมภาษณ์ จะขึ้น
อยู่กับ
(1) ความรู้ (2) ความสนใจ
(3) ความร่วมมือ
3. เครื่องมือที่ใช้ในการสัมภาษณ์ แบ่ง
121
4. สถานการณ์ในการสัมภาษณ์
(1) รูปแบบการสัมภาษณ์
: รูปแบบการสัมภาษณ์ แบบเป็น
ทางการ และไม่เป็นทางการ
: ตามจำานวนผู้ถูกสัมภาษณ์ เป็นราย
บุคคล และ เป็นกลุ่ม
(2) เวลาที่ใช้ในการสัมภาษณ์
(3) สถานที่ที่ใช้ในการสัมภาษณ์
122
ขั้นตอนในการ
สัมภาษณ์
1. สร้างแบบสัมภาษณ์และตรวจสอบ
คุณภาพ
2. ส่งคณะสำารวจลงพื้นที่เพื่อเตรียม
การปฏิบัติงานสนาม
3. อบรมและซักซ้อมความเข้าใจผู้
สัมภาษณ์ให้อยู่ใน
มาตรฐานเดียวกัน
4. วางแผนปฏิบัติงานภาคสนาม
123
การสังเกต
(Observation)
เป็นการรวบรวมข้อมูล โดยการ
สังเกตจะเป็นระบบได้ เมื่อ
1. เลือกใช้เพื่อหาคำาตอบที่ตรงกับ
ประเด็นการวิจัย
2. มีการวางแผนทำางานอย่างเป็น
ระบบ
3. มีระบบการบันทึกที่สัมพันธ์กับ
124
ส่วนประกอบของการ
สังเกต
1. บทบาทของผู้สังเกต เช่น การ
เข้าไปมีส่วนร่วม ความตั้งใจ
ประสาทสัมผัส และการรับรู้ของ
ผู้สังเกต
2. สถานการณ์ในการสังเกต เช่น
สถานการณ์จริง
และ สถานการณ์ที่สร้างขึ้น
3. เครื่องมือที่ใช้ในการสังเกต เช่น
125
4. การบันทึกผลการสังเกต
(1) การบันทึกความถูกต้อง โดย
การ
: วางแผนการบันทึกไว้ล่วงหน้า
: ให้บันทึกให้เสร็จวันต่อวัน
: ระบุวันเวลาของการสังเกต
: บรรยายรายละเอียดให้มากที่สุด
: มีการตรวจสอบความถูกต้องของ
การสังเกต
(2) รายละเอียดที่ควรบันทึก
: รูปแบบของพฤติกรรม : สาเหตุ
และผลของพฤติกรรม
126
ขั้นตอนของการ
สังเกต
1. การเตรียมเครื่องมือ
2. ระบุพื้นที่เป้าหมายและการ
สำารวจเบื้องต้น
3. ฝึกอบรมผู้สังเกตให้มี
มาตรฐานเดียวกัน
4. ปฏิบัติงานภาคสนาม
5. บันทึกการสังเกตเพื่อเป็นกลัด
127
ประโยชน์ของการ
สังเกต
1. ทำาให้มีโอกาสสัมผัสและ
เข้าใจสถานการณ์ที่เกิดจริง
2. ได้สัมผัสกับปัญหาโดยตรง
3. ทำาให้ผู้สังเกตได้ข้อมูลที่ไม่
เปิดเผย เมื่อสังเกต
โดยผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัว
4. ทำาให้ได้ข้อมูลที่ไม่คาดหวังซึ่ง
128
จุดอ่อนของการ
สังเกต
1. ทำาให้เสียเวลาและค่าใช้จ่าย
สูง
2. พฤติกรรมบางอย่างเกิดขึ้นใน
ช่วงเวลาที่สั้น
3. การปฏิบัติงานทำาได้ยากหาก
กลุ่มตัวอย่างมาก
และกระจัดกระจาย
129
การตรวจสอบ
คุณภาพ
ของเครื่องมือ
การวิจัย
130
การตรวจสอบความตรง
(Validity)
ความหมาย ความแม่นยำาของ
เครื่องมือในการวัดสิ่งที่
ต้องการวัด หรือสิ่งที่
เครื่องมือควรจะวัด
ประเภท
1. ความตรงทางเนื้อหา (Content
Validity)
131
วิธีการตรวจสอบความ
ตรงทางเนื้อหา
1. เป็นการคำานวณความสอดคล้อง
ระหว่าง
(1) ประเด็นที่ต้องการวัด กับ
(2) คำาถามที่สร้างขึ้น
2. ดัชนีใช้แสดงค่าความสอดคล้อง
เรียกว่า ดัชนีความ
สอดคล้องระหว่างข้อคำาถามกับ
วัตถุประสงค์ (Item-
132
3. ค่าของ IOC อยู่ระหว่าง -1 ถึง 1
แสดงผลดังนี้
(1) ค่า IOC ใกล้ 1 แสดงว่าเป็นข้อ
คำาถามที่ดี
(2) ค่า IOC ตำ่ากว่า 0.5 แสดงว่าควรมี
การปรับปรุง
แก้ไข
133
ประเภทความตรงตาม
เกณฑ์สัมพันธ์
1. ความตรงร่วมสมัย (Concurrent
Validity)
เป็นความตรงที่บอกสิ่งวัดได้ถูก
ต้องตามสภาพที่แท้จริง
ในปัจจุบันโดยอาศัยความ
สัมพันธ์ระหว่างคะแนนเครื่องมือ
กับคะแนนเกณฑ์ที่กำาหนดขึ้นใน
ขณะนั้น
134
ความตรงตามภาวะ
สันนิษฐาน
(Construct Validity)
เป็นความตรงที่จะใช้กับตัวแปรที่
เป็นภาวะสันนิษฐาน
(Construct) หรือตัวแปรแฝง (Latent
Trait)
มีวิธีคำานวณองค์ประกอบ ดังนี้
1. วิธีของ Kaiser โดย
(1) พิจารณาจากค่า eigen หรือค่า
135
2. วิธีของ Scree Test Criterion โดย
(1) นำาค่า eigen มา Plot Graph
(2) ลากเส้นโยงระหว่างค่า eigen
โดยมีหลักการให้
นับจำานวน eigen ที่มีอยู่ก่อนที่
เส้นโยงระหว่าง
ค่า eigen จะเป็นเส้นตรง 2-3
ค่า
(3) ค่า eigen สูงสุด ที่แตกต่างจาก
ค่า eigen อื่น
136
ความเที่ยง (Reliability)
1. ความหมาย : ความคงที่ของผลที่
ได้จากการวัดด้วย
เครื่องมือชุดเดียวกับคนกลุ่ม
เดียวกันในเวลาต่างกัน
2. รูปแบบการประมาณค่าความ
เที่ยง
(1) การวัดความคงที่ (Measure of
Stability)
137
เทคนิคการประมาณ
ค่าความเที่ยง
ของเครื่องมือ
1. วิธีแบ่งครึ่งข้อสอบ (Split-Half)
2. วิธีของ Kuder-Richardson
estimates
3. สัมประสิทธิแอลฟ่า (Alpha
Coefficient)
138
การวัดความคงที่
(Measure of Stability)
1. นำาแบบสอบถามไปทดสอบกับกลุ่ม
เดิม 2 ครั้ง
2. ทิ้งระยะเวลาพอควรก่อนที่จะ
ทดสอบครั้งที่ 2
3. นำาคะแนนจากการทดสอบ 2 ครั้งมา
คำานวณ
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ
Pearson โดยใช้สูตร
xy
2 2 2 2
139
r = n∑xy-ΣxΣy
√ [ n∑x - (∑x) (n∑y – (∑y)
เมื่อ r = สัมประสิทธิ์ความเที่ยงของ
เครื่องมือ
n = จำานวนตัวอย่าง
x = คะแนนการสอบครั้งที่ 1 ของ
ผู้สอบแต่ละคน
y = คะแนนการสอบครั้งที่ 2 ของ
xy
2 2 2 2
xy
140
การวัดความมูลกัน
(Measure of Equivalent)
1. นำาเครื่องมือ 2 ฉบับที่มีลักษณะเป็น
ข้อสอบที่สมมูล
(Equivalent) มาดำาเนินการทดสอบ
2. นำาคะแนนที่ได้จากข้อสอบทั้ง 2 ไป
คำานวณค่าสัมประ
สิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ Pearson
3. เนื่องจากเป็นการดำาเนินการที่ยาก
และจะใช้ในทาง
141
การวัดความสอดคล้อง
ภายใน
(Measure of Internal Consistency)
1. เป็นการประมาณค่าความเที่ยง
เพียงครั้งเดียว
2. วิธีคำานวณ
(1) วิธีแบ่งครึ่งข้อสอบ (Split-half)
(2) วิธี Kuder & Richardson
(3) วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา (Coefficient
142
การคำานวณด้วยวิธีแบ่ง
ครึ่งข้อสอบ
(Split-half)
1. แบ่งคะแนนออกเป็นสองส่วน (กลุ่มคู่ และ
กลุ่มคี่)
2. คำานวณหาค่าสัมประสิทธิ์แบบ Pearson
3. ปรับขยายค่าความเที่ยงโดยใช้สูตร
Spearman & Brown
r = 2r
1+r
tt hh
hh
tt
hh
143
การคำานวณด้วยวิธี
Kuder & Richardson
สูตร 1 r = n Σpq
n-1 S
เมื่อ r = สัมประสิทธิ์ความเที่ยง
ของแบบทดสอบ
n = จำานวนข้อในแบบทดสอบ
p = สัดส่วนของผู้ตอบถูกใน
แต่ละข้อ
q = สัดส่วนของผู้ตอบผิดใน
1 -
t
2
t
2
144
สูตร 2 r = n m(1-m/n
n-1 S
เมื่อ r = สัมประสิทธิ์ความเที่ยง
ของเครื่องมือ
n = จำานวนข้อในเครื่องมือ
m = ค่าเฉลี่ยของคะแนนรวม
ของผู้ตอบ
ทั้งหมดที่ทำาได้
S = ความแปรปรวนของ
คะแนนรวมของ
1 -
t
2
t
2
145
วิธีสัมประสิทธิ์
แอลฟา
(Coefficient-Alpha )
1. ได้รับการพัฒนามาจาก Cronbach และ
ของ Kuder
& Richardson
2. ค่าสัมประสิทธิแอลฟา (α) เป็นการใช
กับคะแนน
ที่ไม่เป็นระบบ 0, 1 โดยใช้สูตร ดังน
α = n ΣS
1 -
t
2
i
2
i
2
t
2
การประมาณการความ
เที่ยงแบบสังเกต
1. เป็นความเที่ยงที่เกิดจากผู้สังเกต
2 คนขึ้นไป
2. ใช้แบบสังเกตเดียวกัน และสังเกต
สิ่งเดียวกัน
3. ไม่ยุ่งยากเหมือนแบบทดสอบหรือ
แบบวัด
สูตร สัมประสิทธิ์ = A 146
147
ขั้นตอนการประมาณ
ค่าความเที่ยง
1. นำาเครื่องมือที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้
(Try-out)กับกลุ่มตัวอย่าง
ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มเป้า
หมาย 30-40 คน
2. นำาเครื่องมือที่ทดลองใช้มาตรวจให้
คะแนน
3. พิจารณาสูตรที่เหมาะสมกับ
แบบสอบถาม
4. คำานวณตามสูตร
148
การพิจารณาคุณภาพ
เครื่องมือ
1. ความเป็นปรนัย
2. ความยากง่ายพอเหมาะที่
จะนำาไปใช้
กับกลุ่มเป้าหมาย
3. ความยาวที่เหมาะสม
4. ความสามารถแบ่งแยก
ความแตกต่าง
149
การสุ่ม
ตัวอย่าง
(Sampling)
150
หลักการที่สำาคัญของ
การสุ่มตัวอย่าง
1. เลือกวิธีการสุ่มตัวอย่างที่
เหมาะสม
เพื่อเป็นตัวแทนที่ดี
2. ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
ต้องมีขนาด
พอเหมาะทั้งในด้าน
151
ความหมายของประชากร
และกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร (Population) คือ กลุ่ม
เป้าหมายที่
ต้องการศึกษา
กลุ่มตัวอย่าง (Sampling) คือ กลุ่ม
ย่อยของ
ประชากรที่ผู้วิจัย
152
การสุ่มตัวอย่างแบบอาศัย
ความน่าจะเป็น
(Probability Sampling)
เป็นการสุ่มตัวอย่างที่เปิดโอกาส
ให้ทุกหน่วยของประชากร
มีโอกาสเท่าๆกัน มี 5 วิธี
1. Simple Random สุ่มตัวอย่างที่
ประชากรมีลักษณะ
ใกล้เตียงกัน การได้หน่วยงาน
ใดเป็นตัวอย่างก็ไม่
153
3. Stratified Random สุ่มตัวอย่างเมื่อ
ประชากรมี
ความแตกต่างกันอย่างชัดเจน
กลุ่มตัวอย่าง
ต้องเป็นตัวแทนของทุกกลุ่ม
4. Cluster Random ประชากรเป็นกลุ่ม
ก้อน ทำาให้
การศึกษาตัวแปรจำาต้องศึกษา
154
การสุ่มตัวอย่างแบบไม่
อาศัยความน่าจะเป็น
(Non-Probability Sampling)
1. Purposive Selection เลือกตัวอย่างที่
เจาะจง
เพื่อให้เหมาะสมกับปัญหา
2. Accidental Selection เลือกตัวอย่างใน
ลักษณะ
ที่บังเอิญพบ
155
การพิจารณาขนาดของ
กลุ่มตัวอย่าง
1. ขนาดของกลุ่มประชากร
(จำานวนทั้งสิ้น)
2. ลักษณะความแตกต่างของ
ประชากร
3. ขนาดของความคลาดเคลื่อน
สูงสุดที่ยอมรับได้
4. ระดับความเชื่อมั่นของการ
ประมาณค่า
156
การคำานวณขนาดของ
กลุ่มตัวอย่าง
1. เมื่อ Parameter เป็นค่าเฉลี่ย (µ)
(1) เมื่อทราบขนาดของ
ประชากร
n = N σ
NE + σ
เมื่อ n = ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
N = ขนาดประชากร
σ = ความแปรปรวนของ
x Z
2
x
2
2
Z
x
22
x
x
2
157
ค่า Z จากตารางที่ระดับความ
เชื่อมั่นกำาหนด
1. ค่า Z = 1.96 เมื่อ = 0.5 มีระดับ
ความเชื่อมั่น
ประมาณ 95%
2. ค่า Z = 1.96 เมื่อ = 0.5 มีระดับ
ความเชื่อมั่น
ประมาณ 95%
(2) เมื่อไม่ทราบขนาดของ
x Z
2 2
2
x
158
2. เมื่อ Parameter เป็นสัดส่วน (π)
(1) เมื่อทราบขนาดประชากร
n = N π(1- π)
NE + π(1- π)
เมื่อ n = ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
π = ค่าสัดส่วนของประชากร
(2) เมื่อไม่ทราบขนาด
ประชากร
n = π(1- π)
E
p Z
2
Z
22
p
p Z
2
2
159
3. เมื่อจำานวนประชากรมีขนาด
เล็กให้ใช้การแจกแจง
แบบ chi-Square (χ ) ดังนี้
s = N χ p(1- p)
d (N-1) + χ p(1- p)
เมื่อ s = n = ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
d = E = ซึ่งอยู่ในรูปของ
2
2
2 2
160
การใช้สถิติ
ในการ
วิเคราะห์ข้อมูล
161
สถิติที่ใช้ในงาน
วิจัย
1. Parameter
 แทนค่า มัชฌิมเลขคณิต
 แทนค่า ความแปรปรวน
 แทนค่า สัมประสิทธิ์สห
สัมพันธ์
2. ค่าสถิติ (Statistic)
x แทนค่า มัชฌิมเลขคณิต
s แทนค่า ความแปรปรวน
2
162
3. สถิติที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
(1) เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง (Sampling
Techniques) เป็นเทคนิคในการ
เลือกกลุ่ม
ตัวอย่างที่เป็นตัวแทน
ประชากรที่จะศึกษา
(2) สถิติบรรยาย (Descriptive Statistic)
เป็น
สถิติที่ใช้บรรยายของกลุ่ม
ตัวอย่างหรือประชากร
ที่ศึกษา
163
ความสัมพันธ์ระหว่าง
ประชากร
กลุ่มตัวอย่าง และการ
ใช้สถิติ
Population
Parameter
Sample
Statistic
Sampling Techniques
Descriptive Statistic
Inferential Statistic
: Estimation
: Testing Hypothesis
164
สิ่งที่ต้อง
พิจารณา
ในการเลือก
165
สิ่งที่ต้องพิจารณาในการ
เลือกใช้สถิติ
1. จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์
ของการวิจัย
2. ตัวแปรที่ศึกษา ต้องพิจารณา
3. แหล่งของข้อมูล
4. มาตรของตัวแปร
5. ชนิด Parameter ที่ต้องการ
166
จุดมุ่งหมายหรือ
วัตถุประสงค์ของ
การวิจัย
(1) เพื่อบรรยายลักษณะตัวแปรใน
กลุ่มประชากร เช่น
- การแจกแจงความถี่
- การจัดลำาดับเปรียบเทียบ
- การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วน
กลาง
- การวัดการกระจาย
สัดส่วน อัตราส่วน ร้อยละ
คะแนนมาตรฐาน เปอร์เซ็น
ไทล์ เดไซล์ ควอไทล์
มัชฌิมเลขคณิต มัธยฐาน
ฐานนิยม
ส่วนเบี่ยงเบนมาฐาน ส่วนเบี่ยง
เบนควอไทล์ พิสัย ความ
แปรปรวน สัมประสิทธิ์การกระ
จาย
Pearson product-moment Correlation, Spearmen rank-
order correlation, Phi correlation
167
(2) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างและ
สรุปอ้างอิงจาก
กลุ่มตัวอย่างกลับไปยังประชากร
ศึกษา
- การเปรียบความถี่ หรือสัดส่วนด้วย
-test, Z-test
- การเปรียบค่าเฉลี่ยด้วย z-test, t-test
one-
way ANOVA
- การเปรียบเทียบความแปรปรวน
2
xy
s
168
(4) เพื่ออธิบายความเป็นเหตุเป็นผลของ
ตัวแปรอิสระต่อ
ตัวแปรตามในการวิจัยเชิงทดลอง
- การเปรียบค่าเฉลี่ยด้วย t-test, one-way
ANOVA
(5) เพื่ออธิบายปฏิกิริยาร่วมระหว่าง
ตัวแปรอิสระที่มีผลต่อ
ตัวแปรตามในการวิจัยเชิงทดลอง
- การเปรียบเทียบค่าด้วย Two-way
ANOVA
(6) เพื่ออธิบายสถิติที่ใช้ได้แก่
169
ตัวแปรที่ศึกษา
ต้องพิจารณาจากองค์ประกอบ
ดังนี้
(1) จำานวนตัวแปร ว่ามีเท่าไร
(2) เป็นตัวแปรอิสระหรือตัวแปร
ตาม
(3) ต้องการวิเคราะห์ตัวแปรทีละตัว
หรือทั้งชุด
170
แหล่งของข้อมูล
(1) จากกลุ่มตัวอย่าง ต้องเป็น
ตัวแทนที่ดีของ
กลุ่มประชากร และต้อมี
การใช้สถิติเชิงอนุมาน
(2) จากประชากร
171
มาตรของตัวแปร
1. มาตรนามบัญญัติ (Nominal Scale)
2. มาตรเรียงลำาดับ (Ordinal Scale)
3. มาตรอันตรภาค (Interval Scale)
4. มาตรอัตราส่วน (Ratio Scale)
172
มาตรนามบัญญัติ (Nominal
Scale)
ตัวเลขที่ได้ ไม่สามารถนำามา บวก-ลบ-
คูณ-หาร ได้ สถิติได้แก่
1. การแจกแจงความถี่ ในรูป ร้อยละ-
ตาราง-แผนภาพ
และแผนภูมิแท่ง
2. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางด้วย
ฐานนิยม (Mode)
3. การวัดความสัมพันธ์ตัวแปรด้วย Phi-
2
173
มาตรเรียงลำาดับ (Ordinal
Scale)
สามารถบอกความแตกต่างของ
หน่วยการวัด แต่ระยะห่าง
ไม่สามารถระบุได้ จึงไม่สามารถนำา
มา บวก-ลบ-คูณ-หาร
ได้ สถิติได้แก่
1. การแจกแจงความถี่ เช่นเดียวกับ
มาตรนามบัญญัติ
2. การวัดแนวโน้มข้าสู่ส่วนกลางด้วย
2
174
มาตรอันตรภาค (Interval
Scale)
ตัวเลขที่ได้สามารถนำามา บวก-ลบ-
คูณ-หาร ได้ สถิติได้แก่
1. การแจกแจงความถี่ ในรูปร้อยละ-
ตารางและแผนภูมิต่างๆ
2. การวัดแนวโน้มข้าสู่ส่วนกลางด้วย
มัชฌิมเลขคณิต (Mean)
3. การวัดการกระจายด้วยส่วนเบี่ยงเบน
2
175
มาตรอัตราส่วน (Ratio Scale)
เหมือนมาตรอันตรภาคแต่มีศูนย์แท้
สถิติจึงเหมือนกัน ได้แก่
1. การแจกแจงความถี่ ในรูปร้อยละ-
ตารางและแผนภูมิต่างๆ
2. การวัดแนวโน้มข้าสู่ส่วนกลางด้วย
มัชฌิมเลขคณิต (Mean)
3. การวัดการกระจายด้วยส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D)
2
176
ชนิดของ Parameter ที่
ต้องการทดสอบ
1. ทดสอบ จาก x
2. ทดสอบ จาก S
3. ทดสอบ จาก r
2 2
177
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data
Analysis)
องค์ประกอบ
1. ข้อมูลที่ต้องการวิเคราะห์
2. สถิติที่ใช้วิเคราะห์
3. เครื่องมือที่ใช้ในการคำานวณ
เช่น SPSS for
Window SAS
178
การแปรความหมาย
(Interpretation)
เป็นการเชื่อมโยงผลที่ได้จากการ
ใช้สถิติเข้ากับสมมติฐาน
การวิจัย และวัตถุประสงค์การวิจัย
โดยผู้วิเคราะห์
1. จะต้องมีความรู้ทางทฤษฎี หรือ
แนวคิดทางการวิจัย
2. มีความสามารถสานต่อเรื่องราว
179
ความคลาด
เคลื่อน
จากการใช้สถิติ
การวิจัย
1. ข้อมูลที่ใช้มีความบกพร่อง
2. การเลือกใช้เทคนิคทางสถิติ
ไม่เหมาะสม
3. ฝ่าฝืนข้อตกลงเบื้องต้นของ
สถิติบรรยาย
(Descriptive Statistic)
180
สถิติบรรยาย
1. การจัดหมวดหมู่ด้วยการแจกแจง
ความถี่
2. การจัดตำาแหน่งเปรียบเทียบ เช่น
อัตราส่วน สัดส่วน
ร้อยละ เปอร์เซ็นไทล์ เดไซล์ และ
ควอไทล์
3. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
เช่น ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน
ฐานนิยม 181
การแจกแจงความถี่
1. แบบคำาบรรยาย (Text Presentation)
2. แบบตารางแจกแจงความถี่
(Tabular)
(1) แจกแจงความถี่ทางเดียว (ตัวแปร 1
ตัว)
(2) แจกแจงความถี่สองทาง (ตัวแปร 2
ตัว)
(3) แจกแจงความถี่สามทาง (ตัวแปร 3
ตัว)
3. แบบแผนภูมิ (Graphic or Chart) 182
การวิเคราะห์
อัตราส่วน
(Ratio)
สูตร อัตราส่วน = ความถี่
ของ A
ความถี่ของ
B
183
การวิเคราะห์
สัดส่วน
(Proportion)
หมายถึง ความถี่ส่วนย่อยหาร
ด้วยความถี่ทั้งหมด
สูตร สัดส่วน = ความถี่ส่วน
ย่อยของตัวแปร
ความถี่ทั้งหมด184
การวิเคราะห์ร้อยละ
(Percent)
1. ใช้ร้อยละในสัดส่วนของตัวแปร
สูตร ร้อยละ = สัดส่วน x 100
2. ใช้บรรยายปริมาณการ
เปลี่ยนแปลงสัมพัทธ์
(1) การเปลี่ยนแปลงสัมพัทธ์
สัมบูรณ์ (Absolute
Change : AC)
สูตร AC = ค่าเวลาในช่วงหลัง-ค่า
เวลาในช่วงแรก 185
การวิเคราะห์ (Percentile :
P)
เป็นค่าที่ให้ทราบว่า เมื่อจัดข้อมูลเป็น
100 ส่วนที่ตำาแหน่ง P
ซึ่งมีค่าคะแนนเท่ากับ x มีข้อมูลที่ค่า
น้อยกว่าคะแนนที่ตำาแหน่ง
นั้นอยู่ร้อยละเท่าไร เช่น 30 P = 300
แสดงว่ามีข้อมูลที่มี
ค่าตำ่ากว่า 300 เท่ากับ 30 เป็นต้น
สูตร P = R - 0.5
x
x
x
x 1- X 100i
i
186
การวิเคราะห์ Decile :
D
เป็นค่าที่ให้ทราบว่า เมื่อจัดข้อมูล
เป็น 10 ส่วน ค่าคะแนน x ที่
ตำาแหน่ง D มีข้อมูลที่มีค่าตำ่ากว่าอยู่
เท่าไร เช่น ข้อมูลที่
ตำาแหน่ง D ที่ 4 = 120 แสดงว่ามีข้อมูล
ที่ตำ่ากว่า 120
อยู่ 4 ใน 10 ส่วน เป็นต้น
สูตร D = R - 0.5
x
x
1- X 10ix
i
187
การวิเคราะห์ Quartile
: Q
เป็นค่าที่ให้ทราบว่า เมื่อจัดข้อมูล
เป็น 4 ส่วน ค่าคะแนน x ที่
ตำาแหน่ง Q มีข้อมูลที่มีค่าตำ่ากว่าอยู่
เท่าไร เช่น ข้อมูลที่
ตำาแหน่ง Q ที่ 3 = 125 แสดงว่ามีข้อมูล
ที่มีค่าตำ่ากว่า
125 อยู่ 3 ใน 4 ส่วน เป็นต้น
สูตร D = R - 0.5
x
x
1- X 4ix
i
188
การวิเคราะห์คะแนน
มาตรฐาน
(Standard Score)
เป็นการนำาค่าคะแนนที่มีหน่วยการวัด
ต่างกันในมาตรอันตรภาค
หรือมาตรอัตราส่วนมาจัดให้มีหน่วย
เดียวกันเพื่อใช้ในการ
เปรียบเทียบ ข้อมูลที่นำามาแปลงเป็น
คะแนนมาตรฐานต้องมี
การแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution)189
การวัดแนว
โน้ม
เข้าสู่ส่วน
กลาง 190
การวิเคราะห์มัชฌิม
เลขคณิต
(Arithmetic Mean : X)
เป็นการหาค่าเฉลี่ย ใช้กับข้อมูล
อันตรภาค มาตรอัตราส่วน
สูตร x = Σx
N
เมื่อ x = ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
x = ค่ามัชฌิมเลขคณิต
191
การวิเคราะห์
มัธยฐาน
(Medium : M )
เป็นตำาแหน่งของคะแนนที่มีคะแนน
จำานวนครึ่งหนึ่งมีค่าสูงกว่า
และอีกจำานวนหนึ่งมีค่าตำ่ากว่า
สูตร M = L +
เมื่อ L = ขีดจำากัดล่างที่แท้จริงของ
d
d
N
2
- F
f
i
192
การวิเคราะห์ฐานนิยม
(Mode : M )
เป็นคะแนนที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูล
ที่มีอยู่ทั้งหมด นิยมใช้กับ
ข้อมูลมาตรอันดับ และมาตรนาม
บัญญัติคำานวณ
สูตร Mo = 3M + 2 x
เมื่อ M = ฐานนิยม
M = มัธยฐาน
o
d
o
d
193
พิสัย (Range)
เป็นความแตกต่างระหว่างค่าคะแนน
สูงสุดและค่าคะแนนตำ่าสุด
ใช้บอกการกระจายอย่างคร่าวๆ
สูตร พิสัย = ค่าคะแนนสูงสุด
- ค่าคะแนนตำ่าสุด
194
ส่วนเบี่ยงเบนควอ
ไทล์
(Quartile Deviation : QD)
เป็นค่าที่ได้จากการใช้ระยะห่างของ
ควอไทล์ที่ 1 ถึงควอไทล์ที่ 3
หารด้วย 2 นิยมใช้คู้กับมัธยฐาน
สูตร QD = Q - Q
2
3 1
195
ส่วนเบี่ยง
มาตรฐาน
(Standard Deviation : S)
เป็นค่าที่แสดงถึงการกระจายข้อมูล
แต่ละตัวที่เบี่ยงเบนไป
จากมัชฌิมเลขคณิต
สูตร S = ∑(x – x)
n - 1
√
2
196
ความแปรปรวน
(variance : S)
เป็นค่ากำาลังสองของส่วนเบี่ยง
เบนมาตรฐาน
สูตร S = ∑(x – x)
n - 1
2
2
197
สัมประสิทธิ์การวัด
การกระจาย
(Coefficient of variation : C.V)
ใช่ในการเปรียบเทียบการกระจาย
ของข้อมูล 2 ชุดที่มีหน่วย
ในหารวัดต่างกัน หรือมีมัชฌิม
เลขคณิตต่างกัน
สูตร C.V = S
X 100
198
ความเบ้ (Skewness: S )
เป็นค่าที่แสดงถึงลักษณะของ
ข้อมูลว่ามีลักษณะการ
แจกแจงความถี่สมมาตรหรือไม่
สมมาตร
สูตร S = ∑(x – x)
n
S
(1) ถ้ามีค่าเป็น - จะมีการแจกแจงแบบ
3
k
k
3
199
ความโด่ง (Kurtosis : K
)
เป็นค่าที่แสดงถึงลักษณะสมมาตร 3
แบบ คือ โด่งมาก
(Leptokurtic) ปานกลาง (Mesokurtic)
โด่งน้อยหรือค่อนข้างแบน
(Platykurtic)
สูตร K = ∑(x – x)
n
S
4
u
u
4 - 3
200
การวัดความ
สัมพัทธ์
201
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)

More Related Content

What's hot

ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายคำหล้า สมวัน
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยMpiizzysm
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมchanaruk
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

What's hot (20)

ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ปกข้อสอบกลางภาค2557 2
ปกข้อสอบกลางภาค2557 2ปกข้อสอบกลางภาค2557 2
ปกข้อสอบกลางภาค2557 2
 
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 

Viewers also liked

เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพAimy Blythe
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นอรุณศรี
 
ศึกษางานวิจัยเรื่อง
ศึกษางานวิจัยเรื่องศึกษางานวิจัยเรื่อง
ศึกษางานวิจัยเรื่องMedSai Molla
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจNitinop Tongwassanasong
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้NU
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณtanongsak
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลSuriya Phongsiang
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยธีรวัฒน์
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
TEDx Manchester: AI & The Future of Work
TEDx Manchester: AI & The Future of WorkTEDx Manchester: AI & The Future of Work
TEDx Manchester: AI & The Future of WorkVolker Hirsch
 

Viewers also liked (18)

เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
 
ศึกษางานวิจัยเรื่อง
ศึกษางานวิจัยเรื่องศึกษางานวิจัยเรื่อง
ศึกษางานวิจัยเรื่อง
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีวิจัยทางธุรกิจ
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
TEDx Manchester: AI & The Future of Work
TEDx Manchester: AI & The Future of WorkTEDx Manchester: AI & The Future of Work
TEDx Manchester: AI & The Future of Work
 

การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)