SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1

วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๔๕ น.                                                ห้องปฏิรูป ๔

“ช่องว่างทางสังคม : ความจริงกับการแสวงหาคาตอบ”
        ใคร - ใครก็ร้ ว่าการลดช่องว่างทางสังคมนั้นเป็ นเรื่องจาเป็ นและเร่งด่วน – ว่าแต่ว่า ช่องว่างนั้นอยู่ท่ี
                          ู
            ไหนบ้ าง ?
        ช่องว่างระหว่างผู้คนอาจจะเพียงระหว่างถนนกั้น กาแพงทางด่วน ลานจอดรถ และแม้ แต่สวิตซ์เปิ ด
            – ปิ ดไฟฟ้ า
        สังคมปัจจุบันมีความซับซ้ อน ช่องว่างทางสังคมไม่ใช่พ้ ืนที่ว่างเปล่ากลวงโบ๋ หากเป็ นพื้นที่แห่ งความ
            ซับซ้ อนเป็ นอย่างยิ่ง
        ท่ามกลางความผันผวนเปราะบางของสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง – จะรู้ได้ อย่างไรว่ าต้ องแก้ ไข
            ประเด็นปัญหาไหนก่อนหลัง ?
        ในยุคสมัยของความหลากหลายทางความคิดความเชื่อ เราจะร่วมลดช่องว่างทางสังคมได้ อย่างไร บน
            พื้นฐานของช่องว่างทางความคิดและหัวใจ ?
        ทฤษฎีสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขาก็ดี การวิจัยร่วมกันแบบสหสาขาวิชาก็ดี การทางานข้ ามฟากระหว่ าง
            หน่ ว ยงานก็ดี การคิ ด และมองอย่ า งเป็ นองค์ ร วมของปั จ เจกก็ดี จะน าไปสู่ปฏิ บัติ การและการ
            เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้ างได้ อย่างไร ?
       น้ อมเชิญทุกท่านร่วมหาคาตอบร่วมกัน

องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
       เครือข่ายถมช่องว่างทางสังคม (SIRNet)
วิทยากรโดย
       คุณนุชนารถ แท่นทอง               เครือข่ายสลัมสีภาค  ่
       คุณวิฑรย์ เพิ่มพงศาเจริญ
             ู                          มูลนิธิฟ้ ื นฟูชีวิตและธรรมชาติ
       คุณวิฑรย์ เลียนจารูญ
               ู    ่                   มูลนิธิชีววิถี
       นพ.พงษ์พิสทธิ์ จงอุดมสุข
                  ุ                     สถาบันวิจยระบบสาธารณสุข
                                                     ั
2

วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น.                                            ห้องปฏิรูป ๔

การปฏิรูประบบสวัสดิการสาหรับเกษตรกร
         เมื่อพูดถึงสวัสดิการเกษตรกร คนมักเข้ าใจไปต่างๆกัน บ้ างก็นึกไปถึงระบบประกันสังคมที่ควรขยายให้
ครอบคลุมแรงงานนอกระบบ (รวมทั้งเกษตรกร) บ้ างก็คิดถึงการเพิ่มสวัสดิการให้ แก่เกษตรกร (อาทิ การเสนอ
ร่าง พรบ. สวัสดิการชาวนา) บ้ างก็มองว่ ามีระบบสวัสดิการสาหรับคนไทยทั่วไปมากอยู่แล้ ว ไม่ว่าจะเป็ น เรื่อง
การศึกษา สุขภาพ การออมแห่งชาติ โครงการช่วยเหลือเกษตรกรที่มีอยู่มากมาย และกลุ่มที่คลุกคลีกบชุมชนก็จะ
                                                                                             ั
เห็นว่ า มีระบบสวัสดิการที่อยู่บนฐานพลังชุมชน วัฒนธรรม และฐานทรัพ ยากรธรรมชาติอยู่มากพอ ในขณะที่
บางส่วนมองว่ า สิง ที่จาเป็ นสาหรับเกษตรกร คื อ ระบบสาธารณูปโภคเพื่อการเกษตรกรรม อาทิ การส่งเสริม
ความรู้ด้านการผลิต การแปรรูป ระบบชลประทาน การปฏิรูปที่ดิน โฉนดที่ดินรวม การประกันราคาสินค้ าเกษตร
หรือการประกัน รายได้ ให้ แก่เ กษตรกร การพั ฒ นาพั น ธุ์พืช สัต ว์ กฎหมายคุ้ มครองระบบเกษตรกรรมและ
เกษตรกร การสนับสนุนด้ านการตลาด ฯลฯ แต่สงคมไทยยังขาดความคิดที่ตกผลึกเกี่ยวกับเรื่องนี้
                                               ั
         ระบบสวัสดิการที่เ หมาะสมสาหรับเกษตรกรต้ องพิจ ารณาถึงความมั่นคงและปลอดภัยของอาหาร มี
สุขภาพทั้งกาย จิตที่ดี มีสงคม วัฒนธรรมและสภาพแวดล้ อมดี มีความมั่นคงในอาชีพและรายได้ มีความรู้ ภูมิ
                           ั
ปัญญาในการป้ องกัน แก้ไขปัญหารอบตัว มีความมั่นคงด้ านที่อยู่อาศัย ปลอดภัยจากภั ยธรรมชาติ และภัยอื่นๆมี
ความเป็ นอิสระ มีศักดิ์ศรี มีการดูแลช่วยเหลือกัน และมีสิทธิในการได้ รับบริการต่างๆจากรัฐ รวมทั้งได้ รับการ
คุ้มครองจากกระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม

องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
               ๑) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.)
               ๒) ภาควิชาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
               ๓) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
               ๔) สานักงานส่งเสริมการปฏิรูประบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร ชุมชน และ
                   สังคม (สปกช.)
วิทยากรโดย
               ๑. ผศ.ดร. จิตติ มงคลชัยอรัญญา        สานักงานส่งเสริมการปฏิรูประบบเพื่อคุณภาพชีวิต
                                                     เกษตรกร ชุมชนและสังคม (สปกช.)
                                                    โทรศัพท์ ๐๘ ๑๘๗๔ ๕๗๗๘
                                                    โทรสาร ๐ ๒๕๖๑ ๕๔๖๐
               ๒. นายสาเริง เสกขุนทด                สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.)
                                                    โทรศัพท์ ๐๘๑ ๓๗๕ ๘๕๗๓
                                                    โทรสาร ๐๒ ๓๗๘ ๘๓๘๙
               ๓. นายบารุง คะโยธา                   นายกองค์การบริหารส่วนตาบลสายนาวัง
                                                    อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์
3

วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น.                                        ห้องปฏิรูป ๕

ความยุติธรรมด้านสิงแวดล้อม : ภาษีและค่าภาคหลวง
                  ่
       2 ทศวรรษที่ผ่านมา สถานการณ์ส่งแวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติไทยเลวร้ ายลงเรื่อยๆ เหตุใดจึง
                                          ิ
          เป็ นเช่นนั้น?
       ความเสือมโทรมด้ านสิ่งแวดล้ อมก่อให้ เกิดความเหลื่อมลาอย่างไร ใครเป็ นผู้รับเคราะห์ สังคมจะมี
                   ่                                           ้
          ทางออกอย่างไร ?
       การกระจายอานาจด้ านการจัดการสิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติ จะช่วยแก้ความเหลื่อมลาด้ าน   ้
          สิ่งแวดล้ อมได้ หรือไม่ ?
       การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของภาครัฐโดยเฉพาะการให้ สมปทานปิ โตรเลียมภายใต้ ระบบ
                                                                         ั
          การคลังปิ โตรเลียมของไทย ก่อให้ เกิดการแบ่งรายได้ ระหว่างรัฐและผู้รับสัมปทานอย่างเพียงพอและ
          เป็ นธรรมหรือไม่
       ความเข้ มแข็งของชุมชนจะช่วยปฏิรูปสิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติได้ อย่างไร ?
       ทางเลือกในการปฏิรูป มาตรการการเงินการคลังด้ านสิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติ (กรณี
          ปิ โตรเลียม)
องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                      ั
       แผนงานสร้ างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.)
        สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยากรโดย
           ๑. ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด           ผู้อานวยการแผนงานสร้ างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.)
                                               สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
           ๒. ผศ.ดร.ภูรี สิรสุนทร              คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ดาเนินรายการโดย

               คุณยุวดี คาดการณ์ไกล
4



วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น.                                               ห้องปฏิรูป ๖

ผูหญิง..ความเสมอภาค..การปฏิรูปประเทศ
  ้
        สถานการณ์ ปั ญหาที่เกิดขึ้ น แม้ รัฐจะให้ ความสาคัญ กับ ความเสมอภาคระหว่ างเพศ แต่ในทาง
ปฏิบัติ ก็ยังขาดการแปลงหลักการสู่การดาเนินนโยบายและมาตรการด้ านต่างๆ ในขณะที่สังคมไทยยังคงมีการ
เลือกปฏิบัติในทุกบริบทของสังคม โดยเฉพาะการกีดกัน อคติทางเพศต่อผู้หญิง จากฐานคิด ที่ยึดติดกับบทบาท
ดั้งเดิมของผู้หญิง เช่น ความเชื่อที่ผ้ ูหญิงเป็ นผู้ตาม ผู้ชายเป็ นผู้นา ภาพลักษณ์ บทบาทความเป็ นหญิง -ชาย ที่
ตายตัว และค่านิยมด้ านหญิงชาย การจากัดบทบาทการมีส่วนร่วมของผู้หญิงในทุกระดับ การเลือกปฏิบัติจากกฎ
ระเบียบ ของหน่ วยงานต่างๆ การขาดโอกาสทางเศรษฐกิจ การเข้ าถึงบริ การทางสังคมและบริการสาธารณะ
ตลอดจนถูกละเลยไม่ได้ รับความเป็ นธรรมเมื่อถูกกระทาความรุนแรงในครอบครัว และความรุนแรงทางเพศใน
รูปแบบต่าง ๆ รวมถึงการคุกคามทางเพศในที่ทางาน

        ข้อเสนอเชิงวิชาการที่จะนาสู่การปฏิบติ การแปลงหลักการความเสมอภาคระหว่างเพศสู่การปฏิบัติ
                                           ั
เพื่อนาเสนอประเด็น เพศภาวะ หรือ การวิเคราะห์ถึงบทบาทความสัมพันธ์หญิงชายในสังคม ส่งเสริมการมีส่วน
ร่วมของผู้หญิงในการร่วมปฏิรูปด้ านต่างๆ ในการจัดสรรทรัพยากร และตระหนักถึงภาระบทบาทของผู้หญิงใน
ฐานะ ผู้ให้ บริการ และดูแลสมาชิกในครัวเรือน เพื่อให้ ผู้หญิงในกลุ่มต่างๆ ได้ รับการตอบสนองตามความจาเป็ น
เฉพาะด้ านของตน โดยเฉพาะ หญิงที่ถูกกระทาจากความรุนแรงในครอบครัวและที่เกิดในชุมชน กลุ่มที่ต้องเผชิญ
กับสภาวะความยากลาบากและเผชิญกับความไม่เป็ นธรรมทางเพศ รวมถึงผู้หญิงกลุ่มชายขอบ หญิงพิการ หญิง
ที่รับผิดชอบรับภาระครอบครัว ให้ สามารถเข้ าถึงความยุติธรรมและสิทธิด้านต่างๆ รวมถึงการได้ รับประโยชน์จาก
บริการทางสังคม สวัสดิการและนโยบายสาธารณะ
องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                     ั
       เครือข่ายผูหญิงพลิกโฉมประเทศไทย (WREST)
                  ้
       มูลนิธิผูหญิง
                ้
       คณะกรรมการเครือข่ายพลังสตรีเพือการปฏิรูป
                                     ่
วิทยากรโดย
       นางสาวอุษา เลิศศรีสนทัด :มูลนิธิเพือนหญิง
                            ั              ่
       รศ.วิระดา สมสวัสดิ์ : ศูนย์สตรีศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
       นางเตือนใจ ดีเทศน์ : มูลนิธิพฒนาชุมชนและเขตภูเขา
                                    ั
       นพ. แท้จริง ศิริพานิช : คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ดาเนินรายการโดย
       นางเรวดี ประเสริญเจริญสุข
5



วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น.                                                 ห้องปฏิรูป ๗

แรงงานกับโลกาภิวฒน์
                ั
          โลกาภิวั ต น์แม้ จ ะน ามาซึ่ง ความเจริญก้ าวหน้ าของการค้ าโลกแต่ในอีกมิติหนึ่ งก็น ามาซึ่งปั ญ หาความ
เหลื่อมล้าและความไม่ เป็ นธรรมในสังคม และก่อให้ เ กิด “เหยื่อ ” ของความเสี่ยงจากการพั ฒนา ปั ญหาการ
ว่างงานและปัญหาอาชญากรรม
           โลกาภิ วั ต น์ ไ ด้ เ ปลี่ย นสัง คมในประเทศที่ก าลัง พั ฒ นาไปสู่ก ารเป็ นสังคมอุต สาหกรรมบริ ก ารและ
สารสนเทศ ที่ต้องการแรงงานมีความรู้และทักษะฝี มือสูง การรุกคืบขยายฐานการผลิตของบรรษัทข้ ามชาติ อัน
เป็ นผลมาจากการเปิ ดเสรีทางการเงินและการค้ า และการพัฒนารูปแบบการจ้ างงานไปสู่การเหมาช่วง และการจ้ าง
แรงงานสัญญาระยะสั้น ยิ่งส่งผลให้ แรงงานตกอยู่ภายใต้ ความไม่ม่นคง และขาดอานาจต่อรองมากยิ่งขึ้น
                                                                       ั
           ในสังคมไทย กระแสโลกาภิวัฒน์ได้ ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้ แรงงานอย่างรุนแรง ทั้งในเรื่องค่าจ้ าง ระบบและ
รูปแบบการจ้ างงานแบบเหมาช่วง การเคลื่อนย้ ายสถานประกอบการ ความมั่นคงในการทางานของแรงงานที่ต่าลง
กระบวนการยุติธรรมในคดีแรงงาน การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ปั ญหาต่าง ๆ เหล่านี้ คือโจทย์หลักของขบวนการ
แรงงานไทยว่า จะหลุดออกจากหลุมพรางของโลกาภิวัตน์ และจะต้ องปฏิรูประบบและโครงสร้ างอย่างไรเพื่อให้
ผู้ใช้ แรงงานอยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรีแห่งความเป็ นมนุษย์มากกว่าที่เป็ นอยู่ในปัจจุบัน

องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
       คณะกรรมการเครือข่ายผูใช้แรงงานเพือการปฏิรูป
                            ้           ่
วิทยากรโดย
       1. คุณสาวิต แก้วหวาน email : sawit_k@hotmail.com
       2. คุณชาลี ลอยสูง email : chalee.loysoong@hotmail.com
       3. คุณยงยุทธ แม่นตะเภา
       4. นางสาวจิตรา คชเดช email: ning2475@hotmail.com

ดาเนินรายการโดย
       ดร.จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร : jaturong22@gmail.com
6

วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น.                                             ห้องปฏิรูป ๔

กองทุนกูยืมเพือการศึกษา เพือการเข้าถึงและเป็ นธรรม
        ้     ่            ่
               จากตัวเลขทางการศึกษาพบว่า เด็กที่เข้ าสู่การศึกษาชั้น ป. 1 (100%) จะจบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
       6 เพียงราว 50-60% เท่านั้น อัตราการออกจากการเรียน (Drop out) ที่สงระดับนี้เกิดจากหลายสาเหตุ
                                                                             ู
       ทว่าสาเหตุท่สาคัญประการหนึ่งคือเรื่อง “ความยากจน”
                   ี

       ในระหว่าง 2539 ที่กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาได้ ดาเนินการในประเทศไทย อัตราการออกจากการศึกษา
       ก่อนกาหนดลดลง และ อัตราการเข้ าเรียนในวัยเด็กเล็กสูงขึ้น ซึ่งแปลว่า การมีอยู่ของกองทุนกู้ยืมเพื่อ
       การศึกษาเป็ นประโยชน์ต่อเด็กจานวนมาก โดยเฉพาะเด็กยากจน

       ดังนั้น มาตรการการให้ วงเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาจึงเป็ นมาตรการสาคัญ ที่เด็กและเยาวชน, นักวิชาการ
       รวมถึงภาคราชการควร “ช่วย” กันระดมความเห็นว่าจะเสริมพลังให้ กบมาตรการนี้อย่างไร
                                                                          ั

       **ยาว่าเป้ าหมายหลักไม่ใช่การบอกว่า มาตรการเงินกู้เพื่อการศึกษา(กยศ.)ที่ทาอยู่ แย่อย่างไร จึงต้ อง
           ้
       ปรับปรุง หากเป็ นการพยายามที่ให้ คิดว่า “เราทุกคน” จะช่วยกันเสริมพลังให้ กบเด็กและเยาวชนที่
                                                                                    ั
       ยากจน เพื่อให้ ได้ รับการศึกษาที่เท่าเทียมมากขึ้น เป็ นธรรมมากขึ้น และ มีคุณภาพมากขึ้นได้ อย่างไร โดย
       มองจากเครื่องมือ หรือ มาตรการภาครัฐ (ซึ่งในที่น้ คือ กยศ.) เป็ นพระเอก
                                                           ี

       ถ้ าพระเอกของเรามีเงินไม่พอ ก็อาจจะต้ องเท่าไหร่ถึงสมเหตุสมผล, ถ้ าอานาจหน้ าที่ของ กยศ. ขาดเกิน
       อย่างไร ก็ต้องมาช่วยกันคุยถึงความเป็ นไปได้ ท่จะเพิ่มลดอานาจเหล่านั้น, ถ้ าประสิทธิภาพยังน้ อยจะ
                                                     ี
       ช่วยกันยกระดับได้ อย่างไร? เป็ นต้น คือ หลักๆคงไม่ใช่เวทีกล่าวโทษกัน แต่เป็ นเวทีท่เด็กและเยาวชน
                                                                                          ี
       เอง อยากชวนผู้ใหญ่มาช่วยคิดกัน (ทั้งผู้ใหญ่วิชาการ ผู้ใหญ่ราชการ ผู้ใหญ่การเมือง) พร้ อมๆกับเด็ก
       และเยาวชนว่า จะทาอย่างไรกันดี ที่จะหยุดการออกจากการเรียนแบบไม่สมัครใจ (เพราะความยากจน)
       ให้ ได้

องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
       คณะกรรมการเครือข่ายพลังเยาวชนเพือการปฏิรูป
                                       ่
วิทยากรโดย
       ดร.สมเกียรติ ตังกิจวานิช มูลนิธิสถาบันวิจยเพือการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
                      ้                         ั ่
       ศ.ดร.ดิเรก ปัทมสิริวฒน์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิดา)
                           ั                                      ้
       อ.จอน อึ้งภากรณ์
ดาเนินรายการโดย        นายแบ๊งก์ งามอรุณโชติ
7

วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น.                                              ห้องปฏิรูป ๕

จากเซนไดถึงไทยแลนด์ : “เมือภัยภิบติธรรมชาติและภัยพิบติจากน้ ามือมนุ ษย์
                          ่      ั                  ั
..กลายเป็ นปั ญหาใกล้ตว”
                      ั
         ร่วมเสวนาและถ่ายทอดความรู้สกถึงเพื่อนผู้ประสบภัยชาวญี่ป่น....ย้ อนมองสถานการณ์ภัยพิบัติ รอบๆ
                                       ึ
บ้ าน ...เมื่อภัยพิบัติธรรมชาติและภั ยพิ บัติจากน้ามือมนุ ษย์ ..กลายเป็ นปั ญหาใกล้ ตัว ...กระบวนการ ป้ องกัน
บรรเทา ฟื้ นฟู ควรเป็ นอย่างไร ประเทศไทยพร้ อมขนาดไหน ...ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ...การ
เตรียมความพร้ อมรับมือภัยพิบัติและกระบวนการฟื้ นฟูภัยพิบัติโดยการมีส่วนร่วม ....ฯลฯ
         พบกับวิทยากรที่หลากหลาย อาทิเช่น ผู้ประสบภัยสึนามิ ผู้ประสบภัยนาท่วม นักวิชาการด้ านภัยพิบัติ
                                                                        ้
ผู้แทนศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่ งชาติ ผู้แทนกรมบรรเทาสาธารณะภัย สือมวลชน ฯลฯ
                                                               ่
องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
       คณะกรรมการเครือข่ายผูเ้ สียโอกาส คนจนเมือง และกลุ่มชาติพนธุเพือการปฏิรูป
                                                               ั ์ ่
       เครือข่ายชุมชนเพือการปฏิรูปสังคมและการเมือง (คปสม.)
                        ่
วิทยากรโดย
       ผูอานวยการศูนย์เตือนภัยพิบติแห่งชาติ
         ้                        ั
       อธิบดีกรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
       คุณประสาร สถานสถิตย์ : มูลนิธิรกษ์ไทยอันดามัน
                                      ั
       รศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์
       นายประยูร จงไกรจักร์ : ตัวแทนชุมชนบ้านนาเค็ม
                                                ้
ดาเนินรายการโดย
       คุณเสกสรร ชัญถาวร
8

วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น.                                                 ห้องปฏิรูป ๖

“พลังงาน – คนไทย ดาวโลก และความอยู่รอด”
        ภาพโรงงานไฟฟ้ านิวเคลียร์ญ่ีปนระเบิดทาให้ ผู้คนทั่วโลกแทบหยุดหายใจไปชั่วขณะ ราวกับเห็นเรือไทแท
                                       ุ่
นิกอีกลมชนภูเขานาแข็งแล้ วจมลงไปต่อหน้ า เทคโนโลยีพลังงานสะอาดอันแสนภาคภูมิใจกลายเป็ นเหมือนยาพิษ
                    ้
ที่ละลายเข้ าสู่อากาศที่มองไม่เห็นในพริบตา – สัตว์เลี้ยงแสนเชื่องกลายเป็ นสัตว์ป่าดุร้ายทีไม่ร้ จักชื่อ และคาถาม
                                                                                          ่ ู
ต่อแหล่งที่มาของพลังงานและแนวทางการใช้ พลังงานของเราในอนาคตก็ผุดขึ้นมา แหล่งพลังงาน – ก๊าซ
ธรรมชาติ ถ่านหิน พลังงานหมุนเวียน เขื่อน นิวเคลียร์ ฯลฯ – ของเราควรเป็ นแบบไหน? เรา –ในฐานะคน
ไทย และพลเมืองโลก จะใช้ พลังงานอย่างไร? หากเชื่อว่าคาถามสาคัญกว่าคาตอบ – ขอเชิญทุกท่านมา
ร่วมกันตั้งคาถาม ถาม ถาม และถาม – อะไรคือคาถามทีถูกต้ อง? – โปรดติดตามต่อไปในวงเสวนาด้ วยใจระทึก
                                                         ่
พลัน

องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
โดย เครือข่ายพลังงานใหม่และศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิทยากรโดย
คุณณอคุณ สิทธิพงศ์                ปลัดกระทรวงพลังงาน
คุณวีรพล จิรประดิษฐกุล            ผู้อานวยการสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน(สนพ.)
ศ. ดร. พรายพล คุ้มทรัพย์          เศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์
ดร. สิวินีย์ สวัสดิ์อารี          สถาบันมาตรวิทยา
คุณศรีสวรรณ ควรขจร
         ุ                        มูลนิธฟื้นฟูชีวิตและธรรมชาติ
                                        ิ
คุณชื่นชม สง่าราศรี กรีเซ่น       กลุ่มพลังไท
และตัวแทน ชุมชนพื้นที่ท่เป็ นเป้ าหมายก่อสร้ างโรงไฟฟ้ า
                          ี

ดาเนินรายการโดย ทพ. ศุภผล เอียมเมธาวี
                             ่
9

วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น.                                            ห้องปฏิรูป ๗

สวัสดิการเกิดจนตาย : สังคมไทยพร้อมหรือยัง ?
         ตามที่นายกรัฐมนตรี นายอภิสทธิ์ เวชชาชีวะได้ มีนโยบายในการจัดสวัสดิการถ้ วนหน้ าให้ กับคนไทยทุก
                                      ิ
คนภายในปี 2559 นั้น แต่เรารู้กนหรือไม่ว่าสวัสดิการที่คนไทยควรได้ รับมีอะไรบ้ าง เราควรได้ รับสวัสดิการนั้น
                                 ั
เมื่อไหร่และอย่างไร เวทีวิชาการขอนาเสนอหลักการและกรอบแนวคิดในด้ านความครอบคลุมของสวัสดิการถ้ วน
หน้ าในช่ วงวัยต่างๆ พร้ อมทั้งการจัดลาดับความสาคัญของโครงการหรือมาตรการสวัสดิการถ้ วนหน้ า รวมทั้ง
ประมาณการงบประมาณรวมที่ภาครัฐต้ องใช้ ในการจัดสวัสดิการนั้นๆ
         เพื่อที่จะตอบคาถามที่ว่าสังคมไทยพร้ อมแล้ วหรือยังสาหรับการจัดสวัสดิการถ้ วนหน้ าให้ แก่ประชาชนทุก
คน ขอเชิญชวนร่วมรับฟังและระดมความคิด เพื่อกาหนดสวัสดิการที่ควรจะเป็ นสาหรับคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย
พร้ อมทั้งความเป็ นไปได้ ของการจัดสวัสดิการสังคมของรัฐและภาคีต่างๆ ผ่านเวทีระดมสมองในงานสมัชชาปฏิ รูป
ระดับชาติ ครั้งที่ ๑


องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
       คณะกรรมการการจัดสรรทรัพยากรเพือความเป็ นธรรม
                                     ่
วิทยากรโดย
       ดร. สมชัย จิตสุชน มูลนิธิสถาบันวิจยเพือการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
                                         ั ่
       นายปกรณ์ พันธุ อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
10

วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๔๕ น.                                                        ห้องปฏิรูป ๔

กระจุกหรือกระจาย (อานาจ)
         ตามที่สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้ แก่องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ได้ กาหนดแผนการกระจาย
อานาจให้ แก่ อ งค์ก รปกครองส่ วนท้ อ งถิ่ น ตามรัฐธรรมนู ญแห่ ง ราชอาณาจัก รไทย พุทธศั ก ราช 2540 โดยให้ ต รา
พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจและหน้ าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะระหว่ างรัฐกั บ
องค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น และกาหนดให้ ช่วง 4 ปี แรก (พ.ศ.2544-พ.ศ.2547) ให้ ดาเนินการถ่ ายโอนด้ วยการ
กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้ แก่องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ราชการบริหารส่วนกลาง และระบบราชการ
บริห ารส่ วนภูมิ ภ าค รวมทั้ง พัฒนายุ ท ธศาสตร์ ก ารสร้ า งความพร้ อ มในการรองรั บการถ่ า ยโอนภารกิ จ บุ คลากร
งบประมาณและทรัพย์สิน ตามวิสัยทัศน์ของการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น รวม 3 ด้ านที่สาคัญ คือ ด้ านความเป็ นอิสระใน
การกาหนดนโยบายและบริหารจัดการ ด้ านบริหารจัดการโดยลดภารกิจของราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และเพิ่ม
บทบาทให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นดาเนินการแทน และด้ านประสิทธิภาพของการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ให้ ประชาชนมี ส่วนร่ วมในการตัดสิน ใจ ร่ วมดาเนินการ และร่ วมตรวจสอบ และตามกรอ บของแผนงานดังกล่ า วได้
กาหนดให้ โอนภารกิจการจัดบริการสาธารณะของรัฐ ที่ดาเนินอยู่ให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น และกระบวนการการถ่าย
โอนภารกิจสาธารณสุขให้ องค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นได้ อย่ างสมบูรณ์น้ ัน พื้นที่จังหวัดต่ างๆ ต้ องมีความพร้ อมและมี
ขั้นตอนตลอดจนแผนงานที่ชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นจะต้ องเห็นชอบและพร้ อมที่จะรับการ
ถ่ายโอนด้ วยการคานึงถึงความคุ้มค่าและความประหยัด เพราะจะเกี่ยวข้ องกับภารกิจ งบประมาณ และบุคลากร ซึ่งมี
ความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่
         และในช่ วง 10 ปี ที่ผ่านมา พบว่าพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. 2542 พบ
ความล้ มเหลวในการบังคับใช้ กฎหมายขององค์กรภาครัฐ ไม่เห็นความสาคัญเพราะยึดหลักการประสิทธิภาพที่อาจขัดต่อ
หลักการกระจายอานาจ และในความเป็ นจริงมักจะพบข้ อโต้ แย้ งทางอุดมการณ์และหาทางออกด้ ว ยการประนีประนอม
เช่ น กฎหมายอาจออกมาไม่เหมาะสมจึงไม่เหมาะสมที่ทาตาม ถึงแม้ จะมีการระบุกรอบเวลาในการดาเนินการแต่กไม่ ได้             ็
ทาตามกรอบระยะเวลาที่กาหนด ซึ่งก็ไม่ได้ เกิดอะไรขึ้นและเป็ นเรื่องไม่สาคัญในสังคมไทยที่องค์กรภาครัฐส่ วนกลางจะ
ปฏิบัติตามกฎหมาย มองแล้ วยังเป็ นเรื่องยากที่จะทาให้ ผ้ มีอานาจทั้งอานาจรัฐ อานาจเงิน อานาจสังคม อานาจปั ญญา
                                                         ู
ยอมมอบอ านาจหรือ กระจายอ านาจเหล่ า นั้ น ให้ กั บผู้ไ ม่ มี อ านาจ ใครที่มี อ านาจอยู่ ก่ อ นแล้ ว มี ก ารบริห ารจัด การ
งบประมาณ กาลังคน มีความรู้ความชานาญที่ผ่านประสบการณ์มาจะเอาอานาจไปยกให้ กับคนที่ไม่ เคยมีอานาจมาก่ อน
ดังนั้นในเชิงตรรกะจึงย่อมเป็ นเรื่องที่เป็ นไปไม่ได้ ณ ขณะนี้ถึงเวลาแล้ วหรือยังที่พวกเราทุ กคนจะมาทาความเข้ าใจกับ
ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม การบริหารจัดการที่มีอิสระในอานาจที่ควรมี หรือจะเป็ นเหมือนเดิม ? (ไม่สามารถกระจาย
อานาจได้ )
องค์กร/เครือข่ ายทีรบผิดชอบ
                      ่ั
         สถาบันวิจยระบบสาธารณสุข (สวรส.)
                    ั
วิทยากรโดย
         รศ.ดร.สกนธ์ วรัญญวัฒนา คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
         ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ - สถาบันจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
         นายสุริยา ยี่ขุน นายกเทศมนตรีตาบลปริก จ.สงขลา
ดาเนินรายการโดย
         นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
11

วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น.                                              ห้องปฏิรูป ๔

พลังประชาชน ชุมชนท้องถินจัดการตนเอง
                       ่
        การพัฒนาประเทศในช่วงที่ผ่านมา เป็ นการพัฒนาจากยอดพระเจดีย์ โดยใช้ข้างบนเป็ นตัวตั้ง ทอดทิ้ง
ฐานล่างคือชุมชนท้องถิ่น ทาให้ ชุมชนท้องถิ่นอ่อนแอ เกิดความขัดแย้ งทางสังคม อันเนื่องมาจากการไม่ได้ รับ
ความเป็ นธรรม และความเหลื่อมลาในด้ านต่างๆ ส่งผลให้ สงคมไทยพังทลาย
                                ้                    ั
            การจะทาให้ ฐานล่างของสังคมมีความเข้ มแข็งได้ น้ัน จาเป็ นต้ องปรับกระบวนทัศน์ใหม่ในการพัฒนา ด้ วย
การใช้ พ้ ืนที่ชุมชนท้องถิ่นเป็ นตัวตั้ง สนับสนุนให้ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเองให้ มากที่สด คืนอานาจในการจัดการ
                                                                                        ุ
ตนเองให้ ชุมชนท้องถิ่น ให้ ความสาคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนท้องถิ่น ซึ่งเป็ นฐานล่าง จากคน
ที่ไม่ได้ รับความเป็ นธรรม ให้ เป็ นไปอย่างจริงจัง กว้ างขวาง และครอบคลุม สร้ างระบบที่เกิดขึ้นจากคนในชุมชน
ท้องถิ่น นาไปสู่การจัดระบบการจัดการใหม่ท่สร้ างความเท่าเทียมให้ แก่ทุกคนในพื้นที่ เปิ ดโอกาสให้ คนในชุมชน
                                                ี
ท้ องถิ่น กาหนดทิศทางการพั ฒนาของตนเอง สร้ างระบบเศรษฐกิจของท้ องถิ่น ระบบวัฒ นธรรมที่เ คารพใน
ศักดิ์ศรีของตนเอง สร้ างการเมืองใหม่/ระบบประชาธิปไตยของตนเอง รวมถึงปรับเปลี่ยนดุลอานาจในการบริหาร
จัดการใหม่ท่จะเอื้ออานวยให้ ชุมชนท้องถิ่นจัดการสิ่งต่างๆ ด้ วยตนเองให้ มากที่สด
                 ี                                                                ุ

องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
       คณะกรรมการเครือข่ายองค์กรชุมชนเพือการปฏิรูป
                                        ่
       เครือข่ายองค์กรชุมชน ๕ ภาค
วิทยากรโดย
       ศจ.สุริชย หวันแก้ว ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
               ั
       นายแก้ว สังข์ชู กรรมการเครือข่ายองค์กรชุมชนเพือการปฏิรูป
                                                        ่
       นางทิวาพร ศรีวรกุล ผูประสานเครือข่ายป่ าต้นนา ต.บางกระแจ๊ะ อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี
                            ้                      ้
       นายพลากร วงศ์กองแก้ว ผูช่วยผูอานวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
                                 ้    ้
ดาเนินรายการโดย
       นายประพจน์ ภู่ทองคา
12

วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น.                                       ห้องปฏิรูป ๕

การสร้างจิ นตนาการประเทศด้วยกองทุนสือสร้างสรรค์
                                    ่
       ร่วมหาแนวทาง สร้ างจินตนาการให้ ประเทศไทย ด้ วยกองทุนสือสร้ างสรรค์ ที่จะสรรค์สร้ างสือ
                                                              ่                              ่
สีขาวให้ เหล่าเยาวชนของชาติ
องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                     ั
       มูลนิธิเพือการพัฒนาเด็ก(มพด.)
                 ่
       แผนงานสือสร้างสุขภาวะเยาวชน(สสย.)
                   ่
       สานักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ(สสส)

วิทยากรโดย
       นส.เข็มพร วิรุณราพันธ์       ผู้จัดการแผนงานสือสร้ างสุขภาวะเยาวชน(สสย.)
                                                        ่
       คุณทราย เจริญปุระ            ดารานักแสดง
       คุณภัทราพร สังข์พวงทอง       ผู้ผลิตและพิธกรรายการกบนอกกะลา
                                                   ี
       คุณต่อพงษ์ เสลานนท์          อุปนายยกสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย
       คุณอิฐบู รณ์ อ้นวงษา         มูลนิธเพื่อผู้บริโภค
                                           ิ

ดาเนินรายการโดย
       คุณประวีณมัย บ่ายคล้อย ผู้ประกาศข่าวสถานีโทรทัศน์ทวีไทย
                                                         ี
13

วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น.                                          ห้องปฏิรูป ๖

ลดผูกขาด ลดเหลือมล้ า เพิมความเป็ นธรรม
               ่         ่
          ตลอดระยะเวลากว่า ๑๐ ปี ที่ พ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้ า พ.ศ. ๒๕๔๒ มีผลบังคับใช้ ให้ สร้ างและ
ก่อให้ เกิดการแข่งขันทางการค้ าทีเป็ นธรรมหรือไม่ ?……ผลของการดาเนินการตามกฎหมายเป็ นเช่นไร ? มีส่วน
                                 ่
ช่วยให้ เกิดการสร้ างความเป็ นธรรม และลดความเหลื่อมลาในสังคมหรือไม่ ?…และจะปรับปรุงแก้ไขพ.ร.บ. การ
                                                           ้
แข่งขันทางการค้ าให้ มีประสิทธิภาพดีย่ิงขึ้นได้ อย่างไร ?….....

องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
       คณะทางานวิชาการเพือการปฏิรูป
                           ่
       มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.)

วิทยากรโดย
       ดร.เดือนเด่น นิคมบริรกษ์ สถาบันวิจยเพือการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
                            ั            ั ่
14

วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น.                                            ห้องปฏิรูป ๗

ผังเมืองที่เป็ นธรรม
        ขณะนี้มีการวางผังประเทศไทยล่วงหน้ า ๕๐ ปี ที่เรียกว่า “ผังประเทศไทย พ.ศ. ๒๖๐๐” และการวางผัง
เมืองรวมทั่วประเทศ ชีวิตของคนไทยจะถูกกาหนดโดยกระบวนการที่เป็ นธรรมหรือไม่ ทาไมการทาผังเมืองเป็ น
กระบวนการที่ห่างไกลประชาชนที่สดทั้งๆ ที่ผลผลิตปลายนาซึ่งคือ “ผังเมือง” มีประชาชนเป็ นผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
                                  ุ                     ้
โดยตรงอย่างไม่มีข้อสงสัย เขตอุตสาหกรรม โรงงาน โรงไฟฟ้ า ถนน ทางรถไฟ ท่าเรือ ฯลฯ ล้ วนมาจากทิศทาง
ของการวาง ”ผังเมืองรวม” แต่ “ผังเมืองรวม” มาจากไหน การบุกรุกที่ดินเกิดขึ้นได้ เพราะผังเมืองเป็ นเครื่องมือ
ของกลุ่มทุนและคนไม่หวังดีหรือไม่ ถึงเวลาแล้ วที่การคัดค้ านโครงการต่างๆ ต้ องสาวประเด็นให้ ลึกถึงโครงสร้ าง
และกระบวนการการวางผั งเมืองที่ไม่ เป็ นธรรม ขอเชิญ ร่ว มสนทนาอย่ างเป็ นกัน เองกับนักวิ ชาการและนั ก
กฎหมายเพื่อสร้ างความเข้ าใจเรื่องผังเมืองที่เป็ นธรรม

องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
       เครือข่ายรักแม่พระธรณี
       ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
       มูลนิธิดอกไม้และนกกระดาษเพือสันติภาพ
                                  ่

วิทยากรโดย
        ผศ. ดร. พนิต ภู่จนดา อาจารย์ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
                           ิ
         จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
        รองศาสตราจารย์. ดร. ต่อตระกูล ยมนาค
        คุณภารนี สวัสดิรกษ์ เครือข่ายวางแผนและผังเมืองเพือสังคม
                         ั                                ่

ดาเนินรายการโดย
       ดร. อภิวฒน์ รัตนวราหะ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
               ั
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
15

วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น.                                               ห้องปฏิรูป ๔

การเมือง : ใช่ ..เรืองผูหญิง
                    ่ ้
         ความวิกฤตของบ้ านเมืองที่เป็ นเรื่องของปากท้อง การมีชีวิตอยู่ของผู้คนส่วนใหญ่ของประเทศ ชึ่งเกินครึ่ง
เป็ นผู้หญิง โครงสร้ างสังคมที่มีความเหลื่อมหลา มีความไม่เป็ นธรรม เป็ นปัญหาที่ก่อให้ เกิดความแตกแยก ความ
                                               ้
ไม่สงบสุขในสังคม โครงสร้ างอานาจการบริหารจัดการบ้ านเมืองที่ไม่ใส่ใจการมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้คนที่มีความ
แตกต่างทั้งทางเพศ อายุ เชื้อชาติ รวมทั้งกลุ่มคนชายขอบต่างๆเป็ นอุปสรรคต่อการสร้ างสังคมประชาธิปไตยที่
เป็ นธรรมและเสมอภาค
          สังคมไทยยังเป็ นสังคมปิ ตาธิปไตย มีรากเหง้ าของจิตสานึกที่มีอคติทางเพศ โครงสร้ าง กลไก ระบบต่างๆ
รวมทั้งการแสดงออกในระดับชีวิตประจาวันของสมาชิกในสังคมสร้ างปัญหาความรุนแรง การเลือกปฏิบัติทางเพศ
ก่อให้ เกิดความเหลื่อมหลา ความไม่เป็ นธรรมในหลากหลายรูปแบบต่อผู้หญิง ซึ่งจาเป็ นต้ องเปลี่ยนแปลง
                          ้
       การปฏิรูปที่จ ะพลิกโฉมประเทศไทยอย่ างแท้ จริงต้ องสร้ างอุด มการณ์สังคมที่ต้ังอยู่ บนหลักการสิทธิ
มนุษยชนที่หญิงและชายมีศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์ท่เท่าเทียมกันซึ่งเป็ นคอขวดของการปฏิรปโครงสร้ างการพัฒนา
                                                ี                                   ู
เศษฐกิจ สังคม รวมทั้งการพัฒนาด้ านการเมืองสู่การพัฒนาประชาธิปไตยที่แท้จริง

องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
       เครือข่ายผูหญิงพลิกโฉมแห่งประเทศไทย (WREST)
                  ้
       คณะกรรมการเครือข่ายพลังสตรีเพือการปฏิรูป
                                      ่
       สภาพัฒนาการเมือง
วิทยากรโดย
       นางสาวลัดดาวัลย์ ตันติวิทยาพิทกษ์ : รองประธานสภาพัฒนาการเมือง
                                          ั
       นางสุนทรี เซ่งกิ่ง : เครือข่ายบ่อนอก
       นางประทิน เวคะวากยานนท์ : เครือข่ายสลัม 4 ภาค
       พญ.ประคอง วิทยาศัย : มูลนิธิเกื้อดรุณ
       นางประนอม เภตรา : เครือข่ายลด ละ เลิก เหล้า: ลดความรุนแรงต่อสตรี
       นางธนวรรณ พวงผกา เครือข่ายชุมชนเพือปฏิรูปสังคมและการเมือง (คปสม.)
                                              ่
       นางสาวเนตรนรี กิจบาเพ็ญ: เครือข่ายเยาวชนเพือการปฏิรูป
                                                     ่
       นางสาวสมศรี หาญอนันทสุข : เครือข่ายเอเซียเพือการเลือกตังเสรี
                                                         ่       ้
       นางสาวศิริพร ปัญญาเสน : นายกองค์การบริหารส่วนตาบลพิชย อ.เมือง จ.ลาปาง
                                                                   ั
       ดร.สุชาดา เมฆรุ่งเรืองกุล : ผูประสานงานเครือข่ายผูหญิงพลิกโฉมแห่งประเทศไทย
                                        ้                  ้
       นางฒุฒิพร ทิพย์วงษ์ : เครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต
       นางอังคณา นีลไพจิตร : ประธานมูลนิธิยุติธรรมเพือสันติภาพ
                                                       ่
ดาเนินรายการโดย
       นางสุนีย์ ไชยรส : นักวิชาการอิสระ
16

วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น.                                               ห้องปฏิรูป ๕

ความเป็ นธรรมทางภาษี : ถึงเวลาปฏิรูป ?
       “ภาษี” โดยปกติมีหน้ าที่สร้ างความเป็ นธรรมและลดความเหลื่อมลาในสังคมอยู่แล้ ว แม้ ว่าเราจะคุ้นเคย
                                                                             ้
       กับระบบภาษีท่ใช้ กนอยู่เป็ นอย่างดี แล้ วคุณคิดว่า
                           ี ั
             ระบบภาษีท่ใช้ อยู่ในปัจจุบนเป็ นธรรมแล้ วหรือยัง? นั่นคือคนรวยควรจ่ายภาษีมากกว่าคนจน
                                ี             ั
                 และคนที่มีฐานะเท่าเทียมกันก็ควรรับภาระภาษีเท่า ๆ กันแล้ วหรือยัง?
             ภาษีทาหน้ าที่ลดความเหลื่อมลาในสังคมหรือทาหน้ าที่ในการถ่ายโอนทรัพยากรจากคนรวยไปสู่
                                                   ้
                 คนจนได้ ดีแค่ไหน?
             หากคาตอบคือ “ไม่” เราควรทาอย่างไรให้ ภาษีทาหน้ าที่สร้ างความเป็ นธรรมและลดความ
                 เหลื่อมลาได้ มากยิ่งขึ้น ต้ องเก็บภาษีมากขึ้นใช่หรือไม่ ? หรือเพิ่มภาษีบางประเภทแล้ วลดภาษีอก
                            ้                                                                                ี
                 ประเภทดี?
             อีกคาถามหลักที่ต้องร่วมกันหาคาตอบคือหากเก็บภาษีได้มากขึ้นแล้ วจะเอาไปทาอะไรให้ เกิดผล
                 ในการสร้ างความเป็ นธรรมและลดความเหลื่อมลาได้ มากที่สด?
                                                                   ้           ุ
ท่านอาจเป็ นผู้หนึ่งที่มีส่วนร่วมในกระบวนการปฏิรูประบบภาษีของประเทศไทย


องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
       คณะกรรมการการจัดสรรทรัพยากรเพือความเป็ นธรรม
                                     ่
วิทยากรโดย
       ดร. สมชัย จิตสุชน มูลนิธิสถาบันวิจยเพือการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
                                         ั ่
       คุณประพัฒน์ โพธิวรคุณ อดีตประธานสภาอุตสาหกรรม
       นายนริศ ชัยสูตร ผูอานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง
                         ้
17

วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น.                                       ห้องปฏิรูป ๖

 “ปากท้องและการหากิน : เศรษฐศาสตร์ของหญิงและชาย”
        โลกาภิวั ฒน์ โลกร้ อน การตัด ถนนเส้ นใหม่ และคนแก่ท่มากขึ้น ส่งผลกระทบต่ อผู้หญิงและผู้ ชาย
                                                                  ี
         เหมือนกันไหม?
        ในโลกที่เชื่อว่าเรื่องการค้ าเสรี ในประเทศที่เน้ นนโยบายส่งออก แรงงานราคาถูกจะหาจากไหนล่ะ ?
         ผู้หญิงหรือผู้ชาย?
        ในภาวะวิกฤติโลกร้ อน ใครใช้ รถคันเล็ก? ใครวางแผนการจับจ่ายซื้อของในบ้ าน? ใครปล่อยคาร์บอน
         มากกว่า? – ผู้หญิงหรือผู้ชาย?
        หากในบ้ านมีคนป่ วยหรือคนแก่ ใครเป็ นผู้ดูแล? ใครจ่ายเงิน? – ผู้หญิงหรือผู้ชาย?
        เศรษฐศาสตร์ท่มีความละเอียดประณีตขึ้นนอกจากจะเห็นหัวคนแล้ ว ยังต้ องมองเห็นทั้งผู้หญิงและ
                          ี
         ผู้ชายในระบบเศรษฐกิจอีกด้ วยเพื่อก่อให้ เกิดดุลยภาพในเชิงนโยบาย
      ขอเชิญผู้สนใจทุกท่านร่วมเปิ ดพรมแดนความรู้ใหม่ – เศรษฐศาสตร์ท่มีมิติหญิงชาย – ร่วมเรียนรู้และ
                                                                        ี
ทาความเข้ าใจเศรษฐศาสตร์แบบง่าย จากชีวิ ต ผู้หญิ งผู้ชายที่หายใจในร่ วมเงาของโลกและสังคมเดียวกัน สู่
นโยบายแห่งการพัฒนาที่ฉลาดขึ้น

องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
       สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP)
       คณะกรรมการเครือข่ายพลังสตรีเพือการปฏิรูป
                                       ่
       เครือข่ายถมช่องว่างทางสังคม (SIRNet)
       เครือข่ายผูหญิงพลิกโฉมแห่งประเทศไทย (WREST)
                  ้
วิทยากรโดย
       คุณสุภาพร พรรณราย เครือขายสตรีรกทะเลสาบสงขลา
                                          ั
       คุณอรุณี ศรีโต กลุ่มบูรณาการแรงงานสตรี
       คุณจันทวิภา อภิสข ศูนย์พิทกษ์สิทธิหญิงบริการ
                         ุ        ั
       รศ.ดร.ภาวดี ทองอุไทย โครงการสตรีและเยาวชนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
       รศ.ดร.นิรมล สุธรรมกิจ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
       รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
       นพ.ภูษิต ประคองสาย สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
18

วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น.                                                     ห้องปฏิรูป ๕

การขับเคลือนศิลปวัฒนธรรมภาคประชาชน : กลไกการจัดการเพือพัฒนาสังคม
          ่                                          ่
           วัฒนธรรมคื อวิถีชีวิต และวิถีชีวิ ตนี้เองคือเนื้อดิน ให้ กาเนิดเนื้องานอันนิ ยามว่ า “ศิลปะ” ด้ วยเหตุน้ ี
“ศิลปะ”และ”วัฒนธรรม”จึงมิอาจแยกออกจากกัน หากเกื้อกูลและเป็ นเงื่อนไขของกันและกัน และเป็ นส่วนหนึ่ง
ของสังคม ทั้งส่ว นหนึ่ ง ของสังคมไทยและแยกไม่ ออกจากสังคมโลก นั บวั นศิลปวั ฒ นธรรมก็ย่ิงมีบทบาทต่ อ
ศิลปวัฒนธรรมของสังคมไทย ทั้งด้ านอิทธิพลทางความคิด ทั้งด้ านเศรษฐกิจและสังคม โดยผ่านกระบวนการผลิต
แบบอุต สาหกรรมทางวั ฒ นธรรม หากสัง คมไทยไม่ ร้ ูเ ท่าทัน ขาดภู มิคุ้ มกัน ไม่ เ ห็น คุ ณค่ าเชิงอัต รลักษณ์ทาง
วัฒนธรรม ขาดกระบวนการวางรากฐานเชิงระบบ                       การพัฒนาสังคมไทยไปสู่ความยั่งยืนก็มิอาจเกิดขึ้นได้
ในขณะเดียวกันสังคมไทยก็ตกอยู่ในภาวะวิกฤตหลายประการ ทั้งความเหลื่อมลาในสังคม ปัญหาดังกล่าวส่งผลให้
                                                                                  ้
การพัฒนาประเทศไร้ ทศทางและไม่มีประสิทธิภาพ สาเหตุของวิกฤตการณ์ทางสังคมดังกล่าว ส่วนหนึ่งเกิด จาก
                         ิ
พื้นฐานการศึกษาของไทยที่หลีกหนีจากศิลปวัฒนธรรมอันเป็ นรากฐานดั้งเดิม และทิศทางการพัฒนาประเทศที่
ไม่ได้ ม่งเน้ นการส่งเสริมผ่านศิลปวัฒนธรรม
         ุ
          ถึงเวลาแล้ วที่ศิลปิ นในแต่ละสาขา แต่ละพื้นที่ควรจะมีส่วนร่วมในการสร้ างสรรค์สังคม โดยใช้ ศิลปะทุก
สาขา(ร่วมสมัยและพื้นบ้ าน) พัฒนาและเยียวยาผู้คนและสังคม รวมทั้งจะต้ องรวมตัวกันเพื่อความร่วมมือระหว่าง
ผู้สร้ างงานศิลปะที่มีความแตกต่าง ทั้ง ต่างสาขา ต่ างที่ ต่างทิศทาง ต่างเนื้อหา ต่างรูปแบบ โดยยังสามารถคง
ความเป็ นเอกลักษณ์และความเป็ นอิสระของตนเองไว้ ด้วย รวมทั้งต้ องใช้ ศิลปะเป็ นสื่อการในการให้ การศึกษา
และสร้ างสรรค์จิตใจของผู้คนในสังคม.....
องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ
                    ั
       คณะกรรมการเครือข่ายศิลปิ นเพือการปฏิรูป
                                    ่
วิทยากรโดย
       ๑.อาจารย์เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ประธานคณะกรรมการสมัชชาศิลปิ นเพือการปฏิรูป
                                                                       ่
       ๒.นพ.วิชย โชควิวฒน
               ั         ั            คณะกรรมการปฏิรูป(คปร.)
       ๓.รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข         ประธานอนุกรรมการวิชาการ เครือข่ายศิลปิ นเพือการปฏิรูป
                                                                                 ่
       ๔.อาจารย์ชมัยพร บางคมบาง สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย
ดาเนินรายการโดย
       คุณณัฐฐา โกมลวาทิน ทีวีไทย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพgel2onimal
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)FURD_RSU
 
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asiaChapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asiaTeetut Tresirichod
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว Chuchai Sornchumni
 
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differencesChapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differencesTeetut Tresirichod
 

Was ist angesagt? (8)

ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asiaChapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
 
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differencesChapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
 

Andere mochten auch

цахим гэрийн даалгавар
цахим гэрийн даалгаварцахим гэрийн даалгавар
цахим гэрийн даалгаварOtgonbuyantai
 
Macroersin.pdf
Macroersin.pdfMacroersin.pdf
Macroersin.pdfhonestman
 
June Pathfinder Learning Network event table discussion: patient and public e...
June Pathfinder Learning Network event table discussion: patient and public e...June Pathfinder Learning Network event table discussion: patient and public e...
June Pathfinder Learning Network event table discussion: patient and public e...healthandcare
 
Weather Risk Limited - Overview - July 2014
Weather Risk Limited - Overview - July 2014Weather Risk Limited - Overview - July 2014
Weather Risk Limited - Overview - July 2014Sanjukt Saha
 
البشر
البشرالبشر
البشرkh20zh
 
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
ความสัมพันธ์ในครอบครัวความสัมพันธ์ในครอบครัว
ความสัมพันธ์ในครอบครัวBe SK
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคมข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคมPorna Saow
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบnookkiss123
 
อานาปานทีปนี
อานาปานทีปนีอานาปานทีปนี
อานาปานทีปนีTongsamut vorasan
 

Andere mochten auch (20)

Ucy ajaglahhh
Ucy ajaglahhhUcy ajaglahhh
Ucy ajaglahhh
 
Mechanizm skurczu
Mechanizm skurczuMechanizm skurczu
Mechanizm skurczu
 
цахим гэрийн даалгавар
цахим гэрийн даалгаварцахим гэрийн даалгавар
цахим гэрийн даалгавар
 
KRUt og LUP mars 2011
KRUt og LUP mars 2011KRUt og LUP mars 2011
KRUt og LUP mars 2011
 
Macroersin.pdf
Macroersin.pdfMacroersin.pdf
Macroersin.pdf
 
June Pathfinder Learning Network event table discussion: patient and public e...
June Pathfinder Learning Network event table discussion: patient and public e...June Pathfinder Learning Network event table discussion: patient and public e...
June Pathfinder Learning Network event table discussion: patient and public e...
 
Weather Risk Limited - Overview - July 2014
Weather Risk Limited - Overview - July 2014Weather Risk Limited - Overview - July 2014
Weather Risk Limited - Overview - July 2014
 
البشر
البشرالبشر
البشر
 
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
ความสัมพันธ์ในครอบครัวความสัมพันธ์ในครอบครัว
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
 
ประชุมนานาชาติ 40 ประเทศ
ประชุมนานาชาติ 40 ประเทศประชุมนานาชาติ 40 ประเทศ
ประชุมนานาชาติ 40 ประเทศ
 
สตรี
สตรีสตรี
สตรี
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
Fundwomen 21022555
Fundwomen 21022555Fundwomen 21022555
Fundwomen 21022555
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
 
Women and reproductive_choices[1]
Women and reproductive_choices[1]Women and reproductive_choices[1]
Women and reproductive_choices[1]
 
ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคมข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
อานาปานทีปนี
อานาปานทีปนีอานาปานทีปนี
อานาปานทีปนี
 

Ähnlich wie 51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2

Charismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu ChiCharismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu ChiDrDanai Thienphut
 
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3Ukrit Chalermsan
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูTheyok Tanya
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูSuwaraporn Chaiyajina
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูJutarat Piamrod
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูshalala2
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 

Ähnlich wie 51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
Charismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu ChiCharismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu Chi
 
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 53
Pat5 53Pat5 53
Pat5 53
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลกการพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
การพัฒนาคุณภาพประชากรโลก
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 

51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2

  • 1. 1 วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๔ “ช่องว่างทางสังคม : ความจริงกับการแสวงหาคาตอบ”  ใคร - ใครก็ร้ ว่าการลดช่องว่างทางสังคมนั้นเป็ นเรื่องจาเป็ นและเร่งด่วน – ว่าแต่ว่า ช่องว่างนั้นอยู่ท่ี ู ไหนบ้ าง ?  ช่องว่างระหว่างผู้คนอาจจะเพียงระหว่างถนนกั้น กาแพงทางด่วน ลานจอดรถ และแม้ แต่สวิตซ์เปิ ด – ปิ ดไฟฟ้ า  สังคมปัจจุบันมีความซับซ้ อน ช่องว่างทางสังคมไม่ใช่พ้ ืนที่ว่างเปล่ากลวงโบ๋ หากเป็ นพื้นที่แห่ งความ ซับซ้ อนเป็ นอย่างยิ่ง  ท่ามกลางความผันผวนเปราะบางของสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง – จะรู้ได้ อย่างไรว่ าต้ องแก้ ไข ประเด็นปัญหาไหนก่อนหลัง ?  ในยุคสมัยของความหลากหลายทางความคิดความเชื่อ เราจะร่วมลดช่องว่างทางสังคมได้ อย่างไร บน พื้นฐานของช่องว่างทางความคิดและหัวใจ ?  ทฤษฎีสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขาก็ดี การวิจัยร่วมกันแบบสหสาขาวิชาก็ดี การทางานข้ ามฟากระหว่ าง หน่ ว ยงานก็ดี การคิ ด และมองอย่ า งเป็ นองค์ ร วมของปั จ เจกก็ดี จะน าไปสู่ปฏิ บัติ การและการ เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้ างได้ อย่างไร ? น้ อมเชิญทุกท่านร่วมหาคาตอบร่วมกัน องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั เครือข่ายถมช่องว่างทางสังคม (SIRNet) วิทยากรโดย คุณนุชนารถ แท่นทอง เครือข่ายสลัมสีภาค ่ คุณวิฑรย์ เพิ่มพงศาเจริญ ู มูลนิธิฟ้ ื นฟูชีวิตและธรรมชาติ คุณวิฑรย์ เลียนจารูญ ู ่ มูลนิธิชีววิถี นพ.พงษ์พิสทธิ์ จงอุดมสุข ุ สถาบันวิจยระบบสาธารณสุข ั
  • 2. 2 วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๔ การปฏิรูประบบสวัสดิการสาหรับเกษตรกร เมื่อพูดถึงสวัสดิการเกษตรกร คนมักเข้ าใจไปต่างๆกัน บ้ างก็นึกไปถึงระบบประกันสังคมที่ควรขยายให้ ครอบคลุมแรงงานนอกระบบ (รวมทั้งเกษตรกร) บ้ างก็คิดถึงการเพิ่มสวัสดิการให้ แก่เกษตรกร (อาทิ การเสนอ ร่าง พรบ. สวัสดิการชาวนา) บ้ างก็มองว่ ามีระบบสวัสดิการสาหรับคนไทยทั่วไปมากอยู่แล้ ว ไม่ว่าจะเป็ น เรื่อง การศึกษา สุขภาพ การออมแห่งชาติ โครงการช่วยเหลือเกษตรกรที่มีอยู่มากมาย และกลุ่มที่คลุกคลีกบชุมชนก็จะ ั เห็นว่ า มีระบบสวัสดิการที่อยู่บนฐานพลังชุมชน วัฒนธรรม และฐานทรัพ ยากรธรรมชาติอยู่มากพอ ในขณะที่ บางส่วนมองว่ า สิง ที่จาเป็ นสาหรับเกษตรกร คื อ ระบบสาธารณูปโภคเพื่อการเกษตรกรรม อาทิ การส่งเสริม ความรู้ด้านการผลิต การแปรรูป ระบบชลประทาน การปฏิรูปที่ดิน โฉนดที่ดินรวม การประกันราคาสินค้ าเกษตร หรือการประกัน รายได้ ให้ แก่เ กษตรกร การพั ฒ นาพั น ธุ์พืช สัต ว์ กฎหมายคุ้ มครองระบบเกษตรกรรมและ เกษตรกร การสนับสนุนด้ านการตลาด ฯลฯ แต่สงคมไทยยังขาดความคิดที่ตกผลึกเกี่ยวกับเรื่องนี้ ั ระบบสวัสดิการที่เ หมาะสมสาหรับเกษตรกรต้ องพิจ ารณาถึงความมั่นคงและปลอดภัยของอาหาร มี สุขภาพทั้งกาย จิตที่ดี มีสงคม วัฒนธรรมและสภาพแวดล้ อมดี มีความมั่นคงในอาชีพและรายได้ มีความรู้ ภูมิ ั ปัญญาในการป้ องกัน แก้ไขปัญหารอบตัว มีความมั่นคงด้ านที่อยู่อาศัย ปลอดภัยจากภั ยธรรมชาติ และภัยอื่นๆมี ความเป็ นอิสระ มีศักดิ์ศรี มีการดูแลช่วยเหลือกัน และมีสิทธิในการได้ รับบริการต่างๆจากรัฐ รวมทั้งได้ รับการ คุ้มครองจากกระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั ๑) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) ๒) ภาควิชาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๓) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ๔) สานักงานส่งเสริมการปฏิรูประบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร ชุมชน และ สังคม (สปกช.) วิทยากรโดย ๑. ผศ.ดร. จิตติ มงคลชัยอรัญญา สานักงานส่งเสริมการปฏิรูประบบเพื่อคุณภาพชีวิต เกษตรกร ชุมชนและสังคม (สปกช.) โทรศัพท์ ๐๘ ๑๘๗๔ ๕๗๗๘ โทรสาร ๐ ๒๕๖๑ ๕๔๖๐ ๒. นายสาเริง เสกขุนทด สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) โทรศัพท์ ๐๘๑ ๓๗๕ ๘๕๗๓ โทรสาร ๐๒ ๓๗๘ ๘๓๘๙ ๓. นายบารุง คะโยธา นายกองค์การบริหารส่วนตาบลสายนาวัง อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์
  • 3. 3 วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๕ ความยุติธรรมด้านสิงแวดล้อม : ภาษีและค่าภาคหลวง ่  2 ทศวรรษที่ผ่านมา สถานการณ์ส่งแวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติไทยเลวร้ ายลงเรื่อยๆ เหตุใดจึง ิ เป็ นเช่นนั้น?  ความเสือมโทรมด้ านสิ่งแวดล้ อมก่อให้ เกิดความเหลื่อมลาอย่างไร ใครเป็ นผู้รับเคราะห์ สังคมจะมี ่ ้ ทางออกอย่างไร ?  การกระจายอานาจด้ านการจัดการสิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติ จะช่วยแก้ความเหลื่อมลาด้ าน ้ สิ่งแวดล้ อมได้ หรือไม่ ?  การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของภาครัฐโดยเฉพาะการให้ สมปทานปิ โตรเลียมภายใต้ ระบบ ั การคลังปิ โตรเลียมของไทย ก่อให้ เกิดการแบ่งรายได้ ระหว่างรัฐและผู้รับสัมปทานอย่างเพียงพอและ เป็ นธรรมหรือไม่  ความเข้ มแข็งของชุมชนจะช่วยปฏิรูปสิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติได้ อย่างไร ?  ทางเลือกในการปฏิรูป มาตรการการเงินการคลังด้ านสิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติ (กรณี ปิ โตรเลียม) องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั แผนงานสร้ างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.) สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิทยากรโดย ๑. ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด ผู้อานวยการแผนงานสร้ างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.) สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๒. ผศ.ดร.ภูรี สิรสุนทร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดาเนินรายการโดย คุณยุวดี คาดการณ์ไกล
  • 4. 4 วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๖ ผูหญิง..ความเสมอภาค..การปฏิรูปประเทศ ้ สถานการณ์ ปั ญหาที่เกิดขึ้ น แม้ รัฐจะให้ ความสาคัญ กับ ความเสมอภาคระหว่ างเพศ แต่ในทาง ปฏิบัติ ก็ยังขาดการแปลงหลักการสู่การดาเนินนโยบายและมาตรการด้ านต่างๆ ในขณะที่สังคมไทยยังคงมีการ เลือกปฏิบัติในทุกบริบทของสังคม โดยเฉพาะการกีดกัน อคติทางเพศต่อผู้หญิง จากฐานคิด ที่ยึดติดกับบทบาท ดั้งเดิมของผู้หญิง เช่น ความเชื่อที่ผ้ ูหญิงเป็ นผู้ตาม ผู้ชายเป็ นผู้นา ภาพลักษณ์ บทบาทความเป็ นหญิง -ชาย ที่ ตายตัว และค่านิยมด้ านหญิงชาย การจากัดบทบาทการมีส่วนร่วมของผู้หญิงในทุกระดับ การเลือกปฏิบัติจากกฎ ระเบียบ ของหน่ วยงานต่างๆ การขาดโอกาสทางเศรษฐกิจ การเข้ าถึงบริ การทางสังคมและบริการสาธารณะ ตลอดจนถูกละเลยไม่ได้ รับความเป็ นธรรมเมื่อถูกกระทาความรุนแรงในครอบครัว และความรุนแรงทางเพศใน รูปแบบต่าง ๆ รวมถึงการคุกคามทางเพศในที่ทางาน ข้อเสนอเชิงวิชาการที่จะนาสู่การปฏิบติ การแปลงหลักการความเสมอภาคระหว่างเพศสู่การปฏิบัติ ั เพื่อนาเสนอประเด็น เพศภาวะ หรือ การวิเคราะห์ถึงบทบาทความสัมพันธ์หญิงชายในสังคม ส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของผู้หญิงในการร่วมปฏิรูปด้ านต่างๆ ในการจัดสรรทรัพยากร และตระหนักถึงภาระบทบาทของผู้หญิงใน ฐานะ ผู้ให้ บริการ และดูแลสมาชิกในครัวเรือน เพื่อให้ ผู้หญิงในกลุ่มต่างๆ ได้ รับการตอบสนองตามความจาเป็ น เฉพาะด้ านของตน โดยเฉพาะ หญิงที่ถูกกระทาจากความรุนแรงในครอบครัวและที่เกิดในชุมชน กลุ่มที่ต้องเผชิญ กับสภาวะความยากลาบากและเผชิญกับความไม่เป็ นธรรมทางเพศ รวมถึงผู้หญิงกลุ่มชายขอบ หญิงพิการ หญิง ที่รับผิดชอบรับภาระครอบครัว ให้ สามารถเข้ าถึงความยุติธรรมและสิทธิด้านต่างๆ รวมถึงการได้ รับประโยชน์จาก บริการทางสังคม สวัสดิการและนโยบายสาธารณะ องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั เครือข่ายผูหญิงพลิกโฉมประเทศไทย (WREST) ้ มูลนิธิผูหญิง ้ คณะกรรมการเครือข่ายพลังสตรีเพือการปฏิรูป ่ วิทยากรโดย นางสาวอุษา เลิศศรีสนทัด :มูลนิธิเพือนหญิง ั ่ รศ.วิระดา สมสวัสดิ์ : ศูนย์สตรีศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นางเตือนใจ ดีเทศน์ : มูลนิธิพฒนาชุมชนและเขตภูเขา ั นพ. แท้จริง ศิริพานิช : คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ดาเนินรายการโดย นางเรวดี ประเสริญเจริญสุข
  • 5. 5 วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๗ แรงงานกับโลกาภิวฒน์ ั โลกาภิวั ต น์แม้ จ ะน ามาซึ่ง ความเจริญก้ าวหน้ าของการค้ าโลกแต่ในอีกมิติหนึ่ งก็น ามาซึ่งปั ญ หาความ เหลื่อมล้าและความไม่ เป็ นธรรมในสังคม และก่อให้ เ กิด “เหยื่อ ” ของความเสี่ยงจากการพั ฒนา ปั ญหาการ ว่างงานและปัญหาอาชญากรรม โลกาภิ วั ต น์ ไ ด้ เ ปลี่ย นสัง คมในประเทศที่ก าลัง พั ฒ นาไปสู่ก ารเป็ นสังคมอุต สาหกรรมบริ ก ารและ สารสนเทศ ที่ต้องการแรงงานมีความรู้และทักษะฝี มือสูง การรุกคืบขยายฐานการผลิตของบรรษัทข้ ามชาติ อัน เป็ นผลมาจากการเปิ ดเสรีทางการเงินและการค้ า และการพัฒนารูปแบบการจ้ างงานไปสู่การเหมาช่วง และการจ้ าง แรงงานสัญญาระยะสั้น ยิ่งส่งผลให้ แรงงานตกอยู่ภายใต้ ความไม่ม่นคง และขาดอานาจต่อรองมากยิ่งขึ้น ั ในสังคมไทย กระแสโลกาภิวัฒน์ได้ ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้ แรงงานอย่างรุนแรง ทั้งในเรื่องค่าจ้ าง ระบบและ รูปแบบการจ้ างงานแบบเหมาช่วง การเคลื่อนย้ ายสถานประกอบการ ความมั่นคงในการทางานของแรงงานที่ต่าลง กระบวนการยุติธรรมในคดีแรงงาน การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ปั ญหาต่าง ๆ เหล่านี้ คือโจทย์หลักของขบวนการ แรงงานไทยว่า จะหลุดออกจากหลุมพรางของโลกาภิวัตน์ และจะต้ องปฏิรูประบบและโครงสร้ างอย่างไรเพื่อให้ ผู้ใช้ แรงงานอยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรีแห่งความเป็ นมนุษย์มากกว่าที่เป็ นอยู่ในปัจจุบัน องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั คณะกรรมการเครือข่ายผูใช้แรงงานเพือการปฏิรูป ้ ่ วิทยากรโดย 1. คุณสาวิต แก้วหวาน email : sawit_k@hotmail.com 2. คุณชาลี ลอยสูง email : chalee.loysoong@hotmail.com 3. คุณยงยุทธ แม่นตะเภา 4. นางสาวจิตรา คชเดช email: ning2475@hotmail.com ดาเนินรายการโดย ดร.จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร : jaturong22@gmail.com
  • 6. 6 วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๔ กองทุนกูยืมเพือการศึกษา เพือการเข้าถึงและเป็ นธรรม ้ ่ ่ จากตัวเลขทางการศึกษาพบว่า เด็กที่เข้ าสู่การศึกษาชั้น ป. 1 (100%) จะจบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 เพียงราว 50-60% เท่านั้น อัตราการออกจากการเรียน (Drop out) ที่สงระดับนี้เกิดจากหลายสาเหตุ ู ทว่าสาเหตุท่สาคัญประการหนึ่งคือเรื่อง “ความยากจน” ี ในระหว่าง 2539 ที่กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาได้ ดาเนินการในประเทศไทย อัตราการออกจากการศึกษา ก่อนกาหนดลดลง และ อัตราการเข้ าเรียนในวัยเด็กเล็กสูงขึ้น ซึ่งแปลว่า การมีอยู่ของกองทุนกู้ยืมเพื่อ การศึกษาเป็ นประโยชน์ต่อเด็กจานวนมาก โดยเฉพาะเด็กยากจน ดังนั้น มาตรการการให้ วงเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาจึงเป็ นมาตรการสาคัญ ที่เด็กและเยาวชน, นักวิชาการ รวมถึงภาคราชการควร “ช่วย” กันระดมความเห็นว่าจะเสริมพลังให้ กบมาตรการนี้อย่างไร ั **ยาว่าเป้ าหมายหลักไม่ใช่การบอกว่า มาตรการเงินกู้เพื่อการศึกษา(กยศ.)ที่ทาอยู่ แย่อย่างไร จึงต้ อง ้ ปรับปรุง หากเป็ นการพยายามที่ให้ คิดว่า “เราทุกคน” จะช่วยกันเสริมพลังให้ กบเด็กและเยาวชนที่ ั ยากจน เพื่อให้ ได้ รับการศึกษาที่เท่าเทียมมากขึ้น เป็ นธรรมมากขึ้น และ มีคุณภาพมากขึ้นได้ อย่างไร โดย มองจากเครื่องมือ หรือ มาตรการภาครัฐ (ซึ่งในที่น้ คือ กยศ.) เป็ นพระเอก ี ถ้ าพระเอกของเรามีเงินไม่พอ ก็อาจจะต้ องเท่าไหร่ถึงสมเหตุสมผล, ถ้ าอานาจหน้ าที่ของ กยศ. ขาดเกิน อย่างไร ก็ต้องมาช่วยกันคุยถึงความเป็ นไปได้ ท่จะเพิ่มลดอานาจเหล่านั้น, ถ้ าประสิทธิภาพยังน้ อยจะ ี ช่วยกันยกระดับได้ อย่างไร? เป็ นต้น คือ หลักๆคงไม่ใช่เวทีกล่าวโทษกัน แต่เป็ นเวทีท่เด็กและเยาวชน ี เอง อยากชวนผู้ใหญ่มาช่วยคิดกัน (ทั้งผู้ใหญ่วิชาการ ผู้ใหญ่ราชการ ผู้ใหญ่การเมือง) พร้ อมๆกับเด็ก และเยาวชนว่า จะทาอย่างไรกันดี ที่จะหยุดการออกจากการเรียนแบบไม่สมัครใจ (เพราะความยากจน) ให้ ได้ องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั คณะกรรมการเครือข่ายพลังเยาวชนเพือการปฏิรูป ่ วิทยากรโดย ดร.สมเกียรติ ตังกิจวานิช มูลนิธิสถาบันวิจยเพือการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ้ ั ่ ศ.ดร.ดิเรก ปัทมสิริวฒน์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิดา) ั ้ อ.จอน อึ้งภากรณ์ ดาเนินรายการโดย นายแบ๊งก์ งามอรุณโชติ
  • 7. 7 วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๕ จากเซนไดถึงไทยแลนด์ : “เมือภัยภิบติธรรมชาติและภัยพิบติจากน้ ามือมนุ ษย์ ่ ั ั ..กลายเป็ นปั ญหาใกล้ตว” ั ร่วมเสวนาและถ่ายทอดความรู้สกถึงเพื่อนผู้ประสบภัยชาวญี่ป่น....ย้ อนมองสถานการณ์ภัยพิบัติ รอบๆ ึ บ้ าน ...เมื่อภัยพิบัติธรรมชาติและภั ยพิ บัติจากน้ามือมนุ ษย์ ..กลายเป็ นปั ญหาใกล้ ตัว ...กระบวนการ ป้ องกัน บรรเทา ฟื้ นฟู ควรเป็ นอย่างไร ประเทศไทยพร้ อมขนาดไหน ...ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ...การ เตรียมความพร้ อมรับมือภัยพิบัติและกระบวนการฟื้ นฟูภัยพิบัติโดยการมีส่วนร่วม ....ฯลฯ พบกับวิทยากรที่หลากหลาย อาทิเช่น ผู้ประสบภัยสึนามิ ผู้ประสบภัยนาท่วม นักวิชาการด้ านภัยพิบัติ ้ ผู้แทนศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่ งชาติ ผู้แทนกรมบรรเทาสาธารณะภัย สือมวลชน ฯลฯ ่ องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั คณะกรรมการเครือข่ายผูเ้ สียโอกาส คนจนเมือง และกลุ่มชาติพนธุเพือการปฏิรูป ั ์ ่ เครือข่ายชุมชนเพือการปฏิรูปสังคมและการเมือง (คปสม.) ่ วิทยากรโดย ผูอานวยการศูนย์เตือนภัยพิบติแห่งชาติ ้ ั อธิบดีกรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย คุณประสาร สถานสถิตย์ : มูลนิธิรกษ์ไทยอันดามัน ั รศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ นายประยูร จงไกรจักร์ : ตัวแทนชุมชนบ้านนาเค็ม ้ ดาเนินรายการโดย คุณเสกสรร ชัญถาวร
  • 8. 8 วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๖ “พลังงาน – คนไทย ดาวโลก และความอยู่รอด” ภาพโรงงานไฟฟ้ านิวเคลียร์ญ่ีปนระเบิดทาให้ ผู้คนทั่วโลกแทบหยุดหายใจไปชั่วขณะ ราวกับเห็นเรือไทแท ุ่ นิกอีกลมชนภูเขานาแข็งแล้ วจมลงไปต่อหน้ า เทคโนโลยีพลังงานสะอาดอันแสนภาคภูมิใจกลายเป็ นเหมือนยาพิษ ้ ที่ละลายเข้ าสู่อากาศที่มองไม่เห็นในพริบตา – สัตว์เลี้ยงแสนเชื่องกลายเป็ นสัตว์ป่าดุร้ายทีไม่ร้ จักชื่อ และคาถาม ่ ู ต่อแหล่งที่มาของพลังงานและแนวทางการใช้ พลังงานของเราในอนาคตก็ผุดขึ้นมา แหล่งพลังงาน – ก๊าซ ธรรมชาติ ถ่านหิน พลังงานหมุนเวียน เขื่อน นิวเคลียร์ ฯลฯ – ของเราควรเป็ นแบบไหน? เรา –ในฐานะคน ไทย และพลเมืองโลก จะใช้ พลังงานอย่างไร? หากเชื่อว่าคาถามสาคัญกว่าคาตอบ – ขอเชิญทุกท่านมา ร่วมกันตั้งคาถาม ถาม ถาม และถาม – อะไรคือคาถามทีถูกต้ อง? – โปรดติดตามต่อไปในวงเสวนาด้ วยใจระทึก ่ พลัน องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั โดย เครือข่ายพลังงานใหม่และศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิทยากรโดย คุณณอคุณ สิทธิพงศ์ ปลัดกระทรวงพลังงาน คุณวีรพล จิรประดิษฐกุล ผู้อานวยการสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน(สนพ.) ศ. ดร. พรายพล คุ้มทรัพย์ เศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ดร. สิวินีย์ สวัสดิ์อารี สถาบันมาตรวิทยา คุณศรีสวรรณ ควรขจร ุ มูลนิธฟื้นฟูชีวิตและธรรมชาติ ิ คุณชื่นชม สง่าราศรี กรีเซ่น กลุ่มพลังไท และตัวแทน ชุมชนพื้นที่ท่เป็ นเป้ าหมายก่อสร้ างโรงไฟฟ้ า ี ดาเนินรายการโดย ทพ. ศุภผล เอียมเมธาวี ่
  • 9. 9 วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๗ สวัสดิการเกิดจนตาย : สังคมไทยพร้อมหรือยัง ? ตามที่นายกรัฐมนตรี นายอภิสทธิ์ เวชชาชีวะได้ มีนโยบายในการจัดสวัสดิการถ้ วนหน้ าให้ กับคนไทยทุก ิ คนภายในปี 2559 นั้น แต่เรารู้กนหรือไม่ว่าสวัสดิการที่คนไทยควรได้ รับมีอะไรบ้ าง เราควรได้ รับสวัสดิการนั้น ั เมื่อไหร่และอย่างไร เวทีวิชาการขอนาเสนอหลักการและกรอบแนวคิดในด้ านความครอบคลุมของสวัสดิการถ้ วน หน้ าในช่ วงวัยต่างๆ พร้ อมทั้งการจัดลาดับความสาคัญของโครงการหรือมาตรการสวัสดิการถ้ วนหน้ า รวมทั้ง ประมาณการงบประมาณรวมที่ภาครัฐต้ องใช้ ในการจัดสวัสดิการนั้นๆ เพื่อที่จะตอบคาถามที่ว่าสังคมไทยพร้ อมแล้ วหรือยังสาหรับการจัดสวัสดิการถ้ วนหน้ าให้ แก่ประชาชนทุก คน ขอเชิญชวนร่วมรับฟังและระดมความคิด เพื่อกาหนดสวัสดิการที่ควรจะเป็ นสาหรับคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย พร้ อมทั้งความเป็ นไปได้ ของการจัดสวัสดิการสังคมของรัฐและภาคีต่างๆ ผ่านเวทีระดมสมองในงานสมัชชาปฏิ รูป ระดับชาติ ครั้งที่ ๑ องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั คณะกรรมการการจัดสรรทรัพยากรเพือความเป็ นธรรม ่ วิทยากรโดย ดร. สมชัย จิตสุชน มูลนิธิสถาบันวิจยเพือการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ั ่ นายปกรณ์ พันธุ อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
  • 10. 10 วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๔ กระจุกหรือกระจาย (อานาจ) ตามที่สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้ แก่องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ได้ กาหนดแผนการกระจาย อานาจให้ แก่ อ งค์ก รปกครองส่ วนท้ อ งถิ่ น ตามรัฐธรรมนู ญแห่ ง ราชอาณาจัก รไทย พุทธศั ก ราช 2540 โดยให้ ต รา พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจและหน้ าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะระหว่ างรัฐกั บ องค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น และกาหนดให้ ช่วง 4 ปี แรก (พ.ศ.2544-พ.ศ.2547) ให้ ดาเนินการถ่ ายโอนด้ วยการ กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้ แก่องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ราชการบริหารส่วนกลาง และระบบราชการ บริห ารส่ วนภูมิ ภ าค รวมทั้ง พัฒนายุ ท ธศาสตร์ ก ารสร้ า งความพร้ อ มในการรองรั บการถ่ า ยโอนภารกิ จ บุ คลากร งบประมาณและทรัพย์สิน ตามวิสัยทัศน์ของการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น รวม 3 ด้ านที่สาคัญ คือ ด้ านความเป็ นอิสระใน การกาหนดนโยบายและบริหารจัดการ ด้ านบริหารจัดการโดยลดภารกิจของราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และเพิ่ม บทบาทให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นดาเนินการแทน และด้ านประสิทธิภาพของการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ ประชาชนมี ส่วนร่ วมในการตัดสิน ใจ ร่ วมดาเนินการ และร่ วมตรวจสอบ และตามกรอ บของแผนงานดังกล่ า วได้ กาหนดให้ โอนภารกิจการจัดบริการสาธารณะของรัฐ ที่ดาเนินอยู่ให้ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น และกระบวนการการถ่าย โอนภารกิจสาธารณสุขให้ องค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นได้ อย่ างสมบูรณ์น้ ัน พื้นที่จังหวัดต่ างๆ ต้ องมีความพร้ อมและมี ขั้นตอนตลอดจนแผนงานที่ชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นจะต้ องเห็นชอบและพร้ อมที่จะรับการ ถ่ายโอนด้ วยการคานึงถึงความคุ้มค่าและความประหยัด เพราะจะเกี่ยวข้ องกับภารกิจ งบประมาณ และบุคลากร ซึ่งมี ความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ และในช่ วง 10 ปี ที่ผ่านมา พบว่าพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. 2542 พบ ความล้ มเหลวในการบังคับใช้ กฎหมายขององค์กรภาครัฐ ไม่เห็นความสาคัญเพราะยึดหลักการประสิทธิภาพที่อาจขัดต่อ หลักการกระจายอานาจ และในความเป็ นจริงมักจะพบข้ อโต้ แย้ งทางอุดมการณ์และหาทางออกด้ ว ยการประนีประนอม เช่ น กฎหมายอาจออกมาไม่เหมาะสมจึงไม่เหมาะสมที่ทาตาม ถึงแม้ จะมีการระบุกรอบเวลาในการดาเนินการแต่กไม่ ได้ ็ ทาตามกรอบระยะเวลาที่กาหนด ซึ่งก็ไม่ได้ เกิดอะไรขึ้นและเป็ นเรื่องไม่สาคัญในสังคมไทยที่องค์กรภาครัฐส่ วนกลางจะ ปฏิบัติตามกฎหมาย มองแล้ วยังเป็ นเรื่องยากที่จะทาให้ ผ้ มีอานาจทั้งอานาจรัฐ อานาจเงิน อานาจสังคม อานาจปั ญญา ู ยอมมอบอ านาจหรือ กระจายอ านาจเหล่ า นั้ น ให้ กั บผู้ไ ม่ มี อ านาจ ใครที่มี อ านาจอยู่ ก่ อ นแล้ ว มี ก ารบริห ารจัด การ งบประมาณ กาลังคน มีความรู้ความชานาญที่ผ่านประสบการณ์มาจะเอาอานาจไปยกให้ กับคนที่ไม่ เคยมีอานาจมาก่ อน ดังนั้นในเชิงตรรกะจึงย่อมเป็ นเรื่องที่เป็ นไปไม่ได้ ณ ขณะนี้ถึงเวลาแล้ วหรือยังที่พวกเราทุ กคนจะมาทาความเข้ าใจกับ ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม การบริหารจัดการที่มีอิสระในอานาจที่ควรมี หรือจะเป็ นเหมือนเดิม ? (ไม่สามารถกระจาย อานาจได้ ) องค์กร/เครือข่ ายทีรบผิดชอบ ่ั สถาบันวิจยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ั วิทยากรโดย รศ.ดร.สกนธ์ วรัญญวัฒนา คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ - สถาบันจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นายสุริยา ยี่ขุน นายกเทศมนตรีตาบลปริก จ.สงขลา ดาเนินรายการโดย นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
  • 11. 11 วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๔ พลังประชาชน ชุมชนท้องถินจัดการตนเอง ่ การพัฒนาประเทศในช่วงที่ผ่านมา เป็ นการพัฒนาจากยอดพระเจดีย์ โดยใช้ข้างบนเป็ นตัวตั้ง ทอดทิ้ง ฐานล่างคือชุมชนท้องถิ่น ทาให้ ชุมชนท้องถิ่นอ่อนแอ เกิดความขัดแย้ งทางสังคม อันเนื่องมาจากการไม่ได้ รับ ความเป็ นธรรม และความเหลื่อมลาในด้ านต่างๆ ส่งผลให้ สงคมไทยพังทลาย ้ ั การจะทาให้ ฐานล่างของสังคมมีความเข้ มแข็งได้ น้ัน จาเป็ นต้ องปรับกระบวนทัศน์ใหม่ในการพัฒนา ด้ วย การใช้ พ้ ืนที่ชุมชนท้องถิ่นเป็ นตัวตั้ง สนับสนุนให้ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเองให้ มากที่สด คืนอานาจในการจัดการ ุ ตนเองให้ ชุมชนท้องถิ่น ให้ ความสาคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนท้องถิ่น ซึ่งเป็ นฐานล่าง จากคน ที่ไม่ได้ รับความเป็ นธรรม ให้ เป็ นไปอย่างจริงจัง กว้ างขวาง และครอบคลุม สร้ างระบบที่เกิดขึ้นจากคนในชุมชน ท้องถิ่น นาไปสู่การจัดระบบการจัดการใหม่ท่สร้ างความเท่าเทียมให้ แก่ทุกคนในพื้นที่ เปิ ดโอกาสให้ คนในชุมชน ี ท้ องถิ่น กาหนดทิศทางการพั ฒนาของตนเอง สร้ างระบบเศรษฐกิจของท้ องถิ่น ระบบวัฒ นธรรมที่เ คารพใน ศักดิ์ศรีของตนเอง สร้ างการเมืองใหม่/ระบบประชาธิปไตยของตนเอง รวมถึงปรับเปลี่ยนดุลอานาจในการบริหาร จัดการใหม่ท่จะเอื้ออานวยให้ ชุมชนท้องถิ่นจัดการสิ่งต่างๆ ด้ วยตนเองให้ มากที่สด ี ุ องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั คณะกรรมการเครือข่ายองค์กรชุมชนเพือการปฏิรูป ่ เครือข่ายองค์กรชุมชน ๕ ภาค วิทยากรโดย ศจ.สุริชย หวันแก้ว ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ั นายแก้ว สังข์ชู กรรมการเครือข่ายองค์กรชุมชนเพือการปฏิรูป ่ นางทิวาพร ศรีวรกุล ผูประสานเครือข่ายป่ าต้นนา ต.บางกระแจ๊ะ อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี ้ ้ นายพลากร วงศ์กองแก้ว ผูช่วยผูอานวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ้ ้ ดาเนินรายการโดย นายประพจน์ ภู่ทองคา
  • 12. 12 วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๕ การสร้างจิ นตนาการประเทศด้วยกองทุนสือสร้างสรรค์ ่ ร่วมหาแนวทาง สร้ างจินตนาการให้ ประเทศไทย ด้ วยกองทุนสือสร้ างสรรค์ ที่จะสรรค์สร้ างสือ ่ ่ สีขาวให้ เหล่าเยาวชนของชาติ องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั มูลนิธิเพือการพัฒนาเด็ก(มพด.) ่ แผนงานสือสร้างสุขภาวะเยาวชน(สสย.) ่ สานักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ(สสส) วิทยากรโดย นส.เข็มพร วิรุณราพันธ์ ผู้จัดการแผนงานสือสร้ างสุขภาวะเยาวชน(สสย.) ่ คุณทราย เจริญปุระ ดารานักแสดง คุณภัทราพร สังข์พวงทอง ผู้ผลิตและพิธกรรายการกบนอกกะลา ี คุณต่อพงษ์ เสลานนท์ อุปนายยกสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย คุณอิฐบู รณ์ อ้นวงษา มูลนิธเพื่อผู้บริโภค ิ ดาเนินรายการโดย คุณประวีณมัย บ่ายคล้อย ผู้ประกาศข่าวสถานีโทรทัศน์ทวีไทย ี
  • 13. 13 วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๖ ลดผูกขาด ลดเหลือมล้ า เพิมความเป็ นธรรม ่ ่ ตลอดระยะเวลากว่า ๑๐ ปี ที่ พ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้ า พ.ศ. ๒๕๔๒ มีผลบังคับใช้ ให้ สร้ างและ ก่อให้ เกิดการแข่งขันทางการค้ าทีเป็ นธรรมหรือไม่ ?……ผลของการดาเนินการตามกฎหมายเป็ นเช่นไร ? มีส่วน ่ ช่วยให้ เกิดการสร้ างความเป็ นธรรม และลดความเหลื่อมลาในสังคมหรือไม่ ?…และจะปรับปรุงแก้ไขพ.ร.บ. การ ้ แข่งขันทางการค้ าให้ มีประสิทธิภาพดีย่ิงขึ้นได้ อย่างไร ?…..... องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั คณะทางานวิชาการเพือการปฏิรูป ่ มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) วิทยากรโดย ดร.เดือนเด่น นิคมบริรกษ์ สถาบันวิจยเพือการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ั ั ่
  • 14. 14 วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๗ ผังเมืองที่เป็ นธรรม ขณะนี้มีการวางผังประเทศไทยล่วงหน้ า ๕๐ ปี ที่เรียกว่า “ผังประเทศไทย พ.ศ. ๒๖๐๐” และการวางผัง เมืองรวมทั่วประเทศ ชีวิตของคนไทยจะถูกกาหนดโดยกระบวนการที่เป็ นธรรมหรือไม่ ทาไมการทาผังเมืองเป็ น กระบวนการที่ห่างไกลประชาชนที่สดทั้งๆ ที่ผลผลิตปลายนาซึ่งคือ “ผังเมือง” มีประชาชนเป็ นผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ุ ้ โดยตรงอย่างไม่มีข้อสงสัย เขตอุตสาหกรรม โรงงาน โรงไฟฟ้ า ถนน ทางรถไฟ ท่าเรือ ฯลฯ ล้ วนมาจากทิศทาง ของการวาง ”ผังเมืองรวม” แต่ “ผังเมืองรวม” มาจากไหน การบุกรุกที่ดินเกิดขึ้นได้ เพราะผังเมืองเป็ นเครื่องมือ ของกลุ่มทุนและคนไม่หวังดีหรือไม่ ถึงเวลาแล้ วที่การคัดค้ านโครงการต่างๆ ต้ องสาวประเด็นให้ ลึกถึงโครงสร้ าง และกระบวนการการวางผั งเมืองที่ไม่ เป็ นธรรม ขอเชิญ ร่ว มสนทนาอย่ างเป็ นกัน เองกับนักวิ ชาการและนั ก กฎหมายเพื่อสร้ างความเข้ าใจเรื่องผังเมืองที่เป็ นธรรม องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั เครือข่ายรักแม่พระธรณี ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มูลนิธิดอกไม้และนกกระดาษเพือสันติภาพ ่ วิทยากรโดย  ผศ. ดร. พนิต ภู่จนดา อาจารย์ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  รองศาสตราจารย์. ดร. ต่อตระกูล ยมนาค  คุณภารนี สวัสดิรกษ์ เครือข่ายวางแผนและผังเมืองเพือสังคม ั ่ ดาเนินรายการโดย ดร. อภิวฒน์ รัตนวราหะ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 15. 15 วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๔ การเมือง : ใช่ ..เรืองผูหญิง ่ ้ ความวิกฤตของบ้ านเมืองที่เป็ นเรื่องของปากท้อง การมีชีวิตอยู่ของผู้คนส่วนใหญ่ของประเทศ ชึ่งเกินครึ่ง เป็ นผู้หญิง โครงสร้ างสังคมที่มีความเหลื่อมหลา มีความไม่เป็ นธรรม เป็ นปัญหาที่ก่อให้ เกิดความแตกแยก ความ ้ ไม่สงบสุขในสังคม โครงสร้ างอานาจการบริหารจัดการบ้ านเมืองที่ไม่ใส่ใจการมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้คนที่มีความ แตกต่างทั้งทางเพศ อายุ เชื้อชาติ รวมทั้งกลุ่มคนชายขอบต่างๆเป็ นอุปสรรคต่อการสร้ างสังคมประชาธิปไตยที่ เป็ นธรรมและเสมอภาค สังคมไทยยังเป็ นสังคมปิ ตาธิปไตย มีรากเหง้ าของจิตสานึกที่มีอคติทางเพศ โครงสร้ าง กลไก ระบบต่างๆ รวมทั้งการแสดงออกในระดับชีวิตประจาวันของสมาชิกในสังคมสร้ างปัญหาความรุนแรง การเลือกปฏิบัติทางเพศ ก่อให้ เกิดความเหลื่อมหลา ความไม่เป็ นธรรมในหลากหลายรูปแบบต่อผู้หญิง ซึ่งจาเป็ นต้ องเปลี่ยนแปลง ้ การปฏิรูปที่จ ะพลิกโฉมประเทศไทยอย่ างแท้ จริงต้ องสร้ างอุด มการณ์สังคมที่ต้ังอยู่ บนหลักการสิทธิ มนุษยชนที่หญิงและชายมีศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์ท่เท่าเทียมกันซึ่งเป็ นคอขวดของการปฏิรปโครงสร้ างการพัฒนา ี ู เศษฐกิจ สังคม รวมทั้งการพัฒนาด้ านการเมืองสู่การพัฒนาประชาธิปไตยที่แท้จริง องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั เครือข่ายผูหญิงพลิกโฉมแห่งประเทศไทย (WREST) ้ คณะกรรมการเครือข่ายพลังสตรีเพือการปฏิรูป ่ สภาพัฒนาการเมือง วิทยากรโดย นางสาวลัดดาวัลย์ ตันติวิทยาพิทกษ์ : รองประธานสภาพัฒนาการเมือง ั นางสุนทรี เซ่งกิ่ง : เครือข่ายบ่อนอก นางประทิน เวคะวากยานนท์ : เครือข่ายสลัม 4 ภาค พญ.ประคอง วิทยาศัย : มูลนิธิเกื้อดรุณ นางประนอม เภตรา : เครือข่ายลด ละ เลิก เหล้า: ลดความรุนแรงต่อสตรี นางธนวรรณ พวงผกา เครือข่ายชุมชนเพือปฏิรูปสังคมและการเมือง (คปสม.) ่ นางสาวเนตรนรี กิจบาเพ็ญ: เครือข่ายเยาวชนเพือการปฏิรูป ่ นางสาวสมศรี หาญอนันทสุข : เครือข่ายเอเซียเพือการเลือกตังเสรี ่ ้ นางสาวศิริพร ปัญญาเสน : นายกองค์การบริหารส่วนตาบลพิชย อ.เมือง จ.ลาปาง ั ดร.สุชาดา เมฆรุ่งเรืองกุล : ผูประสานงานเครือข่ายผูหญิงพลิกโฉมแห่งประเทศไทย ้ ้ นางฒุฒิพร ทิพย์วงษ์ : เครือข่ายสิทธิคนจนพัฒนาภูเก็ต นางอังคณา นีลไพจิตร : ประธานมูลนิธิยุติธรรมเพือสันติภาพ ่ ดาเนินรายการโดย นางสุนีย์ ไชยรส : นักวิชาการอิสระ
  • 16. 16 วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๕ ความเป็ นธรรมทางภาษี : ถึงเวลาปฏิรูป ? “ภาษี” โดยปกติมีหน้ าที่สร้ างความเป็ นธรรมและลดความเหลื่อมลาในสังคมอยู่แล้ ว แม้ ว่าเราจะคุ้นเคย ้ กับระบบภาษีท่ใช้ กนอยู่เป็ นอย่างดี แล้ วคุณคิดว่า ี ั  ระบบภาษีท่ใช้ อยู่ในปัจจุบนเป็ นธรรมแล้ วหรือยัง? นั่นคือคนรวยควรจ่ายภาษีมากกว่าคนจน ี ั และคนที่มีฐานะเท่าเทียมกันก็ควรรับภาระภาษีเท่า ๆ กันแล้ วหรือยัง?  ภาษีทาหน้ าที่ลดความเหลื่อมลาในสังคมหรือทาหน้ าที่ในการถ่ายโอนทรัพยากรจากคนรวยไปสู่ ้ คนจนได้ ดีแค่ไหน?  หากคาตอบคือ “ไม่” เราควรทาอย่างไรให้ ภาษีทาหน้ าที่สร้ างความเป็ นธรรมและลดความ เหลื่อมลาได้ มากยิ่งขึ้น ต้ องเก็บภาษีมากขึ้นใช่หรือไม่ ? หรือเพิ่มภาษีบางประเภทแล้ วลดภาษีอก ้ ี ประเภทดี?  อีกคาถามหลักที่ต้องร่วมกันหาคาตอบคือหากเก็บภาษีได้มากขึ้นแล้ วจะเอาไปทาอะไรให้ เกิดผล ในการสร้ างความเป็ นธรรมและลดความเหลื่อมลาได้ มากที่สด? ้ ุ ท่านอาจเป็ นผู้หนึ่งที่มีส่วนร่วมในกระบวนการปฏิรูประบบภาษีของประเทศไทย องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั คณะกรรมการการจัดสรรทรัพยากรเพือความเป็ นธรรม ่ วิทยากรโดย ดร. สมชัย จิตสุชน มูลนิธิสถาบันวิจยเพือการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ั ่ คุณประพัฒน์ โพธิวรคุณ อดีตประธานสภาอุตสาหกรรม นายนริศ ชัยสูตร ผูอานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง ้
  • 17. 17 วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๖ “ปากท้องและการหากิน : เศรษฐศาสตร์ของหญิงและชาย”  โลกาภิวั ฒน์ โลกร้ อน การตัด ถนนเส้ นใหม่ และคนแก่ท่มากขึ้น ส่งผลกระทบต่ อผู้หญิงและผู้ ชาย ี เหมือนกันไหม?  ในโลกที่เชื่อว่าเรื่องการค้ าเสรี ในประเทศที่เน้ นนโยบายส่งออก แรงงานราคาถูกจะหาจากไหนล่ะ ? ผู้หญิงหรือผู้ชาย?  ในภาวะวิกฤติโลกร้ อน ใครใช้ รถคันเล็ก? ใครวางแผนการจับจ่ายซื้อของในบ้ าน? ใครปล่อยคาร์บอน มากกว่า? – ผู้หญิงหรือผู้ชาย?  หากในบ้ านมีคนป่ วยหรือคนแก่ ใครเป็ นผู้ดูแล? ใครจ่ายเงิน? – ผู้หญิงหรือผู้ชาย?  เศรษฐศาสตร์ท่มีความละเอียดประณีตขึ้นนอกจากจะเห็นหัวคนแล้ ว ยังต้ องมองเห็นทั้งผู้หญิงและ ี ผู้ชายในระบบเศรษฐกิจอีกด้ วยเพื่อก่อให้ เกิดดุลยภาพในเชิงนโยบาย ขอเชิญผู้สนใจทุกท่านร่วมเปิ ดพรมแดนความรู้ใหม่ – เศรษฐศาสตร์ท่มีมิติหญิงชาย – ร่วมเรียนรู้และ ี ทาความเข้ าใจเศรษฐศาสตร์แบบง่าย จากชีวิ ต ผู้หญิ งผู้ชายที่หายใจในร่ วมเงาของโลกและสังคมเดียวกัน สู่ นโยบายแห่งการพัฒนาที่ฉลาดขึ้น องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP) คณะกรรมการเครือข่ายพลังสตรีเพือการปฏิรูป ่ เครือข่ายถมช่องว่างทางสังคม (SIRNet) เครือข่ายผูหญิงพลิกโฉมแห่งประเทศไทย (WREST) ้ วิทยากรโดย คุณสุภาพร พรรณราย เครือขายสตรีรกทะเลสาบสงขลา ั คุณอรุณี ศรีโต กลุ่มบูรณาการแรงงานสตรี คุณจันทวิภา อภิสข ศูนย์พิทกษ์สิทธิหญิงบริการ ุ ั รศ.ดร.ภาวดี ทองอุไทย โครงการสตรีและเยาวชนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ.ดร.นิรมล สุธรรมกิจ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นพ.ภูษิต ประคองสาย สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
  • 18. 18 วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๐๐ – ๑๘.๔๕ น. ห้องปฏิรูป ๕ การขับเคลือนศิลปวัฒนธรรมภาคประชาชน : กลไกการจัดการเพือพัฒนาสังคม ่ ่ วัฒนธรรมคื อวิถีชีวิต และวิถีชีวิ ตนี้เองคือเนื้อดิน ให้ กาเนิดเนื้องานอันนิ ยามว่ า “ศิลปะ” ด้ วยเหตุน้ ี “ศิลปะ”และ”วัฒนธรรม”จึงมิอาจแยกออกจากกัน หากเกื้อกูลและเป็ นเงื่อนไขของกันและกัน และเป็ นส่วนหนึ่ง ของสังคม ทั้งส่ว นหนึ่ ง ของสังคมไทยและแยกไม่ ออกจากสังคมโลก นั บวั นศิลปวั ฒ นธรรมก็ย่ิงมีบทบาทต่ อ ศิลปวัฒนธรรมของสังคมไทย ทั้งด้ านอิทธิพลทางความคิด ทั้งด้ านเศรษฐกิจและสังคม โดยผ่านกระบวนการผลิต แบบอุต สาหกรรมทางวั ฒ นธรรม หากสัง คมไทยไม่ ร้ ูเ ท่าทัน ขาดภู มิคุ้ มกัน ไม่ เ ห็น คุ ณค่ าเชิงอัต รลักษณ์ทาง วัฒนธรรม ขาดกระบวนการวางรากฐานเชิงระบบ การพัฒนาสังคมไทยไปสู่ความยั่งยืนก็มิอาจเกิดขึ้นได้ ในขณะเดียวกันสังคมไทยก็ตกอยู่ในภาวะวิกฤตหลายประการ ทั้งความเหลื่อมลาในสังคม ปัญหาดังกล่าวส่งผลให้ ้ การพัฒนาประเทศไร้ ทศทางและไม่มีประสิทธิภาพ สาเหตุของวิกฤตการณ์ทางสังคมดังกล่าว ส่วนหนึ่งเกิด จาก ิ พื้นฐานการศึกษาของไทยที่หลีกหนีจากศิลปวัฒนธรรมอันเป็ นรากฐานดั้งเดิม และทิศทางการพัฒนาประเทศที่ ไม่ได้ ม่งเน้ นการส่งเสริมผ่านศิลปวัฒนธรรม ุ ถึงเวลาแล้ วที่ศิลปิ นในแต่ละสาขา แต่ละพื้นที่ควรจะมีส่วนร่วมในการสร้ างสรรค์สังคม โดยใช้ ศิลปะทุก สาขา(ร่วมสมัยและพื้นบ้ าน) พัฒนาและเยียวยาผู้คนและสังคม รวมทั้งจะต้ องรวมตัวกันเพื่อความร่วมมือระหว่าง ผู้สร้ างงานศิลปะที่มีความแตกต่าง ทั้ง ต่างสาขา ต่ างที่ ต่างทิศทาง ต่างเนื้อหา ต่างรูปแบบ โดยยังสามารถคง ความเป็ นเอกลักษณ์และความเป็ นอิสระของตนเองไว้ ด้วย รวมทั้งต้ องใช้ ศิลปะเป็ นสื่อการในการให้ การศึกษา และสร้ างสรรค์จิตใจของผู้คนในสังคม..... องค์กร/เครือข่ายที่รบผิดชอบ ั คณะกรรมการเครือข่ายศิลปิ นเพือการปฏิรูป ่ วิทยากรโดย ๑.อาจารย์เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ประธานคณะกรรมการสมัชชาศิลปิ นเพือการปฏิรูป ่ ๒.นพ.วิชย โชควิวฒน ั ั คณะกรรมการปฏิรูป(คปร.) ๓.รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข ประธานอนุกรรมการวิชาการ เครือข่ายศิลปิ นเพือการปฏิรูป ่ ๔.อาจารย์ชมัยพร บางคมบาง สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย ดาเนินรายการโดย คุณณัฐฐา โกมลวาทิน ทีวีไทย