SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 76
Downloaden Sie, um offline zu lesen
หมายถึง จํานวนของเงินที่ถูกเรียกเก็บเปนคาสินคาหรือ
บริการ จะตองมีการกําหนดราคาใหมีความเหมาะสมกับ
    ลักษณะผลิตภัณฑ ลูกคา และวิธีการจัดจําหนาย
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห ปจจัยที่ควร
      คํานึงในการกําหนดราคา
    {Situation analysis}
1.1ปจจัยภายในองคกร
   [Organizational factor]




ประกอบดวยฝายตางๆที่เกี่ยวของกับการตั้งราคา
เชน ฝายการผลิต การตลาด การเงิน รวมทั้ง
นโยบายการตั้งราคาของบริษัท
1.2เปาหมายและวัตถุประสงคขององคกร
[Organizational goal and objective]



           วัตถุประสงคของการตั้งราคา
   ตองสอดคลอง กับวัตถุประสงคทางการตลาด
   วัตถุประสงคและเปาหมายขององคกรดวย
1.3 ตนทุน [Cost]

      การกําหนดราคาจะตองคํานึงถึงตนทุน บวกดวย
กําไรที่ตองการ โดยทั่วไปราคาต่ําสุดที่กําหนดไวจะไมต่ํากวา
 ตนทุนผันแปรตอหนวย แตการตั้งราคาบางครั้งอาจต่ํากวา
             ตนทุน (Loss leader pricing)
               เพื่อจูงใจใหลูกคาซื้อสินคาเพิ่ม
1.ผลิตภัณฑที่มีลักษณะเดน
2.ผลิตภัณฑที่ตราสินคามีชื่อเสียง มีแนวโนมที่จะตั้งราคาสูง
3.ชนิดของผลิตภัณฑ สายผลิตภัณฑ และสวนประสม
ผลิตภัณฑ จะมีราคาที่แตกตางกัน
4.การใหบริการเสริมตางๆ
1.5ลักษณะของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ
              [Product life cycle]
                      สามารถแบงเปน 5 ขั้น ไดแก
1.ขั้นพัฒนาผลิตภัณฑ (Product development stage)
    ยังไมมีการกําหนดราคาของผลิตภัณฑ
2.ขั้นแนะนํา (Introduction stage) ราคาอาจจะสูงหรือต่ําก็ได
ขึ้นอยูกับลักษณะผลิตภัณฑ
3.ขั้นเจริญเติบโต (Growth stage) ตั้งราคามีแนวโนมวาจะลดลง
1.6 โปรแกรมการตลาดอื่นๆ
[Other marketing Program
    in price decision]
เปนปจจัยที่อยูภายนอกองคกรที่กิจการ
ไมสามารถควบคุมได ปจจัยเหลานี้ ไดแก
2.1ความยืดหยุนของอุปสงค
(Elasticity of demand)
2.2 ประเภทของลูกคา
      [Type of customer]



การตั้งราคานั้นจะตองคํานึงถึงลูกคา
กลุมเปาหมายของสินคานั้นๆดวย
2.3 ผูขายวัตถุดิบและปจจัยการผลิต
           [Supplier]




     การตั้งราคาตองคํานึงถึงผูขายวัตถุดิบและปจจัย
    การผลิตประกอบดวย เพราะจะตองนํามาคํานวณ
  เปนตนทุนของสินคา และเปนราคาของสินคาในที่สุด
2.4ภาวะการแขงขัน [Competition]

ภาวะการแขงขันในตลาดสูงมากหรือรุนแรงก็ควร
ตั้งราคาใหต่ําลง เพื่อหลีกเลี่ยงการแขงขัน
2.5 สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ
          [Economic environment]

ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ําอํานาจ
ซื้อของผูซื้อจะลดลง ราคาจึงมี
แนวโนมที่จะลดลง เพื่อกระตุน
     ใหผูบริโภคเกิดการซื้อ
2.6 จริยธรรมของนักธุรกิจ [Ethical]
 การตั้งราคาจึงตองคํานึงถึงความรับผิดชอบ
               ตอสังคมดวย


2.7 กฎหมาย [Legal] การตั้งราคา
 ตองใหเหมาะสมและสอดคลองกับ
กฎหมายที่เกี่ยวของกับการตั้งราคาดวย
ขั้นที่ 2 การเลือกวัตถุประสงคในการตั้งราคา
[Selecting pricing objectives]
วัตถุประสงคในการตั้งราคา

        1.มุงรายไดจากการขาย [Total revenue]



เพื่อการเพิ่มขึ้นของรายไดจากการขาย   เพื่อเพิ่มเงินสดหมุนเวียน
เพื่อใหไดรับผลตอบแทนจากเงินลงทุนตามเปาหมาย




                                           เพื่อใหไดกําไรสูงสุด




เพื่อดํารงการดําเนินธุรกิจใหคงอยูตอไป
เพื่อเพิ่มยอดขาย               เพื่อรักษาสวนครองตลาด




             3. มุงยอดขายหรือปริมาณขาย
            ( Sales or sales quantity)


เพื่อความอยูรอดของกิจการ       เพื่อเพิ่มสวนครองตลาด
4. มุงการแขงขัน(Competition)



เพื่อเผชิญกับการแขงขัน                               เพื่อหลีกเลี่ยงการแขงขัน


                          เพื่อตัดราคาของคูแขงขัน
เพื่อการปฏิบัติตามหลักจริยธรรมที่ดี




   เพื่อรักษาภาวะการจางงาน
6. มุงสรางภาพลักษณ (Image)




เพื่อภาพลักษณของบริษัท          เพื่อภาพลักษณของผลิตภัณฑ
ขั้นที่ 3 การคาดคะเนปริมาณความตองการซื้อสินคา
          (Determining demand)
1.การสํารวจความตั้งใจของผูซื้อ
(Survey of buyers intentions)
เปนวิธีการสอบถามความคิดเห็นจาก
พนักงานขาย เพราะพนักงานขายจะเปนผูที่
เกี่ยวของกับลูกคาโดยตรง
 จึงทําใหทราบถึงปริมาณความตองการซื้อ
สินคาชนิดตางๆในระดับราคาที่แตกตางกัน
ได
3. ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (Expert opinions)
4. การทดสอบตลาด (Market test method)


        เปนวิธีการนําสินคาจํานวนหนึ่งออกทดลอง
    จําหนายในพื้นที่ที่คาดวาจะเปนตัวแทนของตลาด
   เพื่อทราบขอมูลเกี่ยวกับราคา ปริมาณการขาย และ
                  ขอมูลทางการตลาดอื่นๆ
5. การวิเคราะหอนุกรมเวลา (Time series analysis)



         เปนวิธีการคาดคะเนความตองการซื้อใน
          อนาคตโดยอาศัยขอมูลการขายในอดีต
            พิจารณาจากความสัมพันธของการ
             เปลี่ยนแปลงของยอดขายกับเวลา
มีเทคนิคในการบริหารตนทุนและคาใชจายดังนี้
ตนทุนระยะสั้น   ตนทุนระยะยาว
2.เสนประสบการณ [Experience curve]

ธุรกิจที่มีประสบการณในการปฏิบัติงานจะมีตนทุนการผลิตต่ํา
                กวาธุรกิจที่ไมมีประสบการณ
3.ความเปนอัตโนมัติ
           [Degree of automation]
 ธุรกิจที่มีการนําเครื่องจักรอัตโนมัติมาใชในการผลิตและจัดการ
ระบบงานที่เหมาะสมจะชวยลดตนทุนในการผลิตลงไดและยังชวย
ใหเกิดขอไดเปรียบจากการผลิตมากกวาธุรกิจที่ไมไดนําเครื่องจักร
               อัตโนมัติหรือการจัดระบบมาที่ดีมาใช
ขั้นที่ 5 การวิเคราะหตนทุน ราคา
       และผลิตภัณฑของคูแขงขัน
[Analyzing competitors costs
       prices and offers]
การวิเคราะหตนทุน ราคาและผลิตภัณฑของคูแขงขัน

      บริษัทตองศึกษาถึงตนทุนของคูแขงขัน
         เพื่อใหทราบขอไดเปรียบหรือขอ
     เสียเปรียบจากตนทุนตองศึกษาถึงราคา
     และคุณภาพของผลิตภัณฑของคูแขงขัน
       โดยสงผูสังเกตการณไปสํารวจราคา
     ผลิตภัณฑกลยุทธการตลาดของคูแขงขัน
      รายงาน ราคาสินคาตางๆ ตลอดจนทํา
     การวิจัย ผูซื้อเกี่ยวกับราคาที่ผูซื้อรับรูได
             ในผลิตภัณฑของคูแขงขัน
ขั้นที่ 6 การเลือกวิธีการตั้งราคา
 [Selecting a pricing
          method]
ตนทุนคงที่เฉลี่ย ตนทุนผันแปรเฉลี่ย ตนทุนเฉลี่ย
วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากตนทุน
                [Cost plus pricing]
1.1การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากตนทุนเฉลี่ย [Average Cost (AC)
  pricing] เปนการตั้งราคาโดยบวกสวนเพิ่ม [Mark up] หรือ
  กําไรตอหนวยจากตนทุนเฉลี่ย
1.2การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากตนทุนผันแปรเฉลี่ย [Average Variable
  Cost (AVC) pricing ] หรือตนทุนที่เพิ่มขึ้น (Incremental cost
  pricing) เปนการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มกําไรตอหนวยจากตนทุนแปรผันเฉลี่ย




          ราคา = ตนทุนแปรผันเฉลี่ย (AVC)+ กําไรตอหนวย
1.3 การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากตนทุนสวนเพิ่ม
          [Marginal Cost (MC) pricing]
เปนการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มกําไรตอหนวยจากตนทุนสวนเพิ่มของหนวย




  ราคา= ตนทุนสวนเพิ่มตอหนวย (MC) + กําไรตอหนวย
1.4 การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากตนทุนโดยพอคาคนกลาง [Cost plus
   pricing by middlemen] ไดแก ผูคาสงและผูคาปลีก มักนิยมตั้งราคา
   สินคาโดยบวกจํานวนเงินสวนเพิ่ม (Mark up) จากตนทุน อัตราสวนเพิ่ม
   (Mark up percentage) ปกติจะคํานวณจากราคาขายเสมอ ถาคํานวณ
   จากฐานตนทุนเราเรียกวา อัตราสวนเพิ่มคิดจากตนทุน (Mark up or
   Mark up on cost)
1.5 การวิเคราะหจุดคุมทุน [Break-even point analysis]
  จุดที่แสดงถึงปริมาณการผลิตเพื่อขายที่ทําใหรายไดรวมเทากับตนทุนรวมและ
  ณ จุดคุมทุนนี้กิจการจะไมมีกําไรหรือขาดทุน ดังนั้น ปริมาณการผลิตเพื่อขายที่
  คุมทุนก็คือปริมาณที่ทําใหรายไดรวมเทากับตนทุนรวม
2.การตั้งราคาโดยพิจารณาจากความ
           สมดุลระหวาง
        อุปสงคและอุปทาน
    [Price bases on a
    balance between
  demand and supply]
เปนการกําหนดราคาที่จะทําให
เกิดความสมดุลระหวางอุปสงค
 กับตนทุนตอหนวยที่ทําใหเกิด
 กําไรสูงสุด วิธีนี้เหมาะสําหรับ
   บริษัทที่มีวัตถุประสงคเพื่อ
 ตองการใหไดกําไรสูงสุด เพื่อ
    นําไปเปรียบเทียบกับการ
       กําหนดราคาวิธีอื่น
3.การตั้งราคาโดยพิจารณา
     ความสัมพันธกับตลาดอยางเดียว
 [Pricing set in relation to
           market alone]
เปนการตั้งราคาโดยการนําเอาราคาของ
  ผูแขงขันมาใชเปนแนวทางในการตั้ง
     ราคา วิธีการตั้งราคามี 3 แบบ คือ
3.1 การตั้งราคาเพื่อเผชิญการแขงขัน
  [Pricing to meet competition]
      3.2 การตั้งราคาต่ํากวาคูแขงขัน
[Pricing below competition level]
      3.3. การตั้งราคาสูงกวาคูแขงขัน
[Pricing above competition level]
ขั้นที่ 7 การตัดสินใจเลือกราคาขั้น
                สุดทาย
[Selecting the final price]
1.การตั้งราคาตามหลักจิตวิทยา
           [Psychological pricing]
เปนการตั้งราคาที่ตองคํานึงถึงหลักจิตวิทยาของลูกคา
               ที่มีตอสินคาของธุรกิจ

2.อิทธิพลของสวนประสมการตลาดอื่นๆที่มีตอราคา
[The influence of other marketing mix
             element on price]
  การตั้งราคาจะตองคํานึงถึงสวนประสมของตลาด
  โดยเฉพาะคุณภาพของผลิตภัณฑและการโฆษณา
3.นโยบายการตั้งราคาของบริษัท
            [Company pricing policies]
ราคาขั้นสุดทายจะสอดคลองกับนโยบายการตั้งราคาของบริษัท

       4.ผลกระทบของราคาตอฝายตางๆที่เกี่ยวของ
      [Impact of price on other parties ]
     เปนการพิจารณาถึงปฏิกิริยาของฝายตางๆที่มีตอ
               ราคาขั้นสุดทายที่กําหนดไว
ขั้นที่ 8 การกําหนดนโยบายและกลยุทธดานราคา
 [Price policies and strategies]
1. ้งราคาสําหรับสินคา
1.การตั
            ใหม
     [New product
         pricing]
การตั้งราคาสําหรับสินคาใหม
นั้นอาจจะเปนราคาระดับสูง
    หรือระดับต่ําขึ้นอยูกับ
ลักษณะของสินคานั้น ความ
 ยืดหยุนของอุปสงค ตนทุน
   และลักษณะการแขงขัน
2.การตั้งราคาสําหรับสวนประสมผลิตภัณฑ
                [Product mix pricing]
เกี่ยวของกับการพิจารณาการตั้งราคาสินคาในกรณีที่ผูผลิตมีการ
 ผลิตสินคามากกวาหนึ่งชนิด ราคาของสินคาแตละชนิดจะเปนขอ
                   ใดขึ้นอยูกับลักษณะของสินคา
3.กลยุทธการปรับราคา
       [Price adjustment strategies]
                              สวนยอมให
สวนลด [Discount]
                          [Allowance]
หมายถึง สวนลดที่ยอมลด
                          คือ สวนที่ผูขายลด
 ใหโดยตรงจากการขาย
                         ใหกับผูซื้อเพื่อใหผู
                         ซื้อสงเสริมการตลาด
                              ใหกับผูขาย
4.การตั้งราคาใหแตกตางกัน [Discrimination pricing]
 คือ การตั้งราคาสินคาและบริการใหแตกตางตามลักษณะความ
                      ตองการซื้อของลูกคา

 5.การตั้งราคาตามหลักจิตวิทยา [Psychological pricing]
เปนการตั้งราคาที่คํานึงถึงความรูสึกนึกคิดของผูบริโภคที่มีตอราคา
                        สินคาตามหลักจิตวิทยา
การตั้งราคาเหยื่อลอ [Bait pricing] เปนการดึงดูดใหลูกคาเขา
  รานโดยการโฆษณาสินคาตัวใดตัวหนึ่งในราคาต่ํากวาปกติหรือ
            ต่ํากวารานอื่นๆเพื่อดึงดูดใหลูกคาเขาราน
6.2 การตั้งราคาในเทศกาลพิเศษ [Special-event pricing]
6.3 การขายเชื่อแบบคิดดอกเบี้ยต่ํา
[Low-interest financing]

                          6.4 สัญญาการรับประกันและการใหบริการ
                            [Warranties and service
                            contracts]
6.5 การใหสวนลดตามหลักจิตวิทยา
[Psychological discounting]
6.6 การลดราคาเพื่อการสงเสริมการขาย
   [Cents-off promotion]
6.7 การคืนเงิน [Cash rebates]
7.การตั้งหลักราคาตามแนวภูมิศาสตร
 [Geographical pricing]
      โดยมีรายละเอียดดังนี้
7.1 การตั้งราคาแบบสินคา F.O.B ณ จุดผลิต [F.O.B
  point – of production pricing ]
7.2 การตั้งราคาสงมอบราคาเดียว [Uniform delivered
  pricing]
7.3 การตั้งราคาสงมอบตามเขต [Zone delivered
  pricing หรือ Parcel-post pricing]
7.4 การตั้งราคาแบบผูขายรับภาระคาขนสง [Freight
  absorption pricing]
7.5การตั้งราคาจากจุดฐานที่กําหนด [Base-point
  pricing]
8.การตั้งราคาในตลาดตางประเทศ
         [International pricing]
เปนการตัดสินใจวาการตั้งราคาใดในประเทศตางๆที่เขา
                   ไปดําเนินการ
9. กลยุทธการตั้งราคาสําหรับสินคาที่เสื่อมความนิยม
          [Declining product]
9.1 รักษาระดับราคาและประคองราคาในตลาดนั้น

9.2 ขึ้นราคาในกรณีที่แนใจวาลูกคาบางกลุมยังภักดีตอตราสินคาของ
  ธุรกิจสูง

9.3 ลดราคาลงอยางมากเพื่อปองกันลูกคาไมใหหันไปซื้อสินคาใหม

9.4 ลดราคาในสัดสวนเดียวกันกับการลด การสงเสริม การตลาดอื่นๆ

9.5 การเปลี่ยนแปลงตําแหนงสินคาเสียใหม และขึ้นราคาสินคานั้น
10. นโยบายระดับราคา
           [The level of prices policy]
  ผูผลิตจะกําหนดราคาของสินคาตามตําแหนงสินคาของ
ธุรกิจ เมื่อเปรียบเทียบกับคูแขงขัน ผูผลิตอาจตั้งราคาสินคา
   ณ ระดับราคาตลาดต่ํากวา หรือสูงกวาระดับราคาตลาด
11. นโยบายราคาเดียวกับนโยบายหลายราคา [One price and
  variable price]
11.1นโยบายราคาเดียว [One price policy] การที่ผูผลิตคิดราคา
  สินคาชนิดหนึ่งสําหรับผูซื้อทุกรายในราคาเดียวกันภายใตสถานการณที่
  เหมือนกัน
11.2 นโยบายหลายราคา [Variable price policy] วิธีการตั้ง
  ราคาสินคาที่ไมไดกําหนดไวแนนอนตายตัว ราคาสินคาที่คิดกับผูซื้อแต
  ละรายจะไมเทากัน สําหรับสินคาอยางเดียวขึ้นอยูกับการตอรองของผู
  ซื้อแตละราย
12. นโยบายแนวระดับราคา
       [Price lining policy]
เปนการกําหนดราคาสินคาที่จําหนายไวหลาย
 ระดับราคา สําหรับคุณภาพสินคาที่แตกตางกัน
  ภายในสายผลิตภัณฑเพื่อใหผูบริโภคไดเลือก
13. กลยุทธการลดราคา [Mark down]
เปนเปอรเซ็นตของการลดราคาจากราคาขายที่ตั้งไวเดิม
   เนื่องจากราคาที่กําหนดไวจําเปนตองเปลี่ยนแปลงไป
                      ตามภาวะตลาด
14. กลยุทธการแสดงราคาสินคาตอหนวย [Unit pricing]
 เพื่อใหผูบริโภคสามารถเปรียบเทียบราคาสินคาตอหนึ่งหนวย
  น้ําหนัก เนื่องจากสินคามีวิธีการบรรจุภัณฑในขนาดที่
  แตกตางกัน หรือแมแตการบรรจุในขนาดที่เทากัน ถาดูจาก
  ขนาดของการบรรจุภัณฑแตเพียงอยางเดียวจึงมีการ
  เรียกรองใหพอคาปลีกแสดงราคาของสินคาตอหนึ่งหนวย
  น้ําหนักควบคูไปกับการติดราคาตามปกติดวย
Ppt marketing g 9

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกเรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกsupatra39
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่arm_smiley
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาUtai Sukviwatsirikul
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketinghalato
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลarm_smiley
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกarm_smiley
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์tra thailand
 
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Sanwis Natthanicha
 
การกำหนดราคา
การกำหนดราคาการกำหนดราคา
การกำหนดราคาssuser214242
 

Was ist angesagt? (20)

เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
Course Introduction - IMC
Course Introduction - IMCCourse Introduction - IMC
Course Introduction - IMC
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกเรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
 
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่ายบทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
 
Category management
Category managementCategory management
Category management
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
 
แผน Imc
แผน Imcแผน Imc
แผน Imc
 
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
 
การกำหนดราคา
การกำหนดราคาการกำหนดราคา
การกำหนดราคา
 

Andere mochten auch

หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Nitinop Tongwassanasong
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 

Andere mochten auch (14)

Dbms
DbmsDbms
Dbms
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
Data management pub
Data management pubData management pub
Data management pub
 
Database Ch1
Database Ch1Database Ch1
Database Ch1
 
Mai
MaiMai
Mai
 
Mi sch3
Mi sch3Mi sch3
Mi sch3
 
Present c5
Present c5Present c5
Present c5
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
 
Pricing strategy
Pricing strategyPricing strategy
Pricing strategy
 
04 association
04 association04 association
04 association
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 

Ähnlich wie Ppt marketing g 9

เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลsupatra39
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processsupatra39
 
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)Earn LikeStock
 
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขันCompetition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขันUtai Sukviwatsirikul
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตMobile_Clinic
 
หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptx
หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptxหลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptx
หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptxpiyapongauekarn
 
Chapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-fullChapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-fullthanapat yeekhaday
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการDrDanai Thienphut
 

Ähnlich wie Ppt marketing g 9 (20)

01
0101
01
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
Tu tot1
Tu tot1Tu tot1
Tu tot1
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
 
Hw3 1-54
Hw3 1-54Hw3 1-54
Hw3 1-54
 
Hw3 1-54
Hw3 1-54Hw3 1-54
Hw3 1-54
 
Hw3 1-54
Hw3 1-54Hw3 1-54
Hw3 1-54
 
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
 
Media IMC
Media IMCMedia IMC
Media IMC
 
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขันCompetition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
 
01 businessfinance v1
01 businessfinance v101 businessfinance v1
01 businessfinance v1
 
หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptx
หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptxหลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptx
หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptx
 
Sin5
Sin5Sin5
Sin5
 
Chapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-fullChapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-full
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
 
Class 3 prestudy marketing date 6 june 2013
Class 3 prestudy marketing date 6 june 2013Class 3 prestudy marketing date 6 june 2013
Class 3 prestudy marketing date 6 june 2013
 
Introgecon
IntrogeconIntrogecon
Introgecon
 

Ppt marketing g 9