SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน   ( Translation ) การสะท้อน   ( Reflection ) การหมุน  (Rotation)
การแปลงทางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต  คือ   การเคลื่อนไหวของรูปเรขาคณิต โดยการเลื่อนขนาน  การสะท้อน  และการหมุนของรูปหนึ่ง ๆ  (  เราเรียกรูปนั้นว่า  รูปต้นแบบ   และเรียกรูปที่เกิดจากการแปลงว่า  ภาพ   ) กำหนดรูป  A  เป็นรูปต้นแบบ  และรูป  B  เป็นภาพที่เกิดจากการแปลงรูป  A ................................... P P’ จากรูป  ถ้า  P  เป็นจุดจุดหนึ่งบนรูป  A  จุด  (  อ่านว่า  พีไพร์ม  )  เป็นภาพที่ได้จากการแปลงจุด  P  เรากล่าวว่า  จุด  P  และจุด เป็นจุดที่สมนัยกัน รูป  A   รูป  B พิจารณารูปต่อไปนี้ กำหนดให้  เป็นภาพที่ได้จากการแปลง  ABC       A     B   C โดยจุด  A  และ จุด  เป็นจุดที่สมนัยกัน จุด  B  และ จุด  เป็นจุดที่สมนัยกัน และจุด  C   และ จุด  เป็นจุดที่สมนัยกัน   เรากล่าวว่า  กับ  เป็นด้านที่สมนัยกัน   กับ  เป็นด้านที่สมนัยกัน   กับ  เป็นด้านที่สมนัยกัน
การเลื่อนขนาน   (Translation) การเลื่อนขนานต้องมีรูปต้นแบบ ทิศทางและระยะทางที่ต้องการเลื่อนรูป การ เลื่อนขนานเป็นการแปลงที่จับคู่จุดแต่ละจุดของรูปที่ได้จากการเลื่อนรูปต้นแบบไปในทางทิศทางใดทิศทางหนึ่งด้วยระยะทางที่กำหนด จุดแต่ละจุดบนรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานระยะห่างจากจุดที่สมนัยกันบนรูปต้นแบบเป็นระยะทางเท่ากัน การเลื่อนในลักษณะนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “สไลด์  (slide)”  ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง  1   กำหนดให้  PQR  เป็นรูปต้นแบบ เมื่อเลื่อนขนาน PQR   ในทิศทางและระยะทาง  ตามที่กำหนดดังรูป  เป็นภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน       P     S     Q     R จากการวาดจะเห็นว่า มีการเลื่อนจุด  P  ไปที่จุด  เลื่อนจุด  Q  ไปที่จุด  และเลื่อนจุด  R  ไปที่จุด  ทิศทางเดียวกันและเป็นระยะเท่ากัน จะได้ว่า  , , และ  ขนานกันและยาวเท่ากัน ในการบอกทิศทางและระยะทางของการเลื่อนขนาน จะใช้ เวกเตอร์เป็นตัวกำหนด
จากตัวอย่างข้างต้นอาจใช้เวกเตอร์  AB  เพื่อบอกทิศทางและระยะทางของการเลื่อนขนานดังรูป     P     S     Q     R   B   A เวกเตอร์  AB  อาจเขียนแทนด้วย  ซึ่ง  AB  จะมีทิศทางจาก จุดเริ่มต้น  A  ไปยัง จุดสิ้นสุด  B  และขนานเท่ากับความยาวของ  จากตัวอย่างการเลื่อนขนานข้างต้น จะได้ว่า  , , และ  จะขนานกันกับ  = = =  =  ข้อสังเกตของการเลื่อนขนาน 1.  รูปต้นแบบจะเท่ากันทุกประการกับภาพที่ได้จากการแปลง   2.  จุดที่สมนัยกันบนรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานกับรูปต้นแบบจะมีระยะห่างเท่ากัน   3.  ภายใต้การเลื่อนขนานจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและขนาดของรูปต้นแบบ
ตัวอย่างการเลื่อนขนาน
 
การสะท้อน   (Reflection) การสะท้อนต้องมีรูปต้นแบบที่ต้องการสะท้อนและเส้นสะท้อน  (reflection line  หรือ  Mirror line)  การสะท้อนรูปข้ามเส้นสะท้อนเสมือนกับการพลิกรูปข้ามเส้นสะท้อนหรือการดูเงา สะท้อนบนกระจกเงาที่วางบนเส้นสะท้อน การสะท้อนเป็นการแปลงที่มีการจับคู่กันระหว่างจุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบกับจุดแต่ละจุดบนรูปสะท้อน โดยที่  1.  รูปที่เกิดจากการสะท้อนมีขนาดและรูปร่างเช่นเดิม หรือกล่าวว่ารูปที่เกิดจากการสะท้อนเท่ากันทุกประการกับรูปเดิม  2.  เส้นสะท้อนจะแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบกับจุดแต่ละจุดบนรูปสะท้อนที่สมนัยกัน นั่นคือระยะระหว่างจุดต้นแบบและเส้นสะท้อนเท่ากับระยะระหว่างจุดสะท้อนและเส้นสะท้อน  ตัวอย่างการสะท้อนที่มีเส้นตรง  L  เป็นเส้นสะท้อน ตัวอย่างที่  1  ทุกจุดบนรูปต้นแบบไม่อยู่บนเส้นสะท้อน ตัวอย่างที่  2   หลักการสะท้อน กำหนด  ABC   เป็นรูปต้นแบบ  เมื่อสะท้อน  ABC   บนเส้นสะท้อน  PQ   และได้  เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อน
  P A   O     B    C   วิธีสร้าง  1.  ที่จุด  A  ลากเส้นตั้งฉากกับ  PQ  ที่จุด  O 2.  ใช้  O  เป็นจุดศูนย์กลางรัศมีเท่ากับ  OA   เขียน  บน   AO   จะได้  AO =  และ  เป็นภาพที่เกิดจากการสะท้อน  A  ที่มีเส้น  PQ  เป็นเส้นสะท้อน  3.  ทำซ้ำขั้นตอนที่  1,2  จะได้ภาพของจุด  B  และ  C  เป็น  และ 4.  ลากเส้น  และ  จะได้ภาพ  ABC   ที่สะท้อนข้ามเส้นตรง  PQ  คือ  เราสามารถสรุปสมบัติของการสะท้อนได้ดังนี้ 1.  รูปที่เกิดจากการสะท้อนจะมีขนาดและรูปร่างเท่ากับรูปต้นแบบหรือเท่ากันทุกประการกับรูปต้นแบบ 2.  รูปที่เกิดจากการสะท้อนกับรูปต้นแบบห่างจากเส้นสะท้อนเท่ากัน 3.  จุดบนเส้นสะท้อนเป็นจุดคงที่ไม่มีการสะท้อน
  P   Q       ตัวอย่างที่  1 การสะท้อนของส่วนของเส้นตรง กำหนดให้ ส่วนของเส้นตรง  PQ ,  เป็นเส้นสะท้อน จะพบว่า จุด และ  เป็นภาพสะท้อนของ  P  และจุด  Q  ส่วนของเส้นตรง  เป็นภาพสะท้อนของส่วนของเส้นตรง  PQ  ใช้วงเวียนหรือสันตรงหรือไม้บรรทัดวัดความยาว จะได้ว่า  1)  ระยะจากจุด  P  ถึงเส้นสะท้อน  เท่ากับระยะจาก  จุด  ถึงเส้น  สะท้อน ระยะจากจุด  Q  ถึงเส้นสะท้อน  เท่ากับระยะจากจุด  ถึงเส้นสะท้อน  2)  ความยาวของส่วนของเส้นตรง  PQ  เท่ากับความยาวของ  ส่วนของเส้นตรง  นั่นคือ  PQ  =  3)  เส้นสะท้อน  แบ่งครึ่งและตั้งฉากกับ  P  และ  Q
ตัวอย่างที่  2 การสะท้อนของรูปเรขาคณิต เช่น  รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปห้าเหลี่ยมและอื่น ๆ A ………………………..   B…………….  C     ………………………………………………… ...   กำหนดให้ ABC  เป็นรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง ,  เป็นเส้น  สะท้อน จะพบว่า 1)  จุด  จุด  และจุด  เป็นภาพสะท้อน  ของจุด  A  จุด  B  และจุด  C  ใช้วงเวียนหรือไม้บรรทัดวัดความยาวจะได้ว่า  2)  ระยะจากจุด  A  ถึงเส้นสะท้อน  เท่ากับระยะจากจุด  ถึงเส้นสะท้อน    ระยะจากจุด  B  ถึงเส้นสะท้อน  เท่ากับระยะจากจุด  ถึงเส้นสะท้อน    ระยะจากจุด  C  ถึงเส้นสะท้อน  เท่ากับระยะจากจุด  ถึงเส้นสะท้อน  3)  ความยาวของส่วนของเส้นตรงเท่ากัน  นั่นคือ  AB  =  BC  =  CA  =  4)     ABC 5)  เส้นสะท้อน  แบ่งครึ่งและตั้งฉากกับ  A  ,  B  และ C
ตัวอย่างการสะท้อนของรูปต่าง ๆ   1) B B 2) 3) 4)
การหมุน  (Rotation) การหมุนจะต้องมีรูปต้นแบบ จุดหมุนและขนาดของมุมที่ต้องการในรูปนั้น การมุมเป็นการแปลงที่จับคู่จุดแต่ละจุดของรูปที่ได้จากการหมุน โดยที่จุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบเคลื่อนที่รอบจุดหมุนด้วยขนาดของมุมที่กำหนด จุดหมุนจะอยู่นอกรูปหรือบนรูปก็ได้ การหมุนจะหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือทวนเข็มนาฬิกาก็ได้ โดยทั่วไปเมื่อไม่ระบุไว้การหมุนรูปจะเป็นการหมุนทวนเข็มนาฬิกา บางครั้งถ้าเป็นมุมที่เกิดจากการหมุนตามเข็มนาฬิกา การหมุนเป็นการสะท้อนต่อกันสองครั้ง  ผ่านเส้นสะท้อนสองเส้นที่ตัดกัน ตัวอย่าง  การหมุน ให้   O  เป็นจุดหมุน จุด  A  หมุนไปที่จุด  เป็นมุม  ขนาดของมุมที่หมุนไปคือ จุด  A  หมุนไปที่จุด  เป็นมุม  ขนาดของมุมที่หมุนไปคือ
หมุนตามเข็มนาฬิกา มุมที่หมุนไปคือ  ขนาดของมุมที่หมุน  30    ( จากการวัด ) หมุนตามเข็มนาฬิกา มุมที่หมุนไปคือ  ขนาดของมุมที่หมุน  160    ( จากการวัด ) สมบัติของการหมุน 1.  สามารถเลื่อนรูปต้นแบบทับภาพที่เกิดจากการหมุนได้สนิทโดยไม่ต้องพลิกรูปหรือกล่าวว่ารูปต้นแบบกับภาพที่ได้จากการหมุนเท่ากันทุกประการ 2.  จุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบจะเคลื่อนที่รอบจุดหมุนด้วยขนาดของมุมที่กำหนดให้ทุกจุด 3.  จุดหมุนเป็นจุดคงที่
ตัวอย่างการหมุน การหมุนเป็นการสะท้อนต่อกันสองครั้ง  ผ่านเส้นสะท้อนสองเส้นที่ตัดกัน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไขKrudodo Banjetjet
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมkanjana2536
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมkroojaja
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 

Was ist angesagt? (20)

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

Ähnlich wie การแปลงทางเรขาคณิต

Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบTe'tee Pudcha
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)ทับทิม เจริญตา
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติchanphen
 
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7Laongphan Phan
 
สามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมnutchaporn
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkroojaja
 
งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2Pannathat Champakul
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์Krudodo Banjetjet
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตphunnika
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยguest00db6d99
 

Ähnlich wie การแปลงทางเรขาคณิต (20)

Math2
Math2Math2
Math2
 
111
111111
111
 
Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบ
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
 
สามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยม
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 

การแปลงทางเรขาคณิต

  • 1. การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน ( Translation ) การสะท้อน ( Reflection ) การหมุน (Rotation)
  • 2. การแปลงทางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต คือ การเคลื่อนไหวของรูปเรขาคณิต โดยการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนของรูปหนึ่ง ๆ ( เราเรียกรูปนั้นว่า รูปต้นแบบ และเรียกรูปที่เกิดจากการแปลงว่า ภาพ ) กำหนดรูป A เป็นรูปต้นแบบ และรูป B เป็นภาพที่เกิดจากการแปลงรูป A ................................... P P’ จากรูป ถ้า P เป็นจุดจุดหนึ่งบนรูป A จุด ( อ่านว่า พีไพร์ม ) เป็นภาพที่ได้จากการแปลงจุด P เรากล่าวว่า จุด P และจุด เป็นจุดที่สมนัยกัน รูป A รูป B พิจารณารูปต่อไปนี้ กำหนดให้ เป็นภาพที่ได้จากการแปลง ABC A B C โดยจุด A และ จุด เป็นจุดที่สมนัยกัน จุด B และ จุด เป็นจุดที่สมนัยกัน และจุด C และ จุด เป็นจุดที่สมนัยกัน เรากล่าวว่า กับ เป็นด้านที่สมนัยกัน กับ เป็นด้านที่สมนัยกัน กับ เป็นด้านที่สมนัยกัน
  • 3. การเลื่อนขนาน (Translation) การเลื่อนขนานต้องมีรูปต้นแบบ ทิศทางและระยะทางที่ต้องการเลื่อนรูป การ เลื่อนขนานเป็นการแปลงที่จับคู่จุดแต่ละจุดของรูปที่ได้จากการเลื่อนรูปต้นแบบไปในทางทิศทางใดทิศทางหนึ่งด้วยระยะทางที่กำหนด จุดแต่ละจุดบนรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานระยะห่างจากจุดที่สมนัยกันบนรูปต้นแบบเป็นระยะทางเท่ากัน การเลื่อนในลักษณะนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “สไลด์ (slide)” ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง 1 กำหนดให้ PQR เป็นรูปต้นแบบ เมื่อเลื่อนขนาน PQR ในทิศทางและระยะทาง ตามที่กำหนดดังรูป เป็นภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน P S Q R จากการวาดจะเห็นว่า มีการเลื่อนจุด P ไปที่จุด เลื่อนจุด Q ไปที่จุด และเลื่อนจุด R ไปที่จุด ทิศทางเดียวกันและเป็นระยะเท่ากัน จะได้ว่า , , และ ขนานกันและยาวเท่ากัน ในการบอกทิศทางและระยะทางของการเลื่อนขนาน จะใช้ เวกเตอร์เป็นตัวกำหนด
  • 4. จากตัวอย่างข้างต้นอาจใช้เวกเตอร์ AB เพื่อบอกทิศทางและระยะทางของการเลื่อนขนานดังรูป P S Q R B A เวกเตอร์ AB อาจเขียนแทนด้วย ซึ่ง AB จะมีทิศทางจาก จุดเริ่มต้น A ไปยัง จุดสิ้นสุด B และขนานเท่ากับความยาวของ จากตัวอย่างการเลื่อนขนานข้างต้น จะได้ว่า , , และ จะขนานกันกับ = = = = ข้อสังเกตของการเลื่อนขนาน 1. รูปต้นแบบจะเท่ากันทุกประการกับภาพที่ได้จากการแปลง 2. จุดที่สมนัยกันบนรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานกับรูปต้นแบบจะมีระยะห่างเท่ากัน 3. ภายใต้การเลื่อนขนานจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและขนาดของรูปต้นแบบ
  • 6.  
  • 7. การสะท้อน (Reflection) การสะท้อนต้องมีรูปต้นแบบที่ต้องการสะท้อนและเส้นสะท้อน (reflection line หรือ Mirror line) การสะท้อนรูปข้ามเส้นสะท้อนเสมือนกับการพลิกรูปข้ามเส้นสะท้อนหรือการดูเงา สะท้อนบนกระจกเงาที่วางบนเส้นสะท้อน การสะท้อนเป็นการแปลงที่มีการจับคู่กันระหว่างจุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบกับจุดแต่ละจุดบนรูปสะท้อน โดยที่ 1. รูปที่เกิดจากการสะท้อนมีขนาดและรูปร่างเช่นเดิม หรือกล่าวว่ารูปที่เกิดจากการสะท้อนเท่ากันทุกประการกับรูปเดิม 2. เส้นสะท้อนจะแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบกับจุดแต่ละจุดบนรูปสะท้อนที่สมนัยกัน นั่นคือระยะระหว่างจุดต้นแบบและเส้นสะท้อนเท่ากับระยะระหว่างจุดสะท้อนและเส้นสะท้อน ตัวอย่างการสะท้อนที่มีเส้นตรง L เป็นเส้นสะท้อน ตัวอย่างที่ 1 ทุกจุดบนรูปต้นแบบไม่อยู่บนเส้นสะท้อน ตัวอย่างที่ 2 หลักการสะท้อน กำหนด ABC เป็นรูปต้นแบบ เมื่อสะท้อน ABC บนเส้นสะท้อน PQ และได้ เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อน
  • 8. P A O B C วิธีสร้าง 1. ที่จุด A ลากเส้นตั้งฉากกับ PQ ที่จุด O 2. ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมีเท่ากับ OA เขียน บน AO จะได้ AO = และ เป็นภาพที่เกิดจากการสะท้อน A ที่มีเส้น PQ เป็นเส้นสะท้อน 3. ทำซ้ำขั้นตอนที่ 1,2 จะได้ภาพของจุด B และ C เป็น และ 4. ลากเส้น และ จะได้ภาพ ABC ที่สะท้อนข้ามเส้นตรง PQ คือ เราสามารถสรุปสมบัติของการสะท้อนได้ดังนี้ 1. รูปที่เกิดจากการสะท้อนจะมีขนาดและรูปร่างเท่ากับรูปต้นแบบหรือเท่ากันทุกประการกับรูปต้นแบบ 2. รูปที่เกิดจากการสะท้อนกับรูปต้นแบบห่างจากเส้นสะท้อนเท่ากัน 3. จุดบนเส้นสะท้อนเป็นจุดคงที่ไม่มีการสะท้อน
  • 9. P Q ตัวอย่างที่ 1 การสะท้อนของส่วนของเส้นตรง กำหนดให้ ส่วนของเส้นตรง PQ , เป็นเส้นสะท้อน จะพบว่า จุด และ เป็นภาพสะท้อนของ P และจุด Q ส่วนของเส้นตรง เป็นภาพสะท้อนของส่วนของเส้นตรง PQ ใช้วงเวียนหรือสันตรงหรือไม้บรรทัดวัดความยาว จะได้ว่า 1) ระยะจากจุด P ถึงเส้นสะท้อน เท่ากับระยะจาก จุด ถึงเส้น สะท้อน ระยะจากจุด Q ถึงเส้นสะท้อน เท่ากับระยะจากจุด ถึงเส้นสะท้อน 2) ความยาวของส่วนของเส้นตรง PQ เท่ากับความยาวของ ส่วนของเส้นตรง นั่นคือ PQ = 3) เส้นสะท้อน แบ่งครึ่งและตั้งฉากกับ P และ Q
  • 10. ตัวอย่างที่ 2 การสะท้อนของรูปเรขาคณิต เช่น รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปห้าเหลี่ยมและอื่น ๆ A ……………………….. B……………. C ………………………………………………… ... กำหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง , เป็นเส้น สะท้อน จะพบว่า 1) จุด จุด และจุด เป็นภาพสะท้อน ของจุด A จุด B และจุด C ใช้วงเวียนหรือไม้บรรทัดวัดความยาวจะได้ว่า 2) ระยะจากจุด A ถึงเส้นสะท้อน เท่ากับระยะจากจุด ถึงเส้นสะท้อน ระยะจากจุด B ถึงเส้นสะท้อน เท่ากับระยะจากจุด ถึงเส้นสะท้อน ระยะจากจุด C ถึงเส้นสะท้อน เท่ากับระยะจากจุด ถึงเส้นสะท้อน 3) ความยาวของส่วนของเส้นตรงเท่ากัน นั่นคือ AB = BC = CA = 4)  ABC 5) เส้นสะท้อน แบ่งครึ่งและตั้งฉากกับ A , B และ C
  • 12. การหมุน (Rotation) การหมุนจะต้องมีรูปต้นแบบ จุดหมุนและขนาดของมุมที่ต้องการในรูปนั้น การมุมเป็นการแปลงที่จับคู่จุดแต่ละจุดของรูปที่ได้จากการหมุน โดยที่จุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบเคลื่อนที่รอบจุดหมุนด้วยขนาดของมุมที่กำหนด จุดหมุนจะอยู่นอกรูปหรือบนรูปก็ได้ การหมุนจะหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือทวนเข็มนาฬิกาก็ได้ โดยทั่วไปเมื่อไม่ระบุไว้การหมุนรูปจะเป็นการหมุนทวนเข็มนาฬิกา บางครั้งถ้าเป็นมุมที่เกิดจากการหมุนตามเข็มนาฬิกา การหมุนเป็นการสะท้อนต่อกันสองครั้ง ผ่านเส้นสะท้อนสองเส้นที่ตัดกัน ตัวอย่าง การหมุน ให้ O เป็นจุดหมุน จุด A หมุนไปที่จุด เป็นมุม ขนาดของมุมที่หมุนไปคือ จุด A หมุนไปที่จุด เป็นมุม ขนาดของมุมที่หมุนไปคือ
  • 13. หมุนตามเข็มนาฬิกา มุมที่หมุนไปคือ ขนาดของมุมที่หมุน 30  ( จากการวัด ) หมุนตามเข็มนาฬิกา มุมที่หมุนไปคือ ขนาดของมุมที่หมุน 160  ( จากการวัด ) สมบัติของการหมุน 1. สามารถเลื่อนรูปต้นแบบทับภาพที่เกิดจากการหมุนได้สนิทโดยไม่ต้องพลิกรูปหรือกล่าวว่ารูปต้นแบบกับภาพที่ได้จากการหมุนเท่ากันทุกประการ 2. จุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบจะเคลื่อนที่รอบจุดหมุนด้วยขนาดของมุมที่กำหนดให้ทุกจุด 3. จุดหมุนเป็นจุดคงที่