SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 120
Downloaden Sie, um offline zu lesen
๑


                                          ความนํา

          กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ใหเปน
หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกําหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายและกรอบ
ทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถ ใน
การแขงขันในเวทีระดับโลก ( กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๔) พรอมกันนี้ไดปรับกระบวนการพัฒนา
หลักสูตรใหมีความสอดคลองกับเจตนารมณแหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ที่
แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่มุงเนนการกระจายอํานาจทางการศึกษาใหทองถิ่นและ
สถานศึกษาไดมีบทบาทและมีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อใหสอดคลองกับสภาพ และ ความ
ตองการของทองถิ่น ( สํานักนายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๒ ) จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช
หลักสูตรในชวงระยะ ๖ ปที่ผานมา ( สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข.,
๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๘ ข.; สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๔๗; สํานักผูตรวจราชการและติดตาม
ประเมินผล, ๒๕๔๘; สุวิมล วองวาณิช และ นงลักษณ วิรัชชัย, ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒;
Kittisunthorn, ๒๐๐๓) พบวา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มีจุดดีหลายประการ
เชน ชวยสงเสริมการกระจายอํานาจทางการศึกษาทําใหทองถิ่นและสถานศึกษามีสวนรวมและมีบทบาท
สําคัญในการพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลอง กับความตองการของทองถิ่น และมีแนวคิดและหลักการใน
การสงเสริมการพัฒนาผูเรียนแบบองครวมอยางชัดเจน อยางไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกลาวยังไดสะทอน
ใหเห็นถึงประเด็นที่เปนปญหาและความ ไมชัดเจนของหลักสูตรหลายประการทั้งในสวนของเอกสาร
หลักสูตร กระบวนการนําหลักสูตร สูการปฏิบัติ และผลผลิตที่เกิดจากการใชหลักสูตร ไดแก ปญหาความ
สับสนของผูปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาสวนใหญกําหนด
สาระและผลการเรียนรู ที่คาดหวังไวมาก ทําใหเกิดปญหาหลักสูตรแนน การวัดและประเมินผล
ไมสะทอนมาตรฐาน สงผลตอปญหาการจัดทําเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผล
การเรียน รวมทั้งปญหาคุณภาพ ของผูเรียนในดานความรู ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึง
ประสงคอันยังไมเปนที่นาพอใจ นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐
( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ไดชี้ใหเห็นถึงความจําเปนในการปรับเปลี่ยนจุดเนนในการพัฒนาคุณภาพคน
ในสังคมไทยให มีคุณธรรม และมีความรอบรูอยางเทาทัน ใหมีความพรอมทั้งดานรางกาย สติปญญา
อารมณ และศีลธรรม สามารถกาวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนําไปสูสังคมฐานความรู ไดอยางมั่นคง แนว
การพัฒนาคนดังกลาวมุงเตรียมเด็กและเยาวชนใหมีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พรอมทั้งมี
สมรรถนะ ทักษะและความรูพื้นฐานที่จําเปนในการดํารงชีวิต อันจะสงผลตอการพัฒนาประเทศแบบ
ยั่งยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ๒๕๔๙) ซึ่งแนวทางดังกลาวสอดคลองกับนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเขาสูโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ โดยมุงสงเสริมผูเรียนมี
คุณธรรม รักความเปนไทย ใหมีทักษะการคิดวิเคราะห สรางสรรค มีทักษะดานเทคโนโลยี สามารถ

                                   โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๒

ทํางานรวมกับผูอื่น และสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมโลกไดอยางสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ,
๒๕๕๑) จากขอคนพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๔๔ ที่ผานมา ประกอบกับขอมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐ เกี่ยวกับ
แนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการใน การพัฒนาเยาวชนสูศตวรรษ
ที่ ๒๑ จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เพื่อนําไปสูการพัฒนา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่มีความเหมาะสม ชัดเจน ทั้งเปาหมายของ
หลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน และกระบวนการนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่
การศึกษาและสถานศึกษา โดยไดมีการกําหนดวิสัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อใชเปนทิศทางในการจัดทํา
หลักสูตร การเรียนการสอนในแตละระดับ นอกจากนั้นไดกําหนดโครงสรางเวลาเรียนขั้นต่ําของแตละ
กลุมสาระการเรียนรูในแตละชั้นปไวในหลักสูตรแกนกลาง และเปดโอกาสใหสถานศึกษาเพิ่มเติมเวลา
เรียนไดตามความพรอมและจุดเนน อีกทั้งไดปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผูเรียน เกณฑการจบ
การศึกษาแตละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการ
เรียนรู และมีความชัดเจนตอการนําไปปฏิบัติ
          ดวยเหตุผลดังกลาวขางตนการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนจะตองมีการพัฒนาและปรับปรุงให
เหมาะสมโดยมุงเนนให กิจกรรมพัฒนาผูเรียนของสถานศึกษาเปนกิจกรรมที่ใหผูเรียนเปนผูปฏิบัติจริง
โดยการศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติตามแผน การทํางานเปนกลุม และประเมินผลเพื่อปรับปรุง
พัฒนาอยางตอเนื่องตามลักษณะความพรอม ความตองการ และความเปนไปไดในการปฏิบัติตามดุลย
พินิจของสถานศึกษาและมีการกํากับดูแลอยางจริงจัง
ความหมายของกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
        กิจกรรมพัฒนาผูเรียนเปนกิจกรรมที่จัดอยางเปนระบบ ประกอบดวย รูปแบบ กระบวนการ
วิธีการที่หลากหลาย ใหผูเรียนไดรับประสบการณจากการปฏิบัติจริง มีความหมายและมีคุณคาในการ
พัฒนาผูเรียนทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณและสังคม มุงสรางเสริมเจตคติ คุณคาชีวิต
ปลูกฝงคุณธรรมและคานิยมที่พึงประสงค สงเสริมใหผูเรียนรูจักและเขาใจตนเอง สรางจิตสํานึกใน
ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปรับตัวและปฏิบัติตนใหเปนประโยชนตอสังคม ประเทศชาติ และดํารงชีวิต
ไดอยางมีความสุข




                                    โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๓

จุดมุงหมายของกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
        กิจกรรมพัฒนาผูเรียนมีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียน ไดรับการพัฒนา ดังนี้
                                   
        1. พัฒนาองครวมของความเปนมนุษยใหครบทุกดาน ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม
        2. พั ฒนาความสามารถของตนเองตามศัก ยภาพ โดยมุงเน นเพิ่ มเติ มจากกิ จกรรมที่ไ ด จัด ให
ผูเรียนเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุม
        3. เข า ร ว มและปฏิ บั ติกิ จ กรรมที่ เ ลื อ กตามความถนั ด และความสนใจของตนเองหลั ก การจั ด
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
กิจกรรมพัฒนาผูเรียนมีหลักการจัดดังนี้
        1. มีการกําหนดวัตถุประสงคและแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและเปนรูปธรรม
        2. จัดใหเหมาะสมกับ วัย วุฒิภาวะ ความสนใจ ความถนัด และความสามารถของผูเรียนและ
วัฒนธรรมที่ดีงาม
        3. บูรณาการวิชาการกับชีวิตจริง ใหผูเรียน ไดตระหนักถึงความสําคัญของการเรียนรูตลอดชีวิต
และรูสึกสนุกกับการใฝรูใฝเรียน
        4. ใช ก ระบวนการกลุ ม ในการจั ด ประสบการณ ก ารเรี ย นรู ฝ ก ให คิ ด วิ เ คราะห สร า งสรรค
จินตนาการ ที่เปนประโยชนและสัมพันธกับชีวิตในแตละชวงวัยอยางตอเนื่อง
        5. จํานวนสมาชิกมีลักษณะเหมาะสมกับกิจกรรม
        6. มีการกําหนดเวลาในการจัดกิจกรรมใหเหมาะสม สอดคลองกับวิสัยทัศนและเปาหมายของ
สถานศึกษา
        7. ผูเรียนเปนผูดําเนินการ มีครูเปนที่ปรึกษา ถือเปนหนาที่และงานประจําโดยคํานึงถึงความ
ปลอดภัย
        8. ยึดหลักการมีสวนรวม โดยเปดโอกาสใหครู พอแม ผูปกครอง ชุมชน องคกรทั้งภาครัฐและ
เอกชน มีสวนรวมในการจัดกิจกรรม
        9. มีการประเมินผลในการปฏิบัติกิจกรรม โดยวิธีการที่หลากหลายและสอดคลองกับกิจกรรม
อยางเปนระบบและตอเนื่อง




                                        โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๔

ขอบขายของกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
       กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ประกอบดัวย กิจกรรมแนะแนวและกิจกรรมนักเรียน ซึ่งสถานศึกษา
สามารถจัดแยกหรือบูรณาการไวดวยกันก็ได และสามารถจัดไดหลากหลายรูปแบบและวิธีการ โดยมี
ขอบขายดังนี้
        1. เปนกิจกรรมที่เกื้อกูล สงเสริมความรูทั้ง 8 กลุม สาระการเรียนรูใหกวางขวางลึกซึ้งยิ่งขึ้น
ในรูปแบบของการปฏิบัติตามโครงการ/โครงงาน ในลักษณะเปนกระบวนการเชิงบูรณาการ โดยยึดหลัก
คุณธรรม จริยธรรม เปนพื้นฐาน
        2. เปนกิจกรรมที่สนองความสนใจ ความถนัด ความตองการของผูเรียน ตามความแตกตาง
ระหวางบุคคลในลักษณะของชมรม ชุมนุม กลุมสนใจ เนนการใหผูเรียนเห็นคุณคาของวิชาความรู
อาชีพ และการดําเนินชีวิตที่ดีงาม ตลอดจนเห็นชองทางในการประกอบอาชีพ
        3. เป น กิ จ กรรมที่ ป ลู ก ฝ ง และสร า งจิ ต สํ า นึ ก ในการทํ า กิ จ กรรมที่ เ ป น ประโยชน ต อ สั ง คมใน
ลักษณะตาง ๆ ใหสามารถจัดการกับชีวิตและสังคมได มีคุณลักษณะที่พึงประสงค รักและเห็นคุณคาใน
ตนเองและผู อื่ น มี ค า นิ ย มในความดี ง าม มี วิ นั ย ในตนเอง มี คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมตลอดจนอนุ รั ก ษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
        4. เป น กิ จ กรรมที่ ฝ ก การทํ า งานและการให บ ริ ก ารด า นต า ง ๆ ที่ เ ป น ประโยชน ต อ ตนเอง
ส ว นรวม เพื่ อ เสริ ม สร า งความมี น้ํ า ใจ เอื้ อ อาทร ความเป น พลเมื อ งดี และรั บ ผิ ด ชอบต อ ตนเอง
ครอบครัวและสังคม
เปาหมายของกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
        การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ไดกําหนดเปาหมายเพื่อการพัฒนาผูเรียน ดังนี้
        1. ได รั บ ประสบการณ ที่ ห ลากหลาย เกิ ด ความรู ความชํ า นาญ ด า นวิ ช าการ วิ ช าชี พ และ
เทคโนโลยี
        2. เห็นคุณคาขององคความรูตาง ๆ และสามารถนําความรูและประสบการณใชในการพัฒนา
ตนเองและประกอบอาชีพสุจริต
        3. รูจักและเห็นคุณคาในตนเองและผูอื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณ มีกระบวนการคิด มีทักษะใน
การดําเนินชีวิตอยางเหมาะสมและมีความสุข
        4. คนพบและพัฒนาศักยภาพของตนเอง มองเห็นชองทางในการสรางงาน อาชีพในอนาคตได
เหมาะสมกับตนเอง
        5. พัฒนาบุคลิกภาพ เจตคติ คานิยมที่ดีในการดําเนินชีวิต เสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม


                                           โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๕

       6. มีจิตสํานึกในความรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ ตลอดจนความ
เปนระเบียบ วินัย คุณธรรมและจริยธรรม
กรอบความคิดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
        กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ประกอบดวยกิจกรรมแนะแนวและกิจกรรมนักเรียน โดยมีผลลัพธของ
การจัดกิจกรรมที่มุงพัฒนาผูเรียนใหเกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค 12 ประการ ดังนี้
       คุณลักษณะทีพึงประสงค
                  ่
              1. รักและเห็นคุณคาในตนเอง
              2. มีวินย
                      ั
              3. ประหยัด
              4. ซื่อสัตยสุจริต
              5. พึ่งตนเอง อุตสาหะ รักการทํางาน
              6. อดทน อดกลัน
                           ้
              7. กตัญู กตเวที
              8. กระตือรือรน ใฝรู มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
              9. เสียสละ เห็นประโยชนสวนรวม
              10. มีความเปนประชาธิปไตย
              11. รักสามัคคี รักชาติ ศาสนกษัตริย
              12. มีพลานามัยสมบูรณทั้งรางกายและจิตใจ




                                   โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๖


                               แนวทางการจัดกิจกรรมลูกเสือ
                 ตามหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
                           ...................................................
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
1.1 สาระหลัก
        1. กิจกรรมแนะแนว
        2. กิจกรรมนักเรียน

1.2 มาตรฐานการพัฒนาผูเรียน
        1. มีความรูความเขาใจ และสามารถพัฒนาศักยภาพของตนในการเสริมสรางทักษะชีวิต
            วุฒิภาวะทางอารมณ และการเรียนรูในเชิงพหุปญญา
        2. สามารถสรางสัมพันธภาพที่ดีในตนเองและอยูรวมกับผูอื่นอยางเปนสุข
        3. เปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม ในการดํารงชีวิต มีระเบียบวินัย มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
            รูจักชวยเหลือผูอื่น และรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน
        4. มีความจงรักภักดีตอสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และเลื่อมใสในการปกครอง
            ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
สาระที่ 1
          กิจกรรมแนะแนว
          1.1 การแนะแนวการศึกษา มุงใหผูเรียนพัฒนาการเรียนไดเต็มศักยภาพ รูจักแสวงหาความรู
และวางแผนการเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถปรับตัวดานการเรียน และมีวินัยใฝรูใฝเรียน
          1.2 การแนะแนวอาชีพ ชวยใหผูเรียนรูจักตนเอง และโลกของงานอยางหลากหลาย มีเจตคติ
และนิสัยที่ดีในการทํางาน มีโอกาสไดรับประสบการณและฝกงานตามความถนัด ความสนใจ
          1.3 แนะแนวเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ ชวยใหผูเรียนเขาใจตนเอง รักและเห็นคุณคาในตนเอง
และผูอื่น มีอารมณมั่นคง มีมนุษยสัมพันธที่ดี เขาใจสิ่งแวดลอม และสามารถปรับตัวใหดํารงชีวิตอยูใน
สังคมอยางเปนสุข
          กําหนดใหนักเรียนตองพบอาจารยแนะแนว เพื่อปรึกษาหารือ ปละไมนอยกวา 10 ชั่วโมง




                                     โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๗

สาระที่ 2
กิจกรรมนักเรียน
        2.1 ลูกเสือ - เนตรนารี
        มาตรฐาน 2.1 : เพื่อใหผูเรียนพัฒนาทางกาย สติปญญา จิตใจ และศีลธรรม ใหเปนพลเมืองดี
มีความรับผิดชอบ ชวยสรางสรรคสังคม ใหมีความเจริญกาวหนา ความสงบสุขและความมั่นคงของ
ประเทศชาติ
        มาตรฐานชวงชั้น
        1. มีความรูความเขาใจ และสามารถปฏิบัติตามปฏิญาณ กฎ คติพจนของลูกเสือสามัญ รุนใหญ
        2. มีทักษะการสังเกต จดจํา การใชมือ เครื่องมือ การแกไขปญหา และทักษะในการทํางาน
รวมกับผูอื่น
        3. มีความซื่อสัตยสุจริต มีความกลาหาญ อดทน เชื่อมั่นในตนเอง มีระเบียบวินย มีความ
                                                                                 ั
สามัคคี เห็นอกเห็นใจผูอื่น มีความเสียสละ บําเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน
        4. มีการพัฒนาตนเองอยูเ สมอ สรางสรรคงานฝมือ สนใจและพัฒนาเรื่องของธรรมชาติ
        2.2 กิจกรรมยุวกาชาด
        มาตรฐานชวงชั้น
        1. เพื่อใหปฏิบัติตามคําปฏิญาณของยุวกาชาดได
        2. เพื่อใหปฏิบัติตามหลักการกาชาดได
        3. เพื่อใหมีสขภาพสมบูรณทั้งรางกาย และจิตใจ
                      ุ
        4. เพื่อใหมีความเสียสละ ขยันหมันเพียร ซื่อสัตย ประหยัด อดทน และมีระเบียบวินัย
                                           ่
        5. เพื่อใหมีความคิดริเริ่มสรางสรรค และใชเวลาวางใหเปนประโยชน
        6. เพื่อใหชวยเหลือชุมชนและอยูรวมกับสังคมได
                    
        7. เพื่อใหมีความเมตตากรุณา และมีไมตรีจิตตอเพื่อนรวมโลก
       2.3 กิจกรรมนักเรียน
       มาตรฐานชวงชั้น
       1. เพื่อเสริมความรู และประสบการณเพิมเติมจากการเรียนวิชาตาง ๆ
                                               ่
       2. เพื่อใหรูจกและเขาใจตนเอง สามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมได
                      ั
       3. เพื่อเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ใหมีความรับผิดชอบ มีความสามัคคี
       4. มีระเบียบวินัย มีความคิดริเริ่มสรางสรรค รูจักชวยเหลือผูอื่น และรูจักใชเวลาวางใหเปน
          ประโยชน
       5. เพื่อใหมีความจงรักภักดีตอสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และเลื่อมใสใน การปกครอง
                                   
          ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข


                                     โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๘

วิสัยทัศน ( ลูกเสือ เนตรนารี )
          ผูเรียนมีความเขมแข็ง สามารถพัฒนาทั้งทางกาย สติปญญา จิตใจและศีลธรรมโดยกระบวนการ
ลูกเสือ

กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
       กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เปนกิจกรรมที่มุงปลูกฝงระเบียบวินัย กฎเกณฑ เพื่อการอยูรวมกัน
ในสภาพชีวิตตาง ๆ นําไปสูพื้นฐานการทําประโยชนใหแกสังคม และชีวิตในระบอบประชาธิปไตย ซึ่ง
กระบวนการจัด กิ จ กรรมลู ก เสือ เนตรนารี เปน ไปตามขอกํ า หนดคณะลู ก เสื อ แห งชาติ รวมทั้งให
สอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยกําหนดหลักสูตรเปน 4 ระดับ
ระดับละ 3 ชวงชั้น ดังนี้

   ประเภทลูกเสือ       ชั้นเรียน                 กิจกรรม                        วิชาพิเศษ
   ลูกเสือสํารอง          ป. 1     เตรียมลูกเสือสํารอง ดาวดวงที่ 1    มี 18 วิชา
                          ป. 2                          ดาวดวงที่ 2   ใชวิธีบูรณาการเขากับกลุม
                          ป. 3                          ดาวดวงที่ 3   สาระการเรียนรู
    ลูกเสือสามัญ          ป. 4     ลูกเสือตรี                         มี 54 วิชา
                          ป. 5     ลูกเสือโท                          ใชวิธีบูรณาการเขากับกลุม
                          ป. 6     ลูกเสือเอก                         สาระการเรียนรู
    ลูกเสือสามัญ          ม. 1     ลูกเสือโลก                         มี 76 วิชา
       รุนใหญ           ม. 2     ลูกเสือชั้นพิเศษ                   ใชวิธีบูรณาการเขากับกลุม
                          ม. 3      ลูกเสือหลวง                       สาระการเรียนรู
   ลูกเสือวิสามัญ         ม. 4     เตรียมลูกเสือวิสามัญ               มี 11 วิชา
 (เปนกิจกรรมบังคับ)      ม. 5     สํารวจตนเอง /เขาพิธีประจํากอง     ใชเวลาเรียนในเวลาตามแต
                        ม. 36      วิชาพิเศษ                          สถานศึกษาเปนผูจัด
                                                                      สัปดาหละ 2 คาบ




                                    โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๙



                   หลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ระดับประถมศึกษา

                                          จุดประสงค
        เพื่อใหผูเรียนพัฒนาทางกาย สติปญญา จิตใจ และศีลธรรมใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ
ชวยสรางสรรคสังคมใหมีความเจริญกาวหนา ความสงบสุข และความมั่นคงของประเทศชาติ จึงตอง
ปลูกฝงใหมีคณลักษณะ ดังนี้
              ุ
        1. มีความรูความเขาใจ สามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลูกเสือ
        2. มีทักษะการสังเกต จดจํา การใชมือ การแกปญหา และทักษะ ในการทํางานรวมมือกับผูอื่น
        3. มีความซื่อสัตยสุจริต มีความกลาหาญ อดทน เชื่อมั่นในตนเอง มีระเบียบวินัย มีความสามัคคี
             เห็นอกเห็นใจ มีความเสียสละ บําเพ็ญตนเพื่อสาธารณะประโยชน
        4. มีการพัฒนาตนเองอยู เสมอสรางสรรคงานฝมือ สนใจ และ พัฒนาเรื่องของธรรมชาติ


                      การวัดผลประเมินผลกิจกรรม ลูกเสือ – เนตรนารี

การวัดผลประเมินผล ลูกเสือ – เนตรนารี มี 2 กิจกรรม คือ
       1. กิจกรรมบังคับเปนการวัดผลและประเมินผล เพื่อใหลูกเสือ–เนตรนรี ผานชวงชั้นหรือจบ
หลักสูตร โดยการเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและผานการประเมินผล ตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด
และมีการวัดผลตลอดภาคเรียน โดยการ
            1.1 สังเกต
                - ความสนใจ
                - การเขารวมกิจกรรม
            1.2 การซักถาม
            1.3 การทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบติ   ั
       2. วิชาพิเศษ เปนการวัดและประเมินผลในแตละวิชา โดยการทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบัติและใชเกณฑประเมินดังนี้
                2.1 ผาน ( ผ )
                2.2 ไมผาน ( มผ. )




                                    โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๑๐


                                หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือสํารอง

          ความมุ ง หมายของการลู ก เสื อ สํ า รองคื อ เพื่ อ พั ฒ นาเด็ ก ในวั ย ลู ก เสื อ สํ า รองทั้ ง ในทางกาย
สติปญญา จิตใจ และศิลธรรม โดยถือวาเปนสวนหนึ่งของแผนการฝกอบรมที่ตอเนื่องกันกับเด็ก ในวัย
ตาง ๆ ที่อยูในขบวนการลูกเสือ
          แผนการฝ กอบรมลู ก เสือสํ า รองมีร ะดับสู งขึ้ น ตามวัยและสมรรถภาพของเด็ก แต ล ะคนแบ ง
ออกเปน 3 ขั้น คือ ดาวดวงที่ 1 ดาวดวงที่ 2 และดาวดวงที่ 3 กับใหเด็กมีโอกาสไดรับเครื่องหมายวิชา
พิเศษดังที่กําหนดไวในหลักสูตรนี้ดวย อนึ่ง ผูสมัครเปนลูกเสือสํารอง จะตองผานการทดสอบขั้นตนเพื่อ
ขอรับเครื่องหมายลูกเสือสํารอง เมื่อไดรับเครื่องหมายลูกเสือสํารองแลว จึงจะนับวาเปนลูกเสือสํารอง
โดยสมบูรณ นอกจากนี้ยังมีเครื่องหมายลูกเสือสัมพันธสําหรับลูกเสือสํารองที่จะพนวัยลูกเสือสํารอง และ
พรอมที่จะสมัครเขาเปนลูกเสือสามัญตอไป

                    แนวการจัดกิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารีสํารอง ในสถานศึกษา

         การจัดกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา ควรจัดใหมีการเปดประชุมกองทุกครั้งกอนที่จะมีการ
ปฏิบัติกิจกรรม เพื่อเปนการฝกระเบียบวินัยในตนเอง โดยใหปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้
         1. พิธีเปด ( แกรนดฮาวล ชักธงชาติขึ้น สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก )
         2. เกมหรือเพลง ทําใหเกิดความสนุกสนาน เปนการอบอุนรางกายกอนการปฏิบัติกิจกรรม อาจ
ใชอยางใดอยางหนึ่ง หรือทังสองอยางก็ได ซึ่งบางครั้งไมจําเปนตองใหสอดคลองหรือสัมพันธกบเนื้อหา
                             ้                                                               ั
เสมอไป
         3. การปฏิบัตกิจกรรม เนนการปฏิบัติเปนฐาน โดยใชระบบหมูเพื่อสะดวกตอการเรียนการสอน
                       ิ
ตลอดจนการควบคุมดูแล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําแกไข
         4. การเลาเรื่องสั้นที่เปนประโยชน ควรเนนเรื่องงาย ๆ และสรุปใหลกเสือเขาใจวามีประโยชน
                                                                             ู
อยางไร สวนใหญจะเปนเรืองของคุณธรรมตาง ๆ เชนความสามัคคี ความซื่อสัตยสุจริต ความเสียสละ
                               ่
ความกลาหาญ ฯลฯ
         5. พิธีปด ( นัดหมาย ตรวจเครื่องแตงกาย แกรนดฮาวล ชักธงชาติลง เลิก )




                                          โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๑๑

                              หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือสํารอง
                                              พ.ศ. ๒๕๒๒
         ความมุงหมายของการลูกเสือสํารอง คือ เพื่อสงเสริมการพัฒนาเด็กในวัยลูกเสือสํารองทั้งในทาง
กาย สติปญญา จิตใจ และศีลธรรม โดยถือวาเปนสวนสําคัญสวนหนึ่งของแผนการฝกอบรมที่ตอเนื่องกัน
กับของเด็กในวัยตางๆที่อยูในขบวนการลูกเสือ
                          
         แผนการฝกอบรมลูกเสือสํารองมีระดับสูงขึ้นตามวัย และสมรรถภาพของเด็กแตละคนแบง
ออกเปน๓ ชั้น คือ ดาวดวงที่ ๑ , ดาวดวงที่ ๒ และดาวดวงที่ ๓ กับใหเด็กมีโอกาสไดรบเครื่องหมายวิชา
                                                                                   ั
พิเศษดังทีกําหนดไวในหลักสูตรนี้ดวย อนึง ผูสมัครเปนลูกเสือสํารอง จะตองผานการทดสอบขั้นตนเพื่อ
          ่                               ่
ขอรับเครื่องหมายลูกเสือสํารอง เมื่อไดรับเครื่องหมายลูกเสือสํารองแลว จึงจะนับวาเปนลูกเสือสํารอง
โดยสมบูรณ นอกจากนี้ยังมีเครื่องหมายลูกเสือสัมพันธสําหรับลูกเสือสํารองที่จะพนวัยลูกเสือสํารอง และ
พรอมที่จะสมัครเขาเปนลูกเสือสามัญตอไป

                                             หมวด ๑

เครื่องหมายลูกเสือสํารอง
        ลักษณะ ทําดวยผาสีกรมทา รูปไข ยาว ๔ ซม. กวาง ๓.๕ ซม. มีรูปหนาเสือและคําวา “ลูกเสือ” สี
เหลืองขลิบริมสีกรมทา ติดที่อกเสื้อขางซายเหนือกระเปา
หลักสูตรเตรียมลูกเสือสํารอง
        ๑. มีความรูเกียวกับนิยายเรืองเมาคลี และประวัติการเริ่มกิจการลูกเสือสํารอง
                       ่            ่
        ๒. รูจักการทําความเคารพเปนหมู (แกรนดฮาวล) และระเบียบแถวเบื้องตน
        ๓. รูจักการทําความเคารพเปนรายบุคคล การจับมือซาย และคติพจนของลูกเสือ
        ๔. รูจักคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง

                                             หมวด ๒

เครื่องหมายชันของลูกเสือสํารอง
             ้
        ลูกเสือสํารองแบงออกเปน ๓ ชั้น คือ ดาวดวงที่ ๑, ดาวดวงที่ ๒ และดาวดวงที่ ๓ แตละชั้นมี
กิจกรรม ๑๒ อยาง ซึ่งลูกเสือสํารองจะตองเรียนรูและสามารถปฏิบัติได




                                     โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๑๒

                                            ดาวดวงที่ ๑
          ลักษณะ เปนเครื่องหมายรูปดาว ๖ แฉก สีเงิน เสนผาศูนยกลาง ๑.๕ ซม. ติดที่ขางขวารูปหนาเสือ
หมวก ๑ ดวง
หลักสูตร
๑. อนามัย
          (ก) รูจักวิธและเหตุผลในการรักษาฟน มือ เทา และเล็บ ใหสะอาด
                        ี
          (ข) รูจักวิธีหายใจอยางถูกตอง และรูจักวิธีปองกันโรคหวัดไมใหแพรออกไป
          (ค) แสดงวิธีปฏิบัติในเมื่อมีแผลถลอกเล็กนอยและเขาใจถึงความสําคัญในการที่จะขอความ
ชวยเหลือจากผูใหญในเมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น
๒. ความสามารถในเชิงทักษะ
          (ก) ขวางและรับลูกบอลระหวาง ๒ คน ซึ่งอยูหางกันอยางนอย ๕ เมตร (๑๖ ฟุต) ใหได ๘
ครั้ง ใน ๑๐ ครั้ง
          (ข) ปฏิบัติกิจกรรมตอไปนีใหได ๒ อยาง คือ มวนหนา, กระโดดกบขามลูกเสือที่มีขนาดเดียวกัน
                                       ้
ได, ขึ้นตนไม หรือไตเชือกใหไดสูงอยางนอย ๓ เมตร (๑๐ ฟุต)
๓. การสํารวจ
          รูจักที่ตั้งของสถานบริการที่สําคัญในทองถิ่นใกลเคียง เชน วัด, โรงเรียน, สถานีตํารวจ, สถานี
อนามัย, โรงพยาบาล, สํานักงานแพทย, สถานีดับเพลิง, โทรศัพท, ที่ทําการไปรษณียและเวลาเก็บจดหมาย
                                                                                        
จากตูไปรษณีย, ที่จอดรถประจําทาง, สถานีรถไฟ, ที่จอดรถรับจางที่ใกลที่สุดและรูจักขอความชวยเหลือ
                                                                                      
จากผูใหญ ตํารวจหรือหนวยดับเพลิง
๔. การคนหาธรรมชาติ
          เลือกสัตว, ตนไม, ปลา หรือนก อยางใดอยางหนึ่งที่ไดเคยเห็นและคนหาเรื่องราวเกียวกับสิ่ง
                                                                                              ่
นั้นๆใหมากทีสุดเทาที่สามารถจะทําได
                 ่
๕. ความปลอดภัย
          (ก) เขาใจสาเหตุตางๆที่ทําใหเกิดอุบัตเิ หตุในบานและอันตรายที่เกิดจากไฟ
          (ข) รูจักและปฏิบัติตามกฎจราจรทางบก สําหรับผูเดินเทา
๖. บริการ
          (ก) รูจักเก็บรักษาเสื้อผาและรองเทาของตนใหสะอาดเรียบรอย
          (ข) รูจักจัดและเก็บทีนอนใหเรียบรอย
                                  ่
          (ค) รูจักตมน้ํารอนและทําความสะอาดเครืองใชตางๆเมื่อใชแลว
                                                       ่
๗. ธงและประเทศตางๆ
          (ก) สามารถรองเพลงชาติ, เพลงสรรเสริญพระบารมี และรูจักวิธีปฏิบัติในเมื่อมีการบรรเลง

                                      โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๑๓

เพลงชาติ หรือเพลงสรรเสริญพระบารมี
        (ข) รูเรื่องราวเกี่ยวกับ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวรัชกาลปจจุบันพอสมควร
                                                              ั
        (ค) รูประวัติธงชาติไทยโดยสังเขป กับรูสวนประกอบความหมายและวิธีชักธงชาติไทย
        (ง) รูจักธงคณะลูกเสือโลก และธงชาติของประเทศอื่นอีก ๒ ประเทศ
๘. การฝมือ
        ทําหุนจําลองหรือสิ่งของอยางงายๆจากเศษวัสดุ
๙. กิจกรรมกลางแจง
        เดินสะกดรอยตามเครื่องหมายที่กําหนดไว
๑๐. การบันเทิง
        แสดงเงียบตามลําพัง หรือกับเพื่อนลูกเสือสํารองอีกคนหนึ่ง
๑๑. การผูกเงื่อน
        (ก) ผูกเงื่อนพิรอด, เงื่อนขัดสมาธิ และรูจกวิธีใชเงื่อนดังกลาว
                                                  ั
        (ข) รูจักวิธีเก็บเชือกอยางงายๆ
๑๒. คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง
        ปฏิบัติตามคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารองอยางดีทสุด        ี่

                                          ดาวดวงที่ ๒
       ลักษณะ เปนเครื่องหมายรูปดาว ๖ แฉก สีเงิน เสนผาศูนยกลาง ๑.๕ ซม. ติดที่ขางซายรูปหนาเสือ
หมวก
หลักสูตร
๑. อนามัย
         (ก) รูจักความสําคัญของการนอนหลับสนิทในตอนกลางคืน
         (ข) แสดงวิธีปฏิบัติในกรณีทจมูกมีเลือดกําเดาออก
                                     ี่
         (ค) รูจักความสําคัญของการขอความชวยเหลือจากผูใหญในเมื่อมีอุบติเหตุเกิดขึ้น
                                                                        ั
๒. ความสามารถในเชิงทักษะ
         (ก) วายน้ําไดไกล ๑๐ เมตร หรือ
         (ข) ภายในระยะเวลาอยางนอย ๓ เดือน โดยการฝกอยางสม่ําเสมอ สามารถปฏิบติ     ั
กิจกรรมตอไปนี้ใหดีขึ้น ๓ อยาง คือ
         ๑. กระโดดเชือกเทาชิดกันโดยแกวงเชือกดวยตนเองไปขางหนา ๑๕ ครั้ง ไปขางหลัง ๑๕ ครั้ง
         ๒. เดินทรงตัวบนไม หรือกําแพงอิฐมีความกวางไมเกิน ๑๓ ซม. (๕ นิ้ว) สูงประมาณ ๓๐ ซม. (๑
ฟุต) เปนระยะทางอยางนอย ๔.๕ เมตร (๑๕ ฟุต)


                                    โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๑๔

          ๓. หงายมือทั้งสองจับราวไมสูงอยางนอยเทากับบั้นเอวของตน แลวมวนตัวไปขางหนาขามราว
ไมนั้น
          ๔. เลี้ยงลูกบอลดวยเท าอยางเร็ว ออมเครื่องกีดขวางอยางนอย ๖ อยางในระยะทางไมเกิน ๑๘
เมตร (๒๐ หลา)
๓. การสํารวจ
          ไปเยือนสถานที่ในทองถิ่นทีนาสนใจแหงหนึ่งแลวกลับมารายงานวาไดพบเห็นอะไรบาง
                                          ่
๔. การคนหาธรรมชาติ
          (ก) เพาะถัวงอก หรือเมล็ดพันธุพืชอยางอืนที่งอกงาย
                       ่                                 ่
          (ข) รูจักชนิดของอาหารที่พึงใหแกสัตวเลียง ้
๕. ความปลอดภัย
          รูจักหลักแหงความปลอดภัยทางน้ํา
๖. บริการ
          (ก) สามารถจดจํา และสงขาวซึ่งประกอบดวยวันที่ ตัวเลข และชื่อตางๆ
          (ข) สามารถใชโทรศัพทสาธารณะ และสมุดโทรศัพทอยางถูกตอง
          (ค) ในกรณีทมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้น รูจักวิธติดตอสงขาวใหผูใหญหรือเจาหนาที่ทราบ
                            ี่                       ี
๗. ธงและประเทศตางๆ
          (ก) รูจักวิธีชักธงชาติขึ้นสูยอดเสา เชิญธงชาติลงและเก็บรักษาธงชาติใหเรียบรอยอยูในสถานที่
                                                                                               
อันเหมาะสม
          (ข) สามารถเขียนภาพธงคณะลูกเสือโลก
          (ค) รูจักที่ตั้งและสามารถเขียนภาพธงชาติของประเทศอื่นๆรวม ๔ ประเทศ
๘. การฝมือ
ทําสิ่งตอไปนี้อยางนอย ๒ อยาง
          (ก) วาว
          (ข) พับกระดาษหรือผาเปนรูปตางๆ เชน หมวก, ดอกบัว, กระทง, นก ฯลฯ
          (ค) ไมสูงสําหรับเดิน
          (ง) นาฬิกาแดด
          (จ) เข็มทิศจําลอง
๙. กิจกรรมกลางแจง
          (ก) กอไฟ และปรุงอาหารอยางใดอยางหนึ่งโดยใชไฟนั้น
          (ข) รูจักวิธีดับไฟ และทําสถานที่กอไฟใหสะอาดเรียบรอยเมื่อเสร็จงานแลว




                                      โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๑๕

๑๐. การบันเทิง
กระทํากิจกรรมตอไปนี้อยางนอย ๒ อยาง ตามลําพังหรือกับเพื่อนลูกเสือสํารองอีกคนหนึ่ง
         (ก) แสดงกล
         (ข) เลานิทานหรือทองกลอนหรือแสดงทาทางขบขัน
         (ค) รองเพลง
         (ง) เลนดนตรี
         (จ) แสดงการมวนตัวทาตางๆ
๑๑. การผูกเงื่อน
         (ก) ผูกเงื่อนบวงสายธนู, เงื่อนผูกกระหวัดไม และรูจกวิธีใชเงื่อนดังกลาว
                                                             ั
         (ข) ทบทวนการผูกเงื่อนพิรอด และเงื่อนขัดสมาธิ ที่ไดเคยเรียนมาแลวตามหลักสูตรดาว
ดวงที่ ๑
๑๒. คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง
         แสดงวาไดพยายามปฏิบัติตามคําปฏิญาณ และกฎของลูกเสือสํารอง

                                           ดาวดวงที่ ๓

        ลักษณะ เปนเครื่องหมายรูปดาว ๖ แฉก สีเงิน เสนผาศูนยกลาง ๑.๕ ซม. ติดที่หนาหมวกใตรูป
หนาเสือระหวางกลางดาวดวงที่๑ และดาวดวงที่ ๒
หลักสูตร
๑. อนามัย
        (ก) รูจักความสําคัญของการขอความชวยเหลือจากผูใหญในเมื่อมีอุบติเหตุเกิดขึ้น
                                                                       ั
        (ข) จัดทําถุงหรือที่เก็บอุปกรณปจจุบนพยาบาลสําหรับตนเอง และเพื่อนําติดตัวไปเมือมี
                                                 ั                                     ่
การเดินทางออกไปนอกสถานที่
        (ค) รูจักวิธีปฏิบัติเมื่อถูกแมลงกัดหรือตอย
        (ง) รูจักวิธีปฏิบัติอยางงายๆในเมื่อถูกไฟไหมหรือน้ํารอนลวก
๒. ความสามารถในเชิงทักษะ
        (ก) วายน้ําไดไกล ๒๕ เมตร หรือ
        (ข) ภายในระยะเวลาอยางนอย ๓ เดือน โดยการฝกอยางสม่ําเสมอ สามารถปฏิบัติ
กิจกรรมตอไปนี้ใหดีขึ้น ๓ อยาง คือ
        ๑. วิ่ง ๕๐ เมตร
        ๒. วิ่งหรือยืนกระโดดไกล
        ๓. ขวางลูกบอลไกลพอสมควร
        ๔. กระโดดขามรั้วหรือเครื่องกีดขวาง สูงไมเกินบั้นเอวของตน

                                    โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๑๖

๓. การสํารวจ
         (ก) เขาใจวิธีดนาฬิกา และสามารถนับเวลา ๒๔ ชั่วโมง
                            ู
         (ข) วางแผนรวมกับผูกํากับเกี่ยวกับการเดินทาง และคาใชจายสําหรับกอง หรือหมูลูกเสือสํารอง
ในการออกไปนอกสถานที่พรอมผูกํากับ
๔. การคนหาธรรมชาติ
         แสดงความสนใจและเขาใจเรื่องราวตางๆเกี่ยวกับธรรมชาติในบางประการ โดยจัดทําสมุดภาพ
หรือสะสมสิ่งของตางๆ เชน สภาพดินฟาอากาศชายทะเล แมลง ทองฟาในตอนกลางคืน สิ่งที่มีชีวิตใน
สระน้ํา ฯลฯ
๕. ความปลอดภัย
         (ก) รูจักกฎจราจร
         (ข) โดยการทําเปนตัวอยาง นําลูกเสือสํารองที่อายุนอยกวา ใหรูจักความปลอดภัยในการใชถนน
         (ค) อธิบายถึงสิ่งที่ควรทําเมื่อทิ้งบานไวโดยไมมีคนอยู
๖. บริการ
         ดวยความชวยเหลือของผูกํากับ วางแผนและดําเนินการใหบริการแกผอื่น โดยตนเองหรือรวมกับ
                                                                               ู
เพื่อนลูกเสือสํารองอื่น
๗. ธงและประเทศตางๆ
         (ก) รูจักธงลูกเสือประเภทตางๆ ธงลูกเสือประจําจังหวัด และธงคณะลูกเสือแหงชาติ
         (ข) รูจักที่ตั้ง และสามารถเขียนภาพธงชาติของประเทศอื่นๆรวม ๘ ประเทศ
๘. การฝมือ
         (ก) ประดิษฐสิ่งของจากเศษวัสดุที่เปนไม โลหะหรือวัสดุอยางอื่นโดยใชเครื่องมือที่เหมาะสม
         (ข) รูจักวิธีใช และรักษาเครื่องมือตอไปนีคือ มีดพับ, กรรไกร, คอน, เลื่อย และไขควง
                                                    ้
๙. กิจกรรมกลางแจง
         (ก) รูจักทิศทั้ง ๘ และวิธีอานเข ็มทิศ
         (ข) สามารถหาเสนทางในระยะประมาณ ๔๐๐ เมตร โดยใชเข็มทิศ
๑๐. การบันเทิง
เลือกกระทํากิจกรรมตอไปนี้อยางใดอยางหนึ่ง
         (ก) จัดและเขารวมในการแสดงละครกับเพือนลูกเสือสํารองอื่น
                                                      ่
         (ข) จัดใหมการรองเพลงหรือฟอนรําโดยมีดนตรีประกอบ
                         ี
         (ค) ทําหุนและเชิดหุนเรื่องสั้นๆกับเพื่อนลูกเสือสํารองอื่น




                                     โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๑๗

๑๑. การผูกเงื่อน
(ก) ผูกเงื่อนบวงสายธนู และสาธิตวิธีใช
         ๑. ผูกรอบตัวเอง
         ๒. ผูกรอบตัวคนอื่น
         ๓. ผูกเปนหวงเพื่อโยนใหคนอื่น
         (ข) ผูกเงื่อนกระหวัดไม ๒ ชั้น
         (ค) ขดเชือกยาวหรือสายยางเสนหนึ่งใหเรียบรอย
         (ง) ทบทวนการผูกเงื่อนตางๆที่ไดเคยเรียนมาแลวตามหลักสูตรดาวดวงที่ ๑ และที่ ๒
๑๒. คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง
         ทบทวนคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง กับเขาใจความหมายของคําปฏิญาณและกฎแจม
แจงกวาแตกอน และแสดงวาไดใชความพยายามอยางแทจริงในการปฏิบัติตามคําปฏิญาณและกฎของ
ลูกเสือสํารองตลอดเวลา

                                             หมวด ๓

เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือสํารอง
          เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือสํารอง มุงหมายที่จะใหการฝกอบรมที่สูงขึ้นในกิจกรรมทั้ง ๑๒
เรื่องดังที่กําหนดไวในหลักสูตรลูกเสือสํารองสําหรับดาวดวงที่ ๑-๓ กับทั้งเพื่อใหลูกเสือสํารองมีโอกาส
ไดรับการฝกอบรมเปนพิเศษในกิจกรรมตางๆที่มิไดกําหนดไวสําหรับดาวดวงที่ ๑-๓ เครื่องหมายวิชา
พิเศษสวนใหญซึ่งมีภาพอันเปนสัญลักษณ แสดงถึงทักษะของแตละวิชาประกอบดวยพื้นสีแดงโดยเฉพาะ
เครื่องหมายวิชาพิเศษ ประเภทนักกรีฑา และนักวายน้า มีขอกําหนดตางๆแบงออกเปน ๓ ขั้น พื้นสี
                                                    ํ
ตางกันดังทีไดบรรยายไวใตหัวขอเรื่องเครืองหมายวิชาพิเศษของทั้ง ๒ประเภทนั้นแลวเครื่องหมายวิชา
               ่                           ่
พิเศษประเภทนักจักรยานสองลอ และนักวายน้ํา ซึ่งเกี่ยวของกับความปลอดภัยของลูกเสือสํารองนั้น
ลูกเสือสํารองอาจสมัครเขาทดสอบเมื่อใดก็ได ภายหลังที่ไดเขาประจํากองเปนลูกเสือสํารองโดยสมบูรณ
แลว นอกจากนั้นในระหวางที่กําลังศึกษาตามหลักสูตรสําหรับดาวดวงที่ ๑-๓ แตละชั้นลูกเสือสํารองอาจ
เลือกเรียนวิชาพิเศษใดๆก็ได ชั้นละ ๒ วิชา สวนลูกเสือสํารองที่ไดดาวดวงที่ ๓ อาจเลือกเรียนวิชาพิเศษ
ไดทุกวิชา




                                     โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๑๘

๑. จิตรกร



เลือกทําเรื่องตอไปนี้ ๓ เรื่อง
          ๑. เขียนภาพตามความนึกคิดของตน ตอหนากรรมการ ดวยดินสอพูกัน หรือปากกา แสดงถึง
เหตุการณ บุคคล หรือสถานที่ ตามเรื่องงายๆที่กรรมการเลาใหฟง ขนาดของภาพตองไมเล็กกวา ๑๘x๑๓
ซม. (๗x๕ นิ้ว)
          ๒. ออกแบบและทําบัตรอวยพร ๑ บัตร
          ๓. ทําหุนจําลองดวยดินเหนียว ดินน้ํามัน หรือวัสดุอยางอื่นขนาดไมเล็กกวา ๑๐ ซม. (๔ นิ้ว)
สี่เหลี่ยมจัตุรัส
          ๔. ทําสิ่งของประเภทสวยงามดวยหวาย ไมไผ หนัง ไม ลวด ผาฝายผาไหม หรือวัสดุที่เหมาะสม
อยางอื่น โดยไดรับความเห็นชอบลวงหนาจากกรรมการแลว
          ๕. แกะแบบพิมพ (เชนใชมนเทศ หรือวัสดุอยางอื่น) แลวพิมพลงบนกระดาษหรือผา
                                      ั
          ๖. ทําเครื่องเลนที่ใชประโยชนไดขนาดโตพอสมควร
๒. นักกรีฑา




        เครื่องหมายนีมี ๓ ชั้นเมื่อทําไดถึงมาตรฐานดังที่กําหนดไวสําหรับชันใดชั้นหนึ่ง จะไดรับ
                        ้                                                  ้
เครื่องหมายวิชาพิเศษดังนี้
        ขั้นตน - พื้นสีแดง
        ขั้นกลาง - พื้นสีเหลือง
        ขั้นสูง - พื้นสีเขียว
การประดับเครื่องหมายนี้ ใหประดับไดเพียงอยางเดียว
        ทุกคนตองกระทําทั้ง ๔ ประเภท ผูที่ไดคะแนนรวม ๒๔-๒๙ คะแนน ถือวาไดขั้นตน ไดคะแนน
รวม ๓๐-๓๓ คะแนน ถือวาไดขั้นกลาง ไดคะแนนรวม ๓๔-๔๐ คะแนน ถือวาไดขั้นสูง
        ๑. วิ่ง ๕๐ เมตร ๕ คะแนน ๗ คะแนน ๑๐ คะแนน ๑๑ วินาที ๑๐ วินาที ๙ วินาที
        ๒. ขวางลูกเทนนิส ๕ คะแนน ๗ คะแนน ๑๐ คะแนน๑๘ เมตร ๒๔ เมตร ๓๐ เมตร
        ๓. กระโดดสูง ๕ คะแนน ๗ คะแนน ๑๐ คะแนน๐.๗๖ เมตร ๐.๘๖ เมตร ๐.๙๖ เมตร
        ๔. กระโดดไกล ๕ คะแนน ๗ คะแนน ๑๐ คะแนน๒ เมตร ๒.๕ เมตร ๓ เมตร



                                     โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๑๙

๓. นักอานหนังสือ



         ๑. ทําบัญชีหนังสือที่ไดอานมาแลวในรอบประบุชื่อผูแตง และสามารถเลาเรื่องจากหนังสือ ๓
เลมใหกรรมการฟง หนังสือ ๓ เลมนี้ใหลูกเสือเลือกเองอยางนอยเลมหนึ่งจะตองเปนนิทานและอีกเลม
หนึ่งเปนสารคดีหนังสือทั้ง ๓ เลมดังกลาว ตองมีมาตรฐานดีพอสมควร โดยคํานึงถึงวัย
และพัฒนาการของลูกเสือ
         ๒. แสดงใหเห็นวาเขาใจวิธีรกษาหนังสือใหอยูในสภาพอันดี
                                      ั
         ๓. แสดงใหเห็นวาสามารถใชพจนานุกรมและสมุดแผนที่
         ๔. อธิบายใหกรรมการทราบถึงวิธีจัดหนังสือในหองสมุด และวิธีที่จะหาหนังสือเลมหนึ่งตามที่
กําหนดใหจากหองสมุด
๔. นักจักรยานสองลอ




        ๑. เปนเจาของ หรือมีจักรยานสองลอคันหนึ่งขนาดพอเหมาะสมสําหรับใชเปนประจํา
        ๒. สามารถขึ้นลงรถจักรยาน ไดอยางเรียบรอย
        ๓. สามารถทําความสะอาด หยอดน้ํามันเครื่องและสูบลมยางรถจักรยาน
        ๔. เขาใจความจําเปนในการรักษารถจักรยาน ใหอยูในสภาพอันดีสําหรับการขับขี่ไปตามถนน
        ๕. เขาใจความจําเปนในการใสกุญแจรถจักรยานเมื่อปลอยทิ้งไวโดยไมมีผูดูแล
        ๖. เขาใจวิธีปะยางที่มีรูรั่วและสามารถชวยผูอื่นได
        ๗. ภายใตการควบคุม ขี่จักรยานไปตามระยะทางทีกําหนด และแสดงวามีความรูในการใช
                                                             ่
สัญญาณตางๆกับปฏิบัติตามกฎจราจรไดอยางถูกตอง (ระยะทางที่กําหนดนั้น ถาสามารถทําไดควร
ประกอบดวยทางสี่แยก ทางคนเดินเทาขามถนน การเลี้ยวขวา และการเลี้ยวกลับหลัง)
๕. นักแสดงการบันเทิง




ใหเลือกปฏิบติหมวดละหนึงอยาง ตอไปนี้
            ั              ่
        หมวด ก.
        ๑. แตงบทละครพูดเรื่องหนึง และจัดใหมการแสดงเรื่องนั้น
                                    ่          ี
        ๒. ทําหนาที่ผกํากับเวที สําหรับการแสดงการบันเทิงของกองลูกเสือสํารอง
                      ู

                                     โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๒๐

         หมวด ข.
         ๑. จัดใหเด็กกลุมหนึ่งรองเพลง ๑ เพลง
         ๒. แสดงนําเด็กกลุมหนึ่งใหรําวงหรือฟอนรําพื้นเมือง
         ๓. ประดิษฐเครื่องดนตรีหรือเครื่องใหจังหวะอยางงายๆ แลวใชเครื่องนั้นประกอบการรองเพลง
๑ เพลง
         หมวด ค.
         ๑. รองเพลงพื้นเมือง ๒ เพลง
         ๒. แสดงกล ๓ อยาง
         ๓. เลาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ใชเวลาอยางนอย ๕ นาที
         ๔. เลนดนตรีอยางงายๆ ๑ เพลง
         ๕. แสดงการมวนตัวทาตางๆ
หมายเหตุ การแสดงการบันเทิงอื่นๆที่มีมาตรฐานพอทัดเทียมกัน ถากรรมการยอมรับกอนเริ่มแสดง
ก็นับวาใชได
๖. นักสํารวจ




        ๑. อธิบายใหกรรมการทราบถึงการเตรียมงานที่จําเปนสําหรับการเดินทางไปสํารวจในชนบทเปน
เวลา ๑ วัน เชน คาใชจายในการเดินทาง เสื้อผาที่เหมาะสม รองเทา เครื่องใชในการปฐมพยาบาลและ
อาหาร
        ๒. เขารวมในการเดินทางไปสํารวจของกองลูกเสือสํารอง ๒ ครั้ง ซึ่งครั้งหนึ่งตองเปนการ
เดินทางไปสํารวจนอกสถานที่โดยตลอด
        ๓. สรางที่พักอยางงายๆ ๑ หลัง โดยใชวสดุธรรมชาติ
                                                  ั
        ๔. กอไฟกลางแจงและใชกาหรือหมอตมน้ารอน  ํ
        ๕. หาทางไปยังสถานที่แหงหนึ่งในเมืองหรือชนบทไกล ๑ กม. โดยปฏิบัติตามคําชี้แจงที่
กรรมการกําหนดให (ดวยการบอกทิศทางตามเข็มทิศเครื่องหมายบนพื้นดินหรือขางทาง วัตถุอันเปนที่
หมาย หรือสิ่งตางๆเหลานี้รวมกัน)




                                     โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๒๑

๗. นักปฐมพยาบาล



        ๑. รูจักขอบเขตของการปฐมพยาบาล และความจําเปนทีจะตองขอความชวยเหลือจากผูใหญ
                                                             ่
        ๒. รูจักวิธีหามโลหิต โดยใชนิ้วมือกดลงบนบาดแผล
        ๓. รูจักความสําคัญของการรักษาความสะอาด และสาธิตวิธีแตงแผลที่ถูกของมีคมบาดเล็กนอย
และแผลถลอก โดยใชผากอซและผาพันแผลชนิดมวนรูจักใชและเอาผายาปดแผลออก
                                                       
        ๔. สาธิตวิธีใชผาสามเหลี่ยมสําหรับคลองแขน และพันแผลที่หัวเขา
        ๕. สาธิตวิธีทําใหคนไขรูสึกสบาย
        ๖. รูจักสาเหตุธรรมดาที่ทําใหเกิดไฟลวก น้ํารอนลวก และวิธีปองกันรูจักวิธีดับไฟที่ไหมผา
ตลอดจนวิธีรกษาบาดแผลที่เกิดจากไฟลวกและน้ํารอนลวกอยางงายๆ
              ั
๘. นักสารพัดชาง




       ๑. รูจักวิธีปฏิบัติเมื่อทอน้ําประปาแตก หรือทอแกสรั่ว กับรูจักวิธีปฏิบัติเมื่อตองมีการตัด
กระแสไฟฟา และรูจักวิธีปดสวิตซรวมสายไฟในบาน
       ๒. รูจักวิธีปฏิบัติเมื่อเกิดไฟไหม
       ๓. ประดิษฐสงของที่มีประโยชนสําหรับใชในคูหาลูกเสือสํารอง หรือที่บาน
                       ิ่
       ๔. สาธิตการใชและวิธีรักษาเครื่องมือตอไปนี้ คือ คอน เลื่อย ไขควง ประแจปากตาย คีมปากคีบ
       ๕. ทํากรงเลี้ยงนก หรือทําที่ใหอาหารนก แลววางไวในที่อันเหมาะสม
       ๖. สาธิตวิธีเตรียมและทาสีผนัง กับทําความสะอาดแปรงทาสีที่ใชแลว
๙. งานอดิเรก




       แสดงความสนใจตอเนื่องกัน ในงานอดิเรกอยางหนึ่ง เปนระยะเวลาอยางนอย ๓ เดือน สามารถ
สาธิตและสนทนากับกรรมการในเรื่องงานอดิเรกนันดวย
                                              ้
หมายเหตุ งานอดิเรกที่เหมาะสม อาจเปนเรื่องการสะสม เลนหมากรุกรองเพลง เลนดนตรี ฯลฯ




                                      โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
๒๒

๑๐. การชวยเหลืองานบาน




        ๑. ตมขาวตม หุงขาวหรือนึ่งขาว ตมหรือทอดไข ทํากับขาวอยางอื่นอยางนอย ๑ อยาง
        ๒. จัดที่รับประทานอาหาราและเลี้ยงอาหารอยางนอย ๓ คน (อาจทําพรอมกับขอ ๑ ขางตน)
        ๓. ทําความสะอาดถวยชามภายหลังการรับประทานอาหาร และแสดงวิธีจัดการกับภาชนะหุงตม
มีด ถวยแกว ฯลฯ
        ๔. ซักและรีดผาผูกคอลูกเสือของตน
        ๕. ติดกระดุมหรือเครื่องหมายลูกเสือกับเสื้อเครื่องแบบ
        ๖. จัดปูและเก็บที่นอน
        ๗. ทําความสะอาดหนาตางและเครื่องใชที่เปนโลหะ
        ๘. ทําความสะอาดและจัดหองใหเรียบรอย
๑๑. นักอานแผนที่




          ๑. รูจักเครื่องหมายสําคัญตางๆที่ใชในการทําแผนที่ทองถิ่น สามารถชี้แผนที่วาบานของตนและ
ที่ตั้งกองลูกเสืออยูที่ไหน อธิบายถึงความสําคัญของสถานที่ตางๆในทองถิ่นที่ปรากฏในแผนที่
          ๒. ทําหุนจําลองตามมาตราสวนเนินเขาสูง ๘๕ เมตร (๒๕๐ ฟุต) โดยแสดงความสูงต่ําของ
แผนดินเปนชันๆ ชั้นละ ๑๗ เมตร (๕๐ ฟุต)
                 ้
          ๓. เขาใจทุกสิงทุกอยางในขอ ๑ และขอ ๒ สามารถอธิบายใหกรรมการเขาใจวาเห็นอะไรบาง
                          ่
ตามถนนระยะทาง ๕ กม. (๓ ไมล) โดยดูจากแผนที่สังเขป
          ๔. รูจักวางแผนที่ใหถูกทิศและรูวิธีใชเข็มทิศ
          ๕. อานแผนทีประเทศไทย รูจักที่ตั้งของจังหวัดตางๆตลอดจนชื่อของแมนํ้าและภูเขาที่สําคัญ
                            ่
๑๒. นักธรรมชาติศึกษา



เลือกทําเพียง ๒ ขอตอไปนี้
         ๑. (ก) ศึกษา และทําสมุดบันทึกเปนระยะเวลาอยางนอย ๑ เดือนเกี่ยวกับสิ่งตางๆตอไปนี้ ๓ อยาง
ตนไมและไมพุม สิ่งที่เปนประโยชนและศัตรูของสวนดอกไมปา ตนเฟนหรือหญา หรือพืชอยางอืน   ่


                                      โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
maethaya
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
peter dontoom
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
krupornpana55
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
nang_phy29
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
teerachon
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
ศิริพัฒน์ ธงยศ
 
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญาภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
SophinyaDara
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
Suphot Chaichana
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 

Was ist angesagt? (20)

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรม
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญาภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 

Ähnlich wie หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ

บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
patcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
patcharee0501
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
benty2443
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
patcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
patcharee0501
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
chanhom357
 

Ähnlich wie หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ (20)

หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 

Mehr von watdang

แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
watdang
 
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
watdang
 
009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1
watdang
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2
watdang
 
ประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญ
watdang
 
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
watdang
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
watdang
 
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญหลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
watdang
 
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองหลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
watdang
 
Microsoft word 301005 494
Microsoft word   301005 494Microsoft word   301005 494
Microsoft word 301005 494
watdang
 
การให้อภัย
การให้อภัยการให้อภัย
การให้อภัย
watdang
 
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาการดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
watdang
 
พรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือพรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือ
watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
watdang
 
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยโครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
watdang
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
watdang
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
watdang
 

Mehr von watdang (20)

แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
 
009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2
 
ประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญ
 
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
 
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญหลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
 
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองหลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
 
Microsoft word 301005 494
Microsoft word   301005 494Microsoft word   301005 494
Microsoft word 301005 494
 
การให้อภัย
การให้อภัยการให้อภัย
การให้อภัย
 
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาการดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
 
พรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือพรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยโครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 

หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ

  • 1. ความนํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ใหเปน หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกําหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายและกรอบ ทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถ ใน การแขงขันในเวทีระดับโลก ( กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๔) พรอมกันนี้ไดปรับกระบวนการพัฒนา หลักสูตรใหมีความสอดคลองกับเจตนารมณแหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ที่ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่มุงเนนการกระจายอํานาจทางการศึกษาใหทองถิ่นและ สถานศึกษาไดมีบทบาทและมีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อใหสอดคลองกับสภาพ และ ความ ตองการของทองถิ่น ( สํานักนายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๒ ) จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช หลักสูตรในชวงระยะ ๖ ปที่ผานมา ( สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๘ ข.; สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๔๗; สํานักผูตรวจราชการและติดตาม ประเมินผล, ๒๕๔๘; สุวิมล วองวาณิช และ นงลักษณ วิรัชชัย, ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒; Kittisunthorn, ๒๐๐๓) พบวา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มีจุดดีหลายประการ เชน ชวยสงเสริมการกระจายอํานาจทางการศึกษาทําใหทองถิ่นและสถานศึกษามีสวนรวมและมีบทบาท สําคัญในการพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลอง กับความตองการของทองถิ่น และมีแนวคิดและหลักการใน การสงเสริมการพัฒนาผูเรียนแบบองครวมอยางชัดเจน อยางไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกลาวยังไดสะทอน ใหเห็นถึงประเด็นที่เปนปญหาและความ ไมชัดเจนของหลักสูตรหลายประการทั้งในสวนของเอกสาร หลักสูตร กระบวนการนําหลักสูตร สูการปฏิบัติ และผลผลิตที่เกิดจากการใชหลักสูตร ไดแก ปญหาความ สับสนของผูปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาสวนใหญกําหนด สาระและผลการเรียนรู ที่คาดหวังไวมาก ทําใหเกิดปญหาหลักสูตรแนน การวัดและประเมินผล ไมสะทอนมาตรฐาน สงผลตอปญหาการจัดทําเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผล การเรียน รวมทั้งปญหาคุณภาพ ของผูเรียนในดานความรู ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึง ประสงคอันยังไมเปนที่นาพอใจ นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ไดชี้ใหเห็นถึงความจําเปนในการปรับเปลี่ยนจุดเนนในการพัฒนาคุณภาพคน ในสังคมไทยให มีคุณธรรม และมีความรอบรูอยางเทาทัน ใหมีความพรอมทั้งดานรางกาย สติปญญา อารมณ และศีลธรรม สามารถกาวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนําไปสูสังคมฐานความรู ไดอยางมั่นคง แนว การพัฒนาคนดังกลาวมุงเตรียมเด็กและเยาวชนใหมีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พรอมทั้งมี สมรรถนะ ทักษะและความรูพื้นฐานที่จําเปนในการดํารงชีวิต อันจะสงผลตอการพัฒนาประเทศแบบ ยั่งยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ๒๕๔๙) ซึ่งแนวทางดังกลาวสอดคลองกับนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเขาสูโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ โดยมุงสงเสริมผูเรียนมี คุณธรรม รักความเปนไทย ใหมีทักษะการคิดวิเคราะห สรางสรรค มีทักษะดานเทคโนโลยี สามารถ โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 2. ๒ ทํางานรวมกับผูอื่น และสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมโลกไดอยางสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๑) จากขอคนพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ที่ผานมา ประกอบกับขอมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐ เกี่ยวกับ แนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการใน การพัฒนาเยาวชนสูศตวรรษ ที่ ๒๑ จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เพื่อนําไปสูการพัฒนา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่มีความเหมาะสม ชัดเจน ทั้งเปาหมายของ หลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน และกระบวนการนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่ การศึกษาและสถานศึกษา โดยไดมีการกําหนดวิสัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อใชเปนทิศทางในการจัดทํา หลักสูตร การเรียนการสอนในแตละระดับ นอกจากนั้นไดกําหนดโครงสรางเวลาเรียนขั้นต่ําของแตละ กลุมสาระการเรียนรูในแตละชั้นปไวในหลักสูตรแกนกลาง และเปดโอกาสใหสถานศึกษาเพิ่มเติมเวลา เรียนไดตามความพรอมและจุดเนน อีกทั้งไดปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผูเรียน เกณฑการจบ การศึกษาแตละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการ เรียนรู และมีความชัดเจนตอการนําไปปฏิบัติ ดวยเหตุผลดังกลาวขางตนการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนจะตองมีการพัฒนาและปรับปรุงให เหมาะสมโดยมุงเนนให กิจกรรมพัฒนาผูเรียนของสถานศึกษาเปนกิจกรรมที่ใหผูเรียนเปนผูปฏิบัติจริง โดยการศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติตามแผน การทํางานเปนกลุม และประเมินผลเพื่อปรับปรุง พัฒนาอยางตอเนื่องตามลักษณะความพรอม ความตองการ และความเปนไปไดในการปฏิบัติตามดุลย พินิจของสถานศึกษาและมีการกํากับดูแลอยางจริงจัง ความหมายของกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียนเปนกิจกรรมที่จัดอยางเปนระบบ ประกอบดวย รูปแบบ กระบวนการ วิธีการที่หลากหลาย ใหผูเรียนไดรับประสบการณจากการปฏิบัติจริง มีความหมายและมีคุณคาในการ พัฒนาผูเรียนทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณและสังคม มุงสรางเสริมเจตคติ คุณคาชีวิต ปลูกฝงคุณธรรมและคานิยมที่พึงประสงค สงเสริมใหผูเรียนรูจักและเขาใจตนเอง สรางจิตสํานึกใน ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปรับตัวและปฏิบัติตนใหเปนประโยชนตอสังคม ประเทศชาติ และดํารงชีวิต ไดอยางมีความสุข โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 3. ๓ จุดมุงหมายของกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียนมีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียน ไดรับการพัฒนา ดังนี้  1. พัฒนาองครวมของความเปนมนุษยใหครบทุกดาน ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม 2. พั ฒนาความสามารถของตนเองตามศัก ยภาพ โดยมุงเน นเพิ่ มเติ มจากกิ จกรรมที่ไ ด จัด ให ผูเรียนเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุม 3. เข า ร ว มและปฏิ บั ติกิ จ กรรมที่ เ ลื อ กตามความถนั ด และความสนใจของตนเองหลั ก การจั ด กิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียนมีหลักการจัดดังนี้ 1. มีการกําหนดวัตถุประสงคและแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและเปนรูปธรรม 2. จัดใหเหมาะสมกับ วัย วุฒิภาวะ ความสนใจ ความถนัด และความสามารถของผูเรียนและ วัฒนธรรมที่ดีงาม 3. บูรณาการวิชาการกับชีวิตจริง ใหผูเรียน ไดตระหนักถึงความสําคัญของการเรียนรูตลอดชีวิต และรูสึกสนุกกับการใฝรูใฝเรียน 4. ใช ก ระบวนการกลุ ม ในการจั ด ประสบการณ ก ารเรี ย นรู ฝ ก ให คิ ด วิ เ คราะห สร า งสรรค จินตนาการ ที่เปนประโยชนและสัมพันธกับชีวิตในแตละชวงวัยอยางตอเนื่อง 5. จํานวนสมาชิกมีลักษณะเหมาะสมกับกิจกรรม 6. มีการกําหนดเวลาในการจัดกิจกรรมใหเหมาะสม สอดคลองกับวิสัยทัศนและเปาหมายของ สถานศึกษา 7. ผูเรียนเปนผูดําเนินการ มีครูเปนที่ปรึกษา ถือเปนหนาที่และงานประจําโดยคํานึงถึงความ ปลอดภัย 8. ยึดหลักการมีสวนรวม โดยเปดโอกาสใหครู พอแม ผูปกครอง ชุมชน องคกรทั้งภาครัฐและ เอกชน มีสวนรวมในการจัดกิจกรรม 9. มีการประเมินผลในการปฏิบัติกิจกรรม โดยวิธีการที่หลากหลายและสอดคลองกับกิจกรรม อยางเปนระบบและตอเนื่อง โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 4. ๔ ขอบขายของกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ประกอบดัวย กิจกรรมแนะแนวและกิจกรรมนักเรียน ซึ่งสถานศึกษา สามารถจัดแยกหรือบูรณาการไวดวยกันก็ได และสามารถจัดไดหลากหลายรูปแบบและวิธีการ โดยมี ขอบขายดังนี้ 1. เปนกิจกรรมที่เกื้อกูล สงเสริมความรูทั้ง 8 กลุม สาระการเรียนรูใหกวางขวางลึกซึ้งยิ่งขึ้น ในรูปแบบของการปฏิบัติตามโครงการ/โครงงาน ในลักษณะเปนกระบวนการเชิงบูรณาการ โดยยึดหลัก คุณธรรม จริยธรรม เปนพื้นฐาน 2. เปนกิจกรรมที่สนองความสนใจ ความถนัด ความตองการของผูเรียน ตามความแตกตาง ระหวางบุคคลในลักษณะของชมรม ชุมนุม กลุมสนใจ เนนการใหผูเรียนเห็นคุณคาของวิชาความรู อาชีพ และการดําเนินชีวิตที่ดีงาม ตลอดจนเห็นชองทางในการประกอบอาชีพ 3. เป น กิ จ กรรมที่ ป ลู ก ฝ ง และสร า งจิ ต สํ า นึ ก ในการทํ า กิ จ กรรมที่ เ ป น ประโยชน ต อ สั ง คมใน ลักษณะตาง ๆ ใหสามารถจัดการกับชีวิตและสังคมได มีคุณลักษณะที่พึงประสงค รักและเห็นคุณคาใน ตนเองและผู อื่ น มี ค า นิ ย มในความดี ง าม มี วิ นั ย ในตนเอง มี คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมตลอดจนอนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 4. เป น กิ จ กรรมที่ ฝ ก การทํ า งานและการให บ ริ ก ารด า นต า ง ๆ ที่ เ ป น ประโยชน ต อ ตนเอง ส ว นรวม เพื่ อ เสริ ม สร า งความมี น้ํ า ใจ เอื้ อ อาทร ความเป น พลเมื อ งดี และรั บ ผิ ด ชอบต อ ตนเอง ครอบครัวและสังคม เปาหมายของกิจกรรมพัฒนาผูเรียน การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ไดกําหนดเปาหมายเพื่อการพัฒนาผูเรียน ดังนี้ 1. ได รั บ ประสบการณ ที่ ห ลากหลาย เกิ ด ความรู ความชํ า นาญ ด า นวิ ช าการ วิ ช าชี พ และ เทคโนโลยี 2. เห็นคุณคาขององคความรูตาง ๆ และสามารถนําความรูและประสบการณใชในการพัฒนา ตนเองและประกอบอาชีพสุจริต 3. รูจักและเห็นคุณคาในตนเองและผูอื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณ มีกระบวนการคิด มีทักษะใน การดําเนินชีวิตอยางเหมาะสมและมีความสุข 4. คนพบและพัฒนาศักยภาพของตนเอง มองเห็นชองทางในการสรางงาน อาชีพในอนาคตได เหมาะสมกับตนเอง 5. พัฒนาบุคลิกภาพ เจตคติ คานิยมที่ดีในการดําเนินชีวิต เสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 5. 6. มีจิตสํานึกในความรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ ตลอดจนความ เปนระเบียบ วินัย คุณธรรมและจริยธรรม กรอบความคิดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ประกอบดวยกิจกรรมแนะแนวและกิจกรรมนักเรียน โดยมีผลลัพธของ การจัดกิจกรรมที่มุงพัฒนาผูเรียนใหเกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค 12 ประการ ดังนี้ คุณลักษณะทีพึงประสงค ่ 1. รักและเห็นคุณคาในตนเอง 2. มีวินย ั 3. ประหยัด 4. ซื่อสัตยสุจริต 5. พึ่งตนเอง อุตสาหะ รักการทํางาน 6. อดทน อดกลัน ้ 7. กตัญู กตเวที 8. กระตือรือรน ใฝรู มีความคิดริเริ่มสรางสรรค 9. เสียสละ เห็นประโยชนสวนรวม 10. มีความเปนประชาธิปไตย 11. รักสามัคคี รักชาติ ศาสนกษัตริย 12. มีพลานามัยสมบูรณทั้งรางกายและจิตใจ โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 6. แนวทางการจัดกิจกรรมลูกเสือ ตามหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ................................................... กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 1.1 สาระหลัก 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน 1.2 มาตรฐานการพัฒนาผูเรียน 1. มีความรูความเขาใจ และสามารถพัฒนาศักยภาพของตนในการเสริมสรางทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ และการเรียนรูในเชิงพหุปญญา 2. สามารถสรางสัมพันธภาพที่ดีในตนเองและอยูรวมกับผูอื่นอยางเปนสุข 3. เปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม ในการดํารงชีวิต มีระเบียบวินัย มีความคิดริเริ่มสรางสรรค รูจักชวยเหลือผูอื่น และรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน 4. มีความจงรักภักดีตอสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และเลื่อมใสในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข สาระที่ 1 กิจกรรมแนะแนว 1.1 การแนะแนวการศึกษา มุงใหผูเรียนพัฒนาการเรียนไดเต็มศักยภาพ รูจักแสวงหาความรู และวางแผนการเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถปรับตัวดานการเรียน และมีวินัยใฝรูใฝเรียน 1.2 การแนะแนวอาชีพ ชวยใหผูเรียนรูจักตนเอง และโลกของงานอยางหลากหลาย มีเจตคติ และนิสัยที่ดีในการทํางาน มีโอกาสไดรับประสบการณและฝกงานตามความถนัด ความสนใจ 1.3 แนะแนวเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ ชวยใหผูเรียนเขาใจตนเอง รักและเห็นคุณคาในตนเอง และผูอื่น มีอารมณมั่นคง มีมนุษยสัมพันธที่ดี เขาใจสิ่งแวดลอม และสามารถปรับตัวใหดํารงชีวิตอยูใน สังคมอยางเปนสุข กําหนดใหนักเรียนตองพบอาจารยแนะแนว เพื่อปรึกษาหารือ ปละไมนอยกวา 10 ชั่วโมง โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 7. ๗ สาระที่ 2 กิจกรรมนักเรียน 2.1 ลูกเสือ - เนตรนารี มาตรฐาน 2.1 : เพื่อใหผูเรียนพัฒนาทางกาย สติปญญา จิตใจ และศีลธรรม ใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ ชวยสรางสรรคสังคม ใหมีความเจริญกาวหนา ความสงบสุขและความมั่นคงของ ประเทศชาติ มาตรฐานชวงชั้น 1. มีความรูความเขาใจ และสามารถปฏิบัติตามปฏิญาณ กฎ คติพจนของลูกเสือสามัญ รุนใหญ 2. มีทักษะการสังเกต จดจํา การใชมือ เครื่องมือ การแกไขปญหา และทักษะในการทํางาน รวมกับผูอื่น 3. มีความซื่อสัตยสุจริต มีความกลาหาญ อดทน เชื่อมั่นในตนเอง มีระเบียบวินย มีความ ั สามัคคี เห็นอกเห็นใจผูอื่น มีความเสียสละ บําเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน 4. มีการพัฒนาตนเองอยูเ สมอ สรางสรรคงานฝมือ สนใจและพัฒนาเรื่องของธรรมชาติ 2.2 กิจกรรมยุวกาชาด มาตรฐานชวงชั้น 1. เพื่อใหปฏิบัติตามคําปฏิญาณของยุวกาชาดได 2. เพื่อใหปฏิบัติตามหลักการกาชาดได 3. เพื่อใหมีสขภาพสมบูรณทั้งรางกาย และจิตใจ ุ 4. เพื่อใหมีความเสียสละ ขยันหมันเพียร ซื่อสัตย ประหยัด อดทน และมีระเบียบวินัย ่ 5. เพื่อใหมีความคิดริเริ่มสรางสรรค และใชเวลาวางใหเปนประโยชน 6. เพื่อใหชวยเหลือชุมชนและอยูรวมกับสังคมได  7. เพื่อใหมีความเมตตากรุณา และมีไมตรีจิตตอเพื่อนรวมโลก 2.3 กิจกรรมนักเรียน มาตรฐานชวงชั้น 1. เพื่อเสริมความรู และประสบการณเพิมเติมจากการเรียนวิชาตาง ๆ ่ 2. เพื่อใหรูจกและเขาใจตนเอง สามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมได ั 3. เพื่อเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ใหมีความรับผิดชอบ มีความสามัคคี 4. มีระเบียบวินัย มีความคิดริเริ่มสรางสรรค รูจักชวยเหลือผูอื่น และรูจักใชเวลาวางใหเปน ประโยชน 5. เพื่อใหมีความจงรักภักดีตอสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และเลื่อมใสใน การปกครอง  ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 8. ๘ วิสัยทัศน ( ลูกเสือ เนตรนารี ) ผูเรียนมีความเขมแข็ง สามารถพัฒนาทั้งทางกาย สติปญญา จิตใจและศีลธรรมโดยกระบวนการ ลูกเสือ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เปนกิจกรรมที่มุงปลูกฝงระเบียบวินัย กฎเกณฑ เพื่อการอยูรวมกัน ในสภาพชีวิตตาง ๆ นําไปสูพื้นฐานการทําประโยชนใหแกสังคม และชีวิตในระบอบประชาธิปไตย ซึ่ง กระบวนการจัด กิ จ กรรมลู ก เสือ เนตรนารี เปน ไปตามขอกํ า หนดคณะลู ก เสื อ แห งชาติ รวมทั้งให สอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยกําหนดหลักสูตรเปน 4 ระดับ ระดับละ 3 ชวงชั้น ดังนี้ ประเภทลูกเสือ ชั้นเรียน กิจกรรม วิชาพิเศษ ลูกเสือสํารอง ป. 1 เตรียมลูกเสือสํารอง ดาวดวงที่ 1 มี 18 วิชา ป. 2 ดาวดวงที่ 2 ใชวิธีบูรณาการเขากับกลุม ป. 3 ดาวดวงที่ 3 สาระการเรียนรู ลูกเสือสามัญ ป. 4 ลูกเสือตรี มี 54 วิชา ป. 5 ลูกเสือโท ใชวิธีบูรณาการเขากับกลุม ป. 6 ลูกเสือเอก สาระการเรียนรู ลูกเสือสามัญ ม. 1 ลูกเสือโลก มี 76 วิชา รุนใหญ ม. 2 ลูกเสือชั้นพิเศษ ใชวิธีบูรณาการเขากับกลุม ม. 3 ลูกเสือหลวง สาระการเรียนรู ลูกเสือวิสามัญ ม. 4 เตรียมลูกเสือวิสามัญ มี 11 วิชา (เปนกิจกรรมบังคับ) ม. 5 สํารวจตนเอง /เขาพิธีประจํากอง ใชเวลาเรียนในเวลาตามแต ม. 36 วิชาพิเศษ สถานศึกษาเปนผูจัด สัปดาหละ 2 คาบ โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 9. หลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ระดับประถมศึกษา จุดประสงค เพื่อใหผูเรียนพัฒนาทางกาย สติปญญา จิตใจ และศีลธรรมใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ ชวยสรางสรรคสังคมใหมีความเจริญกาวหนา ความสงบสุข และความมั่นคงของประเทศชาติ จึงตอง ปลูกฝงใหมีคณลักษณะ ดังนี้ ุ 1. มีความรูความเขาใจ สามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลูกเสือ 2. มีทักษะการสังเกต จดจํา การใชมือ การแกปญหา และทักษะ ในการทํางานรวมมือกับผูอื่น 3. มีความซื่อสัตยสุจริต มีความกลาหาญ อดทน เชื่อมั่นในตนเอง มีระเบียบวินัย มีความสามัคคี เห็นอกเห็นใจ มีความเสียสละ บําเพ็ญตนเพื่อสาธารณะประโยชน 4. มีการพัฒนาตนเองอยู เสมอสรางสรรคงานฝมือ สนใจ และ พัฒนาเรื่องของธรรมชาติ การวัดผลประเมินผลกิจกรรม ลูกเสือ – เนตรนารี การวัดผลประเมินผล ลูกเสือ – เนตรนารี มี 2 กิจกรรม คือ 1. กิจกรรมบังคับเปนการวัดผลและประเมินผล เพื่อใหลูกเสือ–เนตรนรี ผานชวงชั้นหรือจบ หลักสูตร โดยการเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและผานการประเมินผล ตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด และมีการวัดผลตลอดภาคเรียน โดยการ 1.1 สังเกต - ความสนใจ - การเขารวมกิจกรรม 1.2 การซักถาม 1.3 การทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบติ ั 2. วิชาพิเศษ เปนการวัดและประเมินผลในแตละวิชา โดยการทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติและใชเกณฑประเมินดังนี้ 2.1 ผาน ( ผ ) 2.2 ไมผาน ( มผ. ) โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 10. ๑๐ หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือสํารอง ความมุ ง หมายของการลู ก เสื อ สํ า รองคื อ เพื่ อ พั ฒ นาเด็ ก ในวั ย ลู ก เสื อ สํ า รองทั้ ง ในทางกาย สติปญญา จิตใจ และศิลธรรม โดยถือวาเปนสวนหนึ่งของแผนการฝกอบรมที่ตอเนื่องกันกับเด็ก ในวัย ตาง ๆ ที่อยูในขบวนการลูกเสือ แผนการฝ กอบรมลู ก เสือสํ า รองมีร ะดับสู งขึ้ น ตามวัยและสมรรถภาพของเด็ก แต ล ะคนแบ ง ออกเปน 3 ขั้น คือ ดาวดวงที่ 1 ดาวดวงที่ 2 และดาวดวงที่ 3 กับใหเด็กมีโอกาสไดรับเครื่องหมายวิชา พิเศษดังที่กําหนดไวในหลักสูตรนี้ดวย อนึ่ง ผูสมัครเปนลูกเสือสํารอง จะตองผานการทดสอบขั้นตนเพื่อ ขอรับเครื่องหมายลูกเสือสํารอง เมื่อไดรับเครื่องหมายลูกเสือสํารองแลว จึงจะนับวาเปนลูกเสือสํารอง โดยสมบูรณ นอกจากนี้ยังมีเครื่องหมายลูกเสือสัมพันธสําหรับลูกเสือสํารองที่จะพนวัยลูกเสือสํารอง และ พรอมที่จะสมัครเขาเปนลูกเสือสามัญตอไป แนวการจัดกิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารีสํารอง ในสถานศึกษา การจัดกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา ควรจัดใหมีการเปดประชุมกองทุกครั้งกอนที่จะมีการ ปฏิบัติกิจกรรม เพื่อเปนการฝกระเบียบวินัยในตนเอง โดยใหปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ 1. พิธีเปด ( แกรนดฮาวล ชักธงชาติขึ้น สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก ) 2. เกมหรือเพลง ทําใหเกิดความสนุกสนาน เปนการอบอุนรางกายกอนการปฏิบัติกิจกรรม อาจ ใชอยางใดอยางหนึ่ง หรือทังสองอยางก็ได ซึ่งบางครั้งไมจําเปนตองใหสอดคลองหรือสัมพันธกบเนื้อหา ้ ั เสมอไป 3. การปฏิบัตกิจกรรม เนนการปฏิบัติเปนฐาน โดยใชระบบหมูเพื่อสะดวกตอการเรียนการสอน ิ ตลอดจนการควบคุมดูแล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําแกไข 4. การเลาเรื่องสั้นที่เปนประโยชน ควรเนนเรื่องงาย ๆ และสรุปใหลกเสือเขาใจวามีประโยชน ู อยางไร สวนใหญจะเปนเรืองของคุณธรรมตาง ๆ เชนความสามัคคี ความซื่อสัตยสุจริต ความเสียสละ ่ ความกลาหาญ ฯลฯ 5. พิธีปด ( นัดหมาย ตรวจเครื่องแตงกาย แกรนดฮาวล ชักธงชาติลง เลิก ) โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 11. ๑๑ หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือสํารอง พ.ศ. ๒๕๒๒ ความมุงหมายของการลูกเสือสํารอง คือ เพื่อสงเสริมการพัฒนาเด็กในวัยลูกเสือสํารองทั้งในทาง กาย สติปญญา จิตใจ และศีลธรรม โดยถือวาเปนสวนสําคัญสวนหนึ่งของแผนการฝกอบรมที่ตอเนื่องกัน กับของเด็กในวัยตางๆที่อยูในขบวนการลูกเสือ  แผนการฝกอบรมลูกเสือสํารองมีระดับสูงขึ้นตามวัย และสมรรถภาพของเด็กแตละคนแบง ออกเปน๓ ชั้น คือ ดาวดวงที่ ๑ , ดาวดวงที่ ๒ และดาวดวงที่ ๓ กับใหเด็กมีโอกาสไดรบเครื่องหมายวิชา ั พิเศษดังทีกําหนดไวในหลักสูตรนี้ดวย อนึง ผูสมัครเปนลูกเสือสํารอง จะตองผานการทดสอบขั้นตนเพื่อ ่ ่ ขอรับเครื่องหมายลูกเสือสํารอง เมื่อไดรับเครื่องหมายลูกเสือสํารองแลว จึงจะนับวาเปนลูกเสือสํารอง โดยสมบูรณ นอกจากนี้ยังมีเครื่องหมายลูกเสือสัมพันธสําหรับลูกเสือสํารองที่จะพนวัยลูกเสือสํารอง และ พรอมที่จะสมัครเขาเปนลูกเสือสามัญตอไป หมวด ๑ เครื่องหมายลูกเสือสํารอง ลักษณะ ทําดวยผาสีกรมทา รูปไข ยาว ๔ ซม. กวาง ๓.๕ ซม. มีรูปหนาเสือและคําวา “ลูกเสือ” สี เหลืองขลิบริมสีกรมทา ติดที่อกเสื้อขางซายเหนือกระเปา หลักสูตรเตรียมลูกเสือสํารอง ๑. มีความรูเกียวกับนิยายเรืองเมาคลี และประวัติการเริ่มกิจการลูกเสือสํารอง ่ ่ ๒. รูจักการทําความเคารพเปนหมู (แกรนดฮาวล) และระเบียบแถวเบื้องตน ๓. รูจักการทําความเคารพเปนรายบุคคล การจับมือซาย และคติพจนของลูกเสือ ๔. รูจักคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง หมวด ๒ เครื่องหมายชันของลูกเสือสํารอง ้ ลูกเสือสํารองแบงออกเปน ๓ ชั้น คือ ดาวดวงที่ ๑, ดาวดวงที่ ๒ และดาวดวงที่ ๓ แตละชั้นมี กิจกรรม ๑๒ อยาง ซึ่งลูกเสือสํารองจะตองเรียนรูและสามารถปฏิบัติได โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 12. ๑๒ ดาวดวงที่ ๑ ลักษณะ เปนเครื่องหมายรูปดาว ๖ แฉก สีเงิน เสนผาศูนยกลาง ๑.๕ ซม. ติดที่ขางขวารูปหนาเสือ หมวก ๑ ดวง หลักสูตร ๑. อนามัย (ก) รูจักวิธและเหตุผลในการรักษาฟน มือ เทา และเล็บ ใหสะอาด ี (ข) รูจักวิธีหายใจอยางถูกตอง และรูจักวิธีปองกันโรคหวัดไมใหแพรออกไป (ค) แสดงวิธีปฏิบัติในเมื่อมีแผลถลอกเล็กนอยและเขาใจถึงความสําคัญในการที่จะขอความ ชวยเหลือจากผูใหญในเมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น ๒. ความสามารถในเชิงทักษะ (ก) ขวางและรับลูกบอลระหวาง ๒ คน ซึ่งอยูหางกันอยางนอย ๕ เมตร (๑๖ ฟุต) ใหได ๘ ครั้ง ใน ๑๐ ครั้ง (ข) ปฏิบัติกิจกรรมตอไปนีใหได ๒ อยาง คือ มวนหนา, กระโดดกบขามลูกเสือที่มีขนาดเดียวกัน ้ ได, ขึ้นตนไม หรือไตเชือกใหไดสูงอยางนอย ๓ เมตร (๑๐ ฟุต) ๓. การสํารวจ รูจักที่ตั้งของสถานบริการที่สําคัญในทองถิ่นใกลเคียง เชน วัด, โรงเรียน, สถานีตํารวจ, สถานี อนามัย, โรงพยาบาล, สํานักงานแพทย, สถานีดับเพลิง, โทรศัพท, ที่ทําการไปรษณียและเวลาเก็บจดหมาย  จากตูไปรษณีย, ที่จอดรถประจําทาง, สถานีรถไฟ, ที่จอดรถรับจางที่ใกลที่สุดและรูจักขอความชวยเหลือ  จากผูใหญ ตํารวจหรือหนวยดับเพลิง ๔. การคนหาธรรมชาติ เลือกสัตว, ตนไม, ปลา หรือนก อยางใดอยางหนึ่งที่ไดเคยเห็นและคนหาเรื่องราวเกียวกับสิ่ง ่ นั้นๆใหมากทีสุดเทาที่สามารถจะทําได ่ ๕. ความปลอดภัย (ก) เขาใจสาเหตุตางๆที่ทําใหเกิดอุบัตเิ หตุในบานและอันตรายที่เกิดจากไฟ (ข) รูจักและปฏิบัติตามกฎจราจรทางบก สําหรับผูเดินเทา ๖. บริการ (ก) รูจักเก็บรักษาเสื้อผาและรองเทาของตนใหสะอาดเรียบรอย (ข) รูจักจัดและเก็บทีนอนใหเรียบรอย ่ (ค) รูจักตมน้ํารอนและทําความสะอาดเครืองใชตางๆเมื่อใชแลว ่ ๗. ธงและประเทศตางๆ (ก) สามารถรองเพลงชาติ, เพลงสรรเสริญพระบารมี และรูจักวิธีปฏิบัติในเมื่อมีการบรรเลง โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 13. ๑๓ เพลงชาติ หรือเพลงสรรเสริญพระบารมี (ข) รูเรื่องราวเกี่ยวกับ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวรัชกาลปจจุบันพอสมควร ั (ค) รูประวัติธงชาติไทยโดยสังเขป กับรูสวนประกอบความหมายและวิธีชักธงชาติไทย (ง) รูจักธงคณะลูกเสือโลก และธงชาติของประเทศอื่นอีก ๒ ประเทศ ๘. การฝมือ ทําหุนจําลองหรือสิ่งของอยางงายๆจากเศษวัสดุ ๙. กิจกรรมกลางแจง เดินสะกดรอยตามเครื่องหมายที่กําหนดไว ๑๐. การบันเทิง แสดงเงียบตามลําพัง หรือกับเพื่อนลูกเสือสํารองอีกคนหนึ่ง ๑๑. การผูกเงื่อน (ก) ผูกเงื่อนพิรอด, เงื่อนขัดสมาธิ และรูจกวิธีใชเงื่อนดังกลาว ั (ข) รูจักวิธีเก็บเชือกอยางงายๆ ๑๒. คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง ปฏิบัติตามคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารองอยางดีทสุด ี่ ดาวดวงที่ ๒ ลักษณะ เปนเครื่องหมายรูปดาว ๖ แฉก สีเงิน เสนผาศูนยกลาง ๑.๕ ซม. ติดที่ขางซายรูปหนาเสือ หมวก หลักสูตร ๑. อนามัย (ก) รูจักความสําคัญของการนอนหลับสนิทในตอนกลางคืน (ข) แสดงวิธีปฏิบัติในกรณีทจมูกมีเลือดกําเดาออก ี่ (ค) รูจักความสําคัญของการขอความชวยเหลือจากผูใหญในเมื่อมีอุบติเหตุเกิดขึ้น ั ๒. ความสามารถในเชิงทักษะ (ก) วายน้ําไดไกล ๑๐ เมตร หรือ (ข) ภายในระยะเวลาอยางนอย ๓ เดือน โดยการฝกอยางสม่ําเสมอ สามารถปฏิบติ ั กิจกรรมตอไปนี้ใหดีขึ้น ๓ อยาง คือ ๑. กระโดดเชือกเทาชิดกันโดยแกวงเชือกดวยตนเองไปขางหนา ๑๕ ครั้ง ไปขางหลัง ๑๕ ครั้ง ๒. เดินทรงตัวบนไม หรือกําแพงอิฐมีความกวางไมเกิน ๑๓ ซม. (๕ นิ้ว) สูงประมาณ ๓๐ ซม. (๑ ฟุต) เปนระยะทางอยางนอย ๔.๕ เมตร (๑๕ ฟุต) โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 14. ๑๔ ๓. หงายมือทั้งสองจับราวไมสูงอยางนอยเทากับบั้นเอวของตน แลวมวนตัวไปขางหนาขามราว ไมนั้น ๔. เลี้ยงลูกบอลดวยเท าอยางเร็ว ออมเครื่องกีดขวางอยางนอย ๖ อยางในระยะทางไมเกิน ๑๘ เมตร (๒๐ หลา) ๓. การสํารวจ ไปเยือนสถานที่ในทองถิ่นทีนาสนใจแหงหนึ่งแลวกลับมารายงานวาไดพบเห็นอะไรบาง ่ ๔. การคนหาธรรมชาติ (ก) เพาะถัวงอก หรือเมล็ดพันธุพืชอยางอืนที่งอกงาย ่ ่ (ข) รูจักชนิดของอาหารที่พึงใหแกสัตวเลียง ้ ๕. ความปลอดภัย รูจักหลักแหงความปลอดภัยทางน้ํา ๖. บริการ (ก) สามารถจดจํา และสงขาวซึ่งประกอบดวยวันที่ ตัวเลข และชื่อตางๆ (ข) สามารถใชโทรศัพทสาธารณะ และสมุดโทรศัพทอยางถูกตอง (ค) ในกรณีทมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้น รูจักวิธติดตอสงขาวใหผูใหญหรือเจาหนาที่ทราบ ี่ ี ๗. ธงและประเทศตางๆ (ก) รูจักวิธีชักธงชาติขึ้นสูยอดเสา เชิญธงชาติลงและเก็บรักษาธงชาติใหเรียบรอยอยูในสถานที่  อันเหมาะสม (ข) สามารถเขียนภาพธงคณะลูกเสือโลก (ค) รูจักที่ตั้งและสามารถเขียนภาพธงชาติของประเทศอื่นๆรวม ๔ ประเทศ ๘. การฝมือ ทําสิ่งตอไปนี้อยางนอย ๒ อยาง (ก) วาว (ข) พับกระดาษหรือผาเปนรูปตางๆ เชน หมวก, ดอกบัว, กระทง, นก ฯลฯ (ค) ไมสูงสําหรับเดิน (ง) นาฬิกาแดด (จ) เข็มทิศจําลอง ๙. กิจกรรมกลางแจง (ก) กอไฟ และปรุงอาหารอยางใดอยางหนึ่งโดยใชไฟนั้น (ข) รูจักวิธีดับไฟ และทําสถานที่กอไฟใหสะอาดเรียบรอยเมื่อเสร็จงานแลว โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 15. ๑๕ ๑๐. การบันเทิง กระทํากิจกรรมตอไปนี้อยางนอย ๒ อยาง ตามลําพังหรือกับเพื่อนลูกเสือสํารองอีกคนหนึ่ง (ก) แสดงกล (ข) เลานิทานหรือทองกลอนหรือแสดงทาทางขบขัน (ค) รองเพลง (ง) เลนดนตรี (จ) แสดงการมวนตัวทาตางๆ ๑๑. การผูกเงื่อน (ก) ผูกเงื่อนบวงสายธนู, เงื่อนผูกกระหวัดไม และรูจกวิธีใชเงื่อนดังกลาว ั (ข) ทบทวนการผูกเงื่อนพิรอด และเงื่อนขัดสมาธิ ที่ไดเคยเรียนมาแลวตามหลักสูตรดาว ดวงที่ ๑ ๑๒. คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง แสดงวาไดพยายามปฏิบัติตามคําปฏิญาณ และกฎของลูกเสือสํารอง ดาวดวงที่ ๓ ลักษณะ เปนเครื่องหมายรูปดาว ๖ แฉก สีเงิน เสนผาศูนยกลาง ๑.๕ ซม. ติดที่หนาหมวกใตรูป หนาเสือระหวางกลางดาวดวงที่๑ และดาวดวงที่ ๒ หลักสูตร ๑. อนามัย (ก) รูจักความสําคัญของการขอความชวยเหลือจากผูใหญในเมื่อมีอุบติเหตุเกิดขึ้น ั (ข) จัดทําถุงหรือที่เก็บอุปกรณปจจุบนพยาบาลสําหรับตนเอง และเพื่อนําติดตัวไปเมือมี ั ่ การเดินทางออกไปนอกสถานที่ (ค) รูจักวิธีปฏิบัติเมื่อถูกแมลงกัดหรือตอย (ง) รูจักวิธีปฏิบัติอยางงายๆในเมื่อถูกไฟไหมหรือน้ํารอนลวก ๒. ความสามารถในเชิงทักษะ (ก) วายน้ําไดไกล ๒๕ เมตร หรือ (ข) ภายในระยะเวลาอยางนอย ๓ เดือน โดยการฝกอยางสม่ําเสมอ สามารถปฏิบัติ กิจกรรมตอไปนี้ใหดีขึ้น ๓ อยาง คือ ๑. วิ่ง ๕๐ เมตร ๒. วิ่งหรือยืนกระโดดไกล ๓. ขวางลูกบอลไกลพอสมควร ๔. กระโดดขามรั้วหรือเครื่องกีดขวาง สูงไมเกินบั้นเอวของตน โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 16. ๑๖ ๓. การสํารวจ (ก) เขาใจวิธีดนาฬิกา และสามารถนับเวลา ๒๔ ชั่วโมง ู (ข) วางแผนรวมกับผูกํากับเกี่ยวกับการเดินทาง และคาใชจายสําหรับกอง หรือหมูลูกเสือสํารอง ในการออกไปนอกสถานที่พรอมผูกํากับ ๔. การคนหาธรรมชาติ แสดงความสนใจและเขาใจเรื่องราวตางๆเกี่ยวกับธรรมชาติในบางประการ โดยจัดทําสมุดภาพ หรือสะสมสิ่งของตางๆ เชน สภาพดินฟาอากาศชายทะเล แมลง ทองฟาในตอนกลางคืน สิ่งที่มีชีวิตใน สระน้ํา ฯลฯ ๕. ความปลอดภัย (ก) รูจักกฎจราจร (ข) โดยการทําเปนตัวอยาง นําลูกเสือสํารองที่อายุนอยกวา ใหรูจักความปลอดภัยในการใชถนน (ค) อธิบายถึงสิ่งที่ควรทําเมื่อทิ้งบานไวโดยไมมีคนอยู ๖. บริการ ดวยความชวยเหลือของผูกํากับ วางแผนและดําเนินการใหบริการแกผอื่น โดยตนเองหรือรวมกับ ู เพื่อนลูกเสือสํารองอื่น ๗. ธงและประเทศตางๆ (ก) รูจักธงลูกเสือประเภทตางๆ ธงลูกเสือประจําจังหวัด และธงคณะลูกเสือแหงชาติ (ข) รูจักที่ตั้ง และสามารถเขียนภาพธงชาติของประเทศอื่นๆรวม ๘ ประเทศ ๘. การฝมือ (ก) ประดิษฐสิ่งของจากเศษวัสดุที่เปนไม โลหะหรือวัสดุอยางอื่นโดยใชเครื่องมือที่เหมาะสม (ข) รูจักวิธีใช และรักษาเครื่องมือตอไปนีคือ มีดพับ, กรรไกร, คอน, เลื่อย และไขควง ้ ๙. กิจกรรมกลางแจง (ก) รูจักทิศทั้ง ๘ และวิธีอานเข ็มทิศ (ข) สามารถหาเสนทางในระยะประมาณ ๔๐๐ เมตร โดยใชเข็มทิศ ๑๐. การบันเทิง เลือกกระทํากิจกรรมตอไปนี้อยางใดอยางหนึ่ง (ก) จัดและเขารวมในการแสดงละครกับเพือนลูกเสือสํารองอื่น ่ (ข) จัดใหมการรองเพลงหรือฟอนรําโดยมีดนตรีประกอบ ี (ค) ทําหุนและเชิดหุนเรื่องสั้นๆกับเพื่อนลูกเสือสํารองอื่น โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 17. ๑๗ ๑๑. การผูกเงื่อน (ก) ผูกเงื่อนบวงสายธนู และสาธิตวิธีใช ๑. ผูกรอบตัวเอง ๒. ผูกรอบตัวคนอื่น ๓. ผูกเปนหวงเพื่อโยนใหคนอื่น (ข) ผูกเงื่อนกระหวัดไม ๒ ชั้น (ค) ขดเชือกยาวหรือสายยางเสนหนึ่งใหเรียบรอย (ง) ทบทวนการผูกเงื่อนตางๆที่ไดเคยเรียนมาแลวตามหลักสูตรดาวดวงที่ ๑ และที่ ๒ ๑๒. คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง ทบทวนคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง กับเขาใจความหมายของคําปฏิญาณและกฎแจม แจงกวาแตกอน และแสดงวาไดใชความพยายามอยางแทจริงในการปฏิบัติตามคําปฏิญาณและกฎของ ลูกเสือสํารองตลอดเวลา หมวด ๓ เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือสํารอง เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือสํารอง มุงหมายที่จะใหการฝกอบรมที่สูงขึ้นในกิจกรรมทั้ง ๑๒ เรื่องดังที่กําหนดไวในหลักสูตรลูกเสือสํารองสําหรับดาวดวงที่ ๑-๓ กับทั้งเพื่อใหลูกเสือสํารองมีโอกาส ไดรับการฝกอบรมเปนพิเศษในกิจกรรมตางๆที่มิไดกําหนดไวสําหรับดาวดวงที่ ๑-๓ เครื่องหมายวิชา พิเศษสวนใหญซึ่งมีภาพอันเปนสัญลักษณ แสดงถึงทักษะของแตละวิชาประกอบดวยพื้นสีแดงโดยเฉพาะ เครื่องหมายวิชาพิเศษ ประเภทนักกรีฑา และนักวายน้า มีขอกําหนดตางๆแบงออกเปน ๓ ขั้น พื้นสี ํ ตางกันดังทีไดบรรยายไวใตหัวขอเรื่องเครืองหมายวิชาพิเศษของทั้ง ๒ประเภทนั้นแลวเครื่องหมายวิชา ่ ่ พิเศษประเภทนักจักรยานสองลอ และนักวายน้ํา ซึ่งเกี่ยวของกับความปลอดภัยของลูกเสือสํารองนั้น ลูกเสือสํารองอาจสมัครเขาทดสอบเมื่อใดก็ได ภายหลังที่ไดเขาประจํากองเปนลูกเสือสํารองโดยสมบูรณ แลว นอกจากนั้นในระหวางที่กําลังศึกษาตามหลักสูตรสําหรับดาวดวงที่ ๑-๓ แตละชั้นลูกเสือสํารองอาจ เลือกเรียนวิชาพิเศษใดๆก็ได ชั้นละ ๒ วิชา สวนลูกเสือสํารองที่ไดดาวดวงที่ ๓ อาจเลือกเรียนวิชาพิเศษ ไดทุกวิชา โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 18. ๑๘ ๑. จิตรกร เลือกทําเรื่องตอไปนี้ ๓ เรื่อง ๑. เขียนภาพตามความนึกคิดของตน ตอหนากรรมการ ดวยดินสอพูกัน หรือปากกา แสดงถึง เหตุการณ บุคคล หรือสถานที่ ตามเรื่องงายๆที่กรรมการเลาใหฟง ขนาดของภาพตองไมเล็กกวา ๑๘x๑๓ ซม. (๗x๕ นิ้ว) ๒. ออกแบบและทําบัตรอวยพร ๑ บัตร ๓. ทําหุนจําลองดวยดินเหนียว ดินน้ํามัน หรือวัสดุอยางอื่นขนาดไมเล็กกวา ๑๐ ซม. (๔ นิ้ว) สี่เหลี่ยมจัตุรัส ๔. ทําสิ่งของประเภทสวยงามดวยหวาย ไมไผ หนัง ไม ลวด ผาฝายผาไหม หรือวัสดุที่เหมาะสม อยางอื่น โดยไดรับความเห็นชอบลวงหนาจากกรรมการแลว ๕. แกะแบบพิมพ (เชนใชมนเทศ หรือวัสดุอยางอื่น) แลวพิมพลงบนกระดาษหรือผา ั ๖. ทําเครื่องเลนที่ใชประโยชนไดขนาดโตพอสมควร ๒. นักกรีฑา เครื่องหมายนีมี ๓ ชั้นเมื่อทําไดถึงมาตรฐานดังที่กําหนดไวสําหรับชันใดชั้นหนึ่ง จะไดรับ ้ ้ เครื่องหมายวิชาพิเศษดังนี้ ขั้นตน - พื้นสีแดง ขั้นกลาง - พื้นสีเหลือง ขั้นสูง - พื้นสีเขียว การประดับเครื่องหมายนี้ ใหประดับไดเพียงอยางเดียว ทุกคนตองกระทําทั้ง ๔ ประเภท ผูที่ไดคะแนนรวม ๒๔-๒๙ คะแนน ถือวาไดขั้นตน ไดคะแนน รวม ๓๐-๓๓ คะแนน ถือวาไดขั้นกลาง ไดคะแนนรวม ๓๔-๔๐ คะแนน ถือวาไดขั้นสูง ๑. วิ่ง ๕๐ เมตร ๕ คะแนน ๗ คะแนน ๑๐ คะแนน ๑๑ วินาที ๑๐ วินาที ๙ วินาที ๒. ขวางลูกเทนนิส ๕ คะแนน ๗ คะแนน ๑๐ คะแนน๑๘ เมตร ๒๔ เมตร ๓๐ เมตร ๓. กระโดดสูง ๕ คะแนน ๗ คะแนน ๑๐ คะแนน๐.๗๖ เมตร ๐.๘๖ เมตร ๐.๙๖ เมตร ๔. กระโดดไกล ๕ คะแนน ๗ คะแนน ๑๐ คะแนน๒ เมตร ๒.๕ เมตร ๓ เมตร โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 19. ๑๙ ๓. นักอานหนังสือ ๑. ทําบัญชีหนังสือที่ไดอานมาแลวในรอบประบุชื่อผูแตง และสามารถเลาเรื่องจากหนังสือ ๓ เลมใหกรรมการฟง หนังสือ ๓ เลมนี้ใหลูกเสือเลือกเองอยางนอยเลมหนึ่งจะตองเปนนิทานและอีกเลม หนึ่งเปนสารคดีหนังสือทั้ง ๓ เลมดังกลาว ตองมีมาตรฐานดีพอสมควร โดยคํานึงถึงวัย และพัฒนาการของลูกเสือ ๒. แสดงใหเห็นวาเขาใจวิธีรกษาหนังสือใหอยูในสภาพอันดี ั ๓. แสดงใหเห็นวาสามารถใชพจนานุกรมและสมุดแผนที่ ๔. อธิบายใหกรรมการทราบถึงวิธีจัดหนังสือในหองสมุด และวิธีที่จะหาหนังสือเลมหนึ่งตามที่ กําหนดใหจากหองสมุด ๔. นักจักรยานสองลอ ๑. เปนเจาของ หรือมีจักรยานสองลอคันหนึ่งขนาดพอเหมาะสมสําหรับใชเปนประจํา ๒. สามารถขึ้นลงรถจักรยาน ไดอยางเรียบรอย ๓. สามารถทําความสะอาด หยอดน้ํามันเครื่องและสูบลมยางรถจักรยาน ๔. เขาใจความจําเปนในการรักษารถจักรยาน ใหอยูในสภาพอันดีสําหรับการขับขี่ไปตามถนน ๕. เขาใจความจําเปนในการใสกุญแจรถจักรยานเมื่อปลอยทิ้งไวโดยไมมีผูดูแล ๖. เขาใจวิธีปะยางที่มีรูรั่วและสามารถชวยผูอื่นได ๗. ภายใตการควบคุม ขี่จักรยานไปตามระยะทางทีกําหนด และแสดงวามีความรูในการใช ่ สัญญาณตางๆกับปฏิบัติตามกฎจราจรไดอยางถูกตอง (ระยะทางที่กําหนดนั้น ถาสามารถทําไดควร ประกอบดวยทางสี่แยก ทางคนเดินเทาขามถนน การเลี้ยวขวา และการเลี้ยวกลับหลัง) ๕. นักแสดงการบันเทิง ใหเลือกปฏิบติหมวดละหนึงอยาง ตอไปนี้ ั ่ หมวด ก. ๑. แตงบทละครพูดเรื่องหนึง และจัดใหมการแสดงเรื่องนั้น ่ ี ๒. ทําหนาที่ผกํากับเวที สําหรับการแสดงการบันเทิงของกองลูกเสือสํารอง ู โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 20. ๒๐ หมวด ข. ๑. จัดใหเด็กกลุมหนึ่งรองเพลง ๑ เพลง ๒. แสดงนําเด็กกลุมหนึ่งใหรําวงหรือฟอนรําพื้นเมือง ๓. ประดิษฐเครื่องดนตรีหรือเครื่องใหจังหวะอยางงายๆ แลวใชเครื่องนั้นประกอบการรองเพลง ๑ เพลง หมวด ค. ๑. รองเพลงพื้นเมือง ๒ เพลง ๒. แสดงกล ๓ อยาง ๓. เลาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ใชเวลาอยางนอย ๕ นาที ๔. เลนดนตรีอยางงายๆ ๑ เพลง ๕. แสดงการมวนตัวทาตางๆ หมายเหตุ การแสดงการบันเทิงอื่นๆที่มีมาตรฐานพอทัดเทียมกัน ถากรรมการยอมรับกอนเริ่มแสดง ก็นับวาใชได ๖. นักสํารวจ ๑. อธิบายใหกรรมการทราบถึงการเตรียมงานที่จําเปนสําหรับการเดินทางไปสํารวจในชนบทเปน เวลา ๑ วัน เชน คาใชจายในการเดินทาง เสื้อผาที่เหมาะสม รองเทา เครื่องใชในการปฐมพยาบาลและ อาหาร ๒. เขารวมในการเดินทางไปสํารวจของกองลูกเสือสํารอง ๒ ครั้ง ซึ่งครั้งหนึ่งตองเปนการ เดินทางไปสํารวจนอกสถานที่โดยตลอด ๓. สรางที่พักอยางงายๆ ๑ หลัง โดยใชวสดุธรรมชาติ ั ๔. กอไฟกลางแจงและใชกาหรือหมอตมน้ารอน ํ ๕. หาทางไปยังสถานที่แหงหนึ่งในเมืองหรือชนบทไกล ๑ กม. โดยปฏิบัติตามคําชี้แจงที่ กรรมการกําหนดให (ดวยการบอกทิศทางตามเข็มทิศเครื่องหมายบนพื้นดินหรือขางทาง วัตถุอันเปนที่ หมาย หรือสิ่งตางๆเหลานี้รวมกัน) โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 21. ๒๑ ๗. นักปฐมพยาบาล ๑. รูจักขอบเขตของการปฐมพยาบาล และความจําเปนทีจะตองขอความชวยเหลือจากผูใหญ ่ ๒. รูจักวิธีหามโลหิต โดยใชนิ้วมือกดลงบนบาดแผล ๓. รูจักความสําคัญของการรักษาความสะอาด และสาธิตวิธีแตงแผลที่ถูกของมีคมบาดเล็กนอย และแผลถลอก โดยใชผากอซและผาพันแผลชนิดมวนรูจักใชและเอาผายาปดแผลออก  ๔. สาธิตวิธีใชผาสามเหลี่ยมสําหรับคลองแขน และพันแผลที่หัวเขา ๕. สาธิตวิธีทําใหคนไขรูสึกสบาย ๖. รูจักสาเหตุธรรมดาที่ทําใหเกิดไฟลวก น้ํารอนลวก และวิธีปองกันรูจักวิธีดับไฟที่ไหมผา ตลอดจนวิธีรกษาบาดแผลที่เกิดจากไฟลวกและน้ํารอนลวกอยางงายๆ ั ๘. นักสารพัดชาง ๑. รูจักวิธีปฏิบัติเมื่อทอน้ําประปาแตก หรือทอแกสรั่ว กับรูจักวิธีปฏิบัติเมื่อตองมีการตัด กระแสไฟฟา และรูจักวิธีปดสวิตซรวมสายไฟในบาน ๒. รูจักวิธีปฏิบัติเมื่อเกิดไฟไหม ๓. ประดิษฐสงของที่มีประโยชนสําหรับใชในคูหาลูกเสือสํารอง หรือที่บาน ิ่ ๔. สาธิตการใชและวิธีรักษาเครื่องมือตอไปนี้ คือ คอน เลื่อย ไขควง ประแจปากตาย คีมปากคีบ ๕. ทํากรงเลี้ยงนก หรือทําที่ใหอาหารนก แลววางไวในที่อันเหมาะสม ๖. สาธิตวิธีเตรียมและทาสีผนัง กับทําความสะอาดแปรงทาสีที่ใชแลว ๙. งานอดิเรก แสดงความสนใจตอเนื่องกัน ในงานอดิเรกอยางหนึ่ง เปนระยะเวลาอยางนอย ๓ เดือน สามารถ สาธิตและสนทนากับกรรมการในเรื่องงานอดิเรกนันดวย ้ หมายเหตุ งานอดิเรกที่เหมาะสม อาจเปนเรื่องการสะสม เลนหมากรุกรองเพลง เลนดนตรี ฯลฯ โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓
  • 22. ๒๒ ๑๐. การชวยเหลืองานบาน ๑. ตมขาวตม หุงขาวหรือนึ่งขาว ตมหรือทอดไข ทํากับขาวอยางอื่นอยางนอย ๑ อยาง ๒. จัดที่รับประทานอาหาราและเลี้ยงอาหารอยางนอย ๓ คน (อาจทําพรอมกับขอ ๑ ขางตน) ๓. ทําความสะอาดถวยชามภายหลังการรับประทานอาหาร และแสดงวิธีจัดการกับภาชนะหุงตม มีด ถวยแกว ฯลฯ ๔. ซักและรีดผาผูกคอลูกเสือของตน ๕. ติดกระดุมหรือเครื่องหมายลูกเสือกับเสื้อเครื่องแบบ ๖. จัดปูและเก็บที่นอน ๗. ทําความสะอาดหนาตางและเครื่องใชที่เปนโลหะ ๘. ทําความสะอาดและจัดหองใหเรียบรอย ๑๑. นักอานแผนที่ ๑. รูจักเครื่องหมายสําคัญตางๆที่ใชในการทําแผนที่ทองถิ่น สามารถชี้แผนที่วาบานของตนและ ที่ตั้งกองลูกเสืออยูที่ไหน อธิบายถึงความสําคัญของสถานที่ตางๆในทองถิ่นที่ปรากฏในแผนที่ ๒. ทําหุนจําลองตามมาตราสวนเนินเขาสูง ๘๕ เมตร (๒๕๐ ฟุต) โดยแสดงความสูงต่ําของ แผนดินเปนชันๆ ชั้นละ ๑๗ เมตร (๕๐ ฟุต) ้ ๓. เขาใจทุกสิงทุกอยางในขอ ๑ และขอ ๒ สามารถอธิบายใหกรรมการเขาใจวาเห็นอะไรบาง ่ ตามถนนระยะทาง ๕ กม. (๓ ไมล) โดยดูจากแผนที่สังเขป ๔. รูจักวางแผนที่ใหถูกทิศและรูวิธีใชเข็มทิศ ๕. อานแผนทีประเทศไทย รูจักที่ตั้งของจังหวัดตางๆตลอดจนชื่อของแมนํ้าและภูเขาที่สําคัญ ่ ๑๒. นักธรรมชาติศึกษา เลือกทําเพียง ๒ ขอตอไปนี้ ๑. (ก) ศึกษา และทําสมุดบันทึกเปนระยะเวลาอยางนอย ๑ เดือนเกี่ยวกับสิ่งตางๆตอไปนี้ ๓ อยาง ตนไมและไมพุม สิ่งที่เปนประโยชนและศัตรูของสวนดอกไมปา ตนเฟนหรือหญา หรือพืชอยางอืน ่ โรงเรียนวัดแดง สพท. นศ. ๓