SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การเขียนแผนผังความคิด หรือแผนที่ความคิด(Mind Map)
  (เพื่อเสริมสร้างทักษะในการวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ข้อมูล อันเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
                        จัดระเบียบความคิด จำาได้ทนนานนักแล....)

                              ………………………………………

          Mind Map คืออะไร ? Mind Map คือ การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่
ในสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมทีเป็นบรรทัด   ่
ๆ เรียงจากบนลงล่าง ขณะเดียวกันมันก็ช่วยเป็นสื่อนำาข้อมูลจากภายนอก เช่น หนังสือ คำา
บรรยาย การประชุม ส่งเข้าสมองให้เก็บรักษาไว้ได้ดีกว่าเดิม ซำ้ายังช่วยให้เกิดความคิด
สร้างสรรค์ได้ง่ายเข้า เนื่องจะเห็นเป็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองให้เชื่อมโยงต่อข้อมูล
หรือ ความคิดต่าง ๆ เข้าหากันได้ง่ายกว่า
          “ใช้แสดงการเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งระหว่างความคิดหลัก ความคิด
รอง และความคิดย่อยทีเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน” ผังความคิด (Mind Map)
                        ่




 “ใช้แสดงการเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งระหว่างความคิดหลัก ความคิดรอง และ
                          ความคิดย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน”

ลักษณะการเขียนผังความคิด เทคนิคการคิดคือ นำาประเด็นใหญ่ ๆ มาเป็นหลัก แล้วต่อด้วย
ประเด็นรองในชั้นถัดไป
2




การสร้าง แผนที่ความคิด หรือ       Mind Map
             ขันตอนการสร้าง Mind Map
               ้
1.   เขียน/วาดมโนทัศน์หลักตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ
2.   เขียน/วาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์หลักไปรอบ ๆ
3.   เขียน/วาดมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่อย ๆ
4.   ใช้ภาพหรือสัญลักษณ์สื่อความหมายเป็นตัวแทนความคิดให้มากที่สุด
5.   เขียนคำาสำาคัญ (Key word) บนเส้นและเส้นต้องเชื่อมโยงกัน
6.   กรณีใช้สี ทั้งมโนทัศน์รองและย่อยควรเป็นสีเดียวกัน
7.   คิดอย่างอิสระมากที่สุดขณะทำา
3


เขียนคำาหลัก หรือข้อความสำาคัญของเรื่องไว้กลาง โยงไปยังประเด็นรองรอบ ๆ ตามแต่ว่าจะมีกี่
                                        ประเด็น




กฏการสร้าง    Mind Map
1. เริ่มด้วยภาพสีตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ
2. ใช้ภาพให้มากที่สุดใน Mind Map ของคุณ ตรงไหนที่ใช้ภาพได้ให้ใช้ก่อนคำา หรือรหัส
เป็นการช่วยการทำางานของสมอง ดึงดูดสายตา และช่วยความจำา
3. ควรเขียนคำาบรรจงตัวใหญ่ๆ ถ้าเป็นภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ จะช่วยให้เราสามารถ
ประหยัดเวลาได้ เมื่อย้อนกลับไปอ่านอีกครั้ง
4. เขียนคำาเหนือเส้นใต้ แต่ละเส้นต้องเชื่อมต่อกับเส้นอื่นๆ เพื่อให้ Mind Map มีโครงสร้าง
พื้นฐานรองรับ
5. คำาควรมีลักษณะเป็น "หน่วย" เปิดทางให้ Mind Map คล่องตัวและยืดหยุ่นได้มากขึ้น
6. ใช้ สี ทั่ว Mind Map เพราะสีช่วยยกระดับความคิด เพลินตา กระตุ้นสมองซีกขวา
7. เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ควรปล่อยให้สมองคิดมีอิสระมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
4




วิธีการเขียน Mind Map โดยละเอียดอีกวิธีหนึ่ง
1.เตรียมกระดาษเปล่าที่ไม่มีเส้นบรรทัดและวางกระดาษภาพแนวนอน

2.วาดภาพสีหรือเขียนคำาหรือข้อความที่สื่อหรือแสดงถึงเรื่องจะทำา Mind Map กลาง        หน้า
กระดาษ โดยใช้สีอย่างน้อย 3 สี และต้องไม่ตีกรอบด้วยรูปทรงเรขาคณิต
3.คิดถึงหัวเรื่องสำาคัญที่เป็นส่วนประกอบของเรื่องที่ทำา Mind Map โดยให้เขียนเป็นคำา ที่มี
ลักษณะเป็นหน่วย หรือเป็นคำาสำาคัญ (Key Word) สั้น ๆ ที่มีความหมาย บนเส้น ซึ่งเส้นแต่ละ
เส้นจะต้องแตกออกมาจากศูนย์กลางไม่ควรเกิน 8 กิ่ง
4.แตกความคิดของหัวเรื่องสำาคัญแต่ละเรื่องในข้อ 3 ออกเป็นกิ่ง ๆ หลายกิ่ง โดยเขียนคำาหรือ
วลีบนเส้นที่แตกออกไป ลักษณะของกิ่งควรเอนไม่เกิน 60 องศา
5.แตกความคิดรองลงไปที่เป็นส่วนประกอบของแต่ละกิ่ง ในข้อ 4 โดยเขียนคำาหรือวลีเส้นที่
แตกออกไป ซึ่งสามารถแตกความคิดออกไปเรื่อยๆ
6.การเขียนคำา ควรเขียนด้วยคำาที่เป็นคำาสำาคัญ (Key Word) หรือคำาหลัก หรือเป็นวลีที่มีความ
หมายชัดเจน
7.คำา วลี สัญลักษณ์ หรือรูปภาพใดที่ต้องการเน้น อาจใช้วิธีการทำาให้เด่น เช่น การล้อมกรอบ
หรือใส่กล่อง เป็นต้น
8. ตกแต่ง Mind Map ที่เขียนด้วยความสนุกสนานทั้งภาพและแนวคิดที่เชื่อมโยงต่อกัน

การนำาไปใช้
1.   ใช้ระดมพลังสมอง
2.   ใช้นำาเสนอข้อมูล
3.   ใช้จัดระบบความคิดและช่วยความจำา
4.   ใช้วิเคราะห์เนื้อหาหรืองานต่าง ๆ
5.   ใช้สรุปหรือสร้างองค์ความรู้

                                    สรุปและสังเคราะห์โดย...คุณครูขวัญกมล จางวิริยะ
5

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Was ist angesagt? (8)

หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
work1 M3/1 3-4
work1 M3/1 3-4work1 M3/1 3-4
work1 M3/1 3-4
 

Ähnlich wie หลักการเขียนแผนภูมิความคิด

โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาJar 'zzJuratip
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาmelody_fai
 
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อSuwichaPanyakhai
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงานcroowut
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานsa_jaimun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Minister's Priest
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
1 โครงงานคอมพิวเตอร์
1 โครงงานคอมพิวเตอร์1 โครงงานคอมพิวเตอร์
1 โครงงานคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
แบบเสนอโครงร่างการวิจัย
แบบเสนอโครงร่างการวิจัยแบบเสนอโครงร่างการวิจัย
แบบเสนอโครงร่างการวิจัยRocco COke
 

Ähnlich wie หลักการเขียนแผนภูมิความคิด (16)

Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
Mind Map How to
Mind Map How toMind Map How to
Mind Map How to
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
6 mind map-1
6 mind map-16 mind map-1
6 mind map-1
 
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
(วัสดุกราฟฟิค)สื่อ
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
1 โครงงานคอมพิวเตอร์
1 โครงงานคอมพิวเตอร์1 โครงงานคอมพิวเตอร์
1 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
แบบเสนอโครงร่างการวิจัย
แบบเสนอโครงร่างการวิจัยแบบเสนอโครงร่างการวิจัย
แบบเสนอโครงร่างการวิจัย
 
การออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิลการออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิล
 

Mehr von สนุกคิด กับวิทยาศาสตร์

Mehr von สนุกคิด กับวิทยาศาสตร์ (12)

เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1
 
เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1
 
แบบฝึกหัดเรื่องสาร
แบบฝึกหัดเรื่องสารแบบฝึกหัดเรื่องสาร
แบบฝึกหัดเรื่องสาร
 
Topic 1
Topic 1Topic 1
Topic 1
 
Science
ScienceScience
Science
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
ลักษณะนิสัยของนักวิทยาศาสตร์
ลักษณะนิสัยของนักวิทยาศาสตร์ลักษณะนิสัยของนักวิทยาศาสตร์
ลักษณะนิสัยของนักวิทยาศาสตร์
 
Form of eis lesson procedure
Form of eis  lesson procedureForm of eis  lesson procedure
Form of eis lesson procedure
 
Science scientificmethod upperelem
Science scientificmethod upperelemScience scientificmethod upperelem
Science scientificmethod upperelem
 
Classroom english of eis training
Classroom english of eis trainingClassroom english of eis training
Classroom english of eis training
 
Science scientificmethod upperelem
Science scientificmethod upperelemScience scientificmethod upperelem
Science scientificmethod upperelem
 

หลักการเขียนแผนภูมิความคิด

  • 1. การเขียนแผนผังความคิด หรือแผนที่ความคิด(Mind Map) (เพื่อเสริมสร้างทักษะในการวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ข้อมูล อันเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ จัดระเบียบความคิด จำาได้ทนนานนักแล....) ……………………………………… Mind Map คืออะไร ? Mind Map คือ การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ ในสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมทีเป็นบรรทัด ่ ๆ เรียงจากบนลงล่าง ขณะเดียวกันมันก็ช่วยเป็นสื่อนำาข้อมูลจากภายนอก เช่น หนังสือ คำา บรรยาย การประชุม ส่งเข้าสมองให้เก็บรักษาไว้ได้ดีกว่าเดิม ซำ้ายังช่วยให้เกิดความคิด สร้างสรรค์ได้ง่ายเข้า เนื่องจะเห็นเป็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองให้เชื่อมโยงต่อข้อมูล หรือ ความคิดต่าง ๆ เข้าหากันได้ง่ายกว่า “ใช้แสดงการเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งระหว่างความคิดหลัก ความคิด รอง และความคิดย่อยทีเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน” ผังความคิด (Mind Map) ่ “ใช้แสดงการเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งระหว่างความคิดหลัก ความคิดรอง และ ความคิดย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน” ลักษณะการเขียนผังความคิด เทคนิคการคิดคือ นำาประเด็นใหญ่ ๆ มาเป็นหลัก แล้วต่อด้วย ประเด็นรองในชั้นถัดไป
  • 2. 2 การสร้าง แผนที่ความคิด หรือ Mind Map ขันตอนการสร้าง Mind Map ้ 1. เขียน/วาดมโนทัศน์หลักตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ 2. เขียน/วาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์หลักไปรอบ ๆ 3. เขียน/วาดมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่อย ๆ 4. ใช้ภาพหรือสัญลักษณ์สื่อความหมายเป็นตัวแทนความคิดให้มากที่สุด 5. เขียนคำาสำาคัญ (Key word) บนเส้นและเส้นต้องเชื่อมโยงกัน 6. กรณีใช้สี ทั้งมโนทัศน์รองและย่อยควรเป็นสีเดียวกัน 7. คิดอย่างอิสระมากที่สุดขณะทำา
  • 3. 3 เขียนคำาหลัก หรือข้อความสำาคัญของเรื่องไว้กลาง โยงไปยังประเด็นรองรอบ ๆ ตามแต่ว่าจะมีกี่ ประเด็น กฏการสร้าง Mind Map 1. เริ่มด้วยภาพสีตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ 2. ใช้ภาพให้มากที่สุดใน Mind Map ของคุณ ตรงไหนที่ใช้ภาพได้ให้ใช้ก่อนคำา หรือรหัส เป็นการช่วยการทำางานของสมอง ดึงดูดสายตา และช่วยความจำา 3. ควรเขียนคำาบรรจงตัวใหญ่ๆ ถ้าเป็นภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ จะช่วยให้เราสามารถ ประหยัดเวลาได้ เมื่อย้อนกลับไปอ่านอีกครั้ง 4. เขียนคำาเหนือเส้นใต้ แต่ละเส้นต้องเชื่อมต่อกับเส้นอื่นๆ เพื่อให้ Mind Map มีโครงสร้าง พื้นฐานรองรับ 5. คำาควรมีลักษณะเป็น "หน่วย" เปิดทางให้ Mind Map คล่องตัวและยืดหยุ่นได้มากขึ้น 6. ใช้ สี ทั่ว Mind Map เพราะสีช่วยยกระดับความคิด เพลินตา กระตุ้นสมองซีกขวา 7. เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ควรปล่อยให้สมองคิดมีอิสระมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
  • 4. 4 วิธีการเขียน Mind Map โดยละเอียดอีกวิธีหนึ่ง 1.เตรียมกระดาษเปล่าที่ไม่มีเส้นบรรทัดและวางกระดาษภาพแนวนอน 2.วาดภาพสีหรือเขียนคำาหรือข้อความที่สื่อหรือแสดงถึงเรื่องจะทำา Mind Map กลาง หน้า กระดาษ โดยใช้สีอย่างน้อย 3 สี และต้องไม่ตีกรอบด้วยรูปทรงเรขาคณิต 3.คิดถึงหัวเรื่องสำาคัญที่เป็นส่วนประกอบของเรื่องที่ทำา Mind Map โดยให้เขียนเป็นคำา ที่มี ลักษณะเป็นหน่วย หรือเป็นคำาสำาคัญ (Key Word) สั้น ๆ ที่มีความหมาย บนเส้น ซึ่งเส้นแต่ละ เส้นจะต้องแตกออกมาจากศูนย์กลางไม่ควรเกิน 8 กิ่ง 4.แตกความคิดของหัวเรื่องสำาคัญแต่ละเรื่องในข้อ 3 ออกเป็นกิ่ง ๆ หลายกิ่ง โดยเขียนคำาหรือ วลีบนเส้นที่แตกออกไป ลักษณะของกิ่งควรเอนไม่เกิน 60 องศา 5.แตกความคิดรองลงไปที่เป็นส่วนประกอบของแต่ละกิ่ง ในข้อ 4 โดยเขียนคำาหรือวลีเส้นที่ แตกออกไป ซึ่งสามารถแตกความคิดออกไปเรื่อยๆ 6.การเขียนคำา ควรเขียนด้วยคำาที่เป็นคำาสำาคัญ (Key Word) หรือคำาหลัก หรือเป็นวลีที่มีความ หมายชัดเจน 7.คำา วลี สัญลักษณ์ หรือรูปภาพใดที่ต้องการเน้น อาจใช้วิธีการทำาให้เด่น เช่น การล้อมกรอบ หรือใส่กล่อง เป็นต้น 8. ตกแต่ง Mind Map ที่เขียนด้วยความสนุกสนานทั้งภาพและแนวคิดที่เชื่อมโยงต่อกัน การนำาไปใช้ 1. ใช้ระดมพลังสมอง 2. ใช้นำาเสนอข้อมูล 3. ใช้จัดระบบความคิดและช่วยความจำา 4. ใช้วิเคราะห์เนื้อหาหรืองานต่าง ๆ 5. ใช้สรุปหรือสร้างองค์ความรู้ สรุปและสังเคราะห์โดย...คุณครูขวัญกมล จางวิริยะ
  • 5. 5