SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 1
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
หลักการและโครงสร้างของภาษา PHP
ภาษา PHP
PHP เป็นภาษา Script ที่ทางานในฝั่ง Server หรือเรียกว่า Server-side เมื่อถูกเรียกใช้โดย Web
browser จะมีการประมวลผลบนเครื่อง Server แล้วส่งผลลัพธ์ในรูปแบบภาษา HTML ส่งไปยังเครื่อง
Client โดยไฟล์ภาษา PHP จะต้องกาหนดส่วนขยาย (นามสกุล) เป็น php เสมอ
การทางานของ PHP
Version แรก – Version 3 ใช้หลักการแปลที่ละประโยค (Interpretation process)
Version 4 เป็นต้นไป ใช้หลักการแปล (Compiled) เก็บไว้ในหน่วยความจาก่อนและจึงทางาน
(Compilation process) จึงมีการทางานได้เร็วขึ้น
รูปแบบของภาษา PHP
การระบุว่า Script นี้เป็นภาษา PHP ทาได้โดยกาหนด Tag คร่อมดังนี้
<?php หรือ <? หรือ <script language = “php”>
………
………
………
?> หรือ </script>
รูปแบบที่ 1 ไฟล์ first.php
<html>
<head>
<title> First PHP </title>
</head>
<body>
<?php
print "...First...";
?>
</body>
</html>
รูปแบบที่ 2 ไฟล์ second.php
<?php
print "<title>Second PHP</title>";
print "<body>";
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 2
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
print "...Second PHP...";
print "</body>";
?>
ตัวแปรและชนิดของตัวแปร
PHP ไม่จาเป็นต้องมีการระบุชนิด (Type) เนื่องจากสามารถกาหนดได้เองตามชนิดของข้อมูล แต่
หากต้องการก็สามารถกาหนดชนิดของตัวแปร หรือเปลี่ยนแปลงชนิดภายหลังก็ได้
ชื่อตัวแปรจะต้องนาหน้าด้วยเครื่องหมาย $ ตามด้วย ตัวอักษรหรือเครื่องหมาย _ แล้วตามด้วย
ตัวอักษรหรือตัวเลขหรือ _ โดยไม่มีช่องว่าง
ตัวอย่าง 1
$num = 12.345;
print $num;
ผลที่ได้
12.345
ตัวอย่าง 2
$num = (integer) 12.345;
print $num;
ผลที่ได้
12
ตัวอย่าง 3
$num = 12.345;
settype($num, "integer");
print $num;
ผลที่ได้
12
ชนิดของตัวแปร
boolean, bool จริง (True) หรือ เท็จ (False)
integer, int ตัวเลขจานวนเต็ม
float, double, real ตัวเลขมีทศนิยม
string ข้อความใด ๆ
array ตัวแปรชุด
object วัตถุ ซึ่งเกิดจากการสร้าง Class (OOP)
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 3
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
การเชื่อมตัวแปร
การนาตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปมาเชื่อมต่อกันในลักษณะ Text หรือเชื่อมต่อกับ Text โดยตรง จะ
ใช้เครื่องหมาย . เป็นตัวคั่นชื่อตัวแปร
ตัวอย่าง 4
$s = "Salary";
$sal=25000;
print $s . " = " . $sal;
ผลที่ได้
Salary = 25000
ค่าตัวแปรที่เป็น NULL
เป็นค่าพิเศษของตัวแปรใด ๆ ซึ่งมีความหมายว่าไม่มีค่าใด ๆ อยู่ ซึ่งจะเกิดขึ้นในกรณีต่อไปนี้
1) เป็นตัวแปรที่ไม่เคยถูกกาหนดค่ามาก่อน
2) ถูกกาหนดค่าเป็น NULL
3) ถูกถอนค่าด้วยฟังก์ชั่น unset()
ตัวกระทาทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators)
การบวก + Addition ตัวอย่าง $a + $b
การลบ - Addition ตัวอย่าง $a - $b
การคูณ * Addition ตัวอย่าง $a * $b
การหาร / Addition ตัวอย่าง $a / $b
เศษจากการหาร % Addition ตัวอย่าง $a % $b
ตัวกระทาสาหรับกาหนดค่า (Assignment Opertators)
เครื่องหมาย = ตัวอย่าง $a = $b กาหนดให้ตัวแปรซ้ายมือมีค่าเท่ากับตัวแปรทางขวามือ
เครื่องหมาย += ตัวอย่าง $a += $b กาหนดให้ตัวแปรซ้ายมือเพิ่มค่าเท่ากับตัวแปรทางขวามือ
เครื่องหมาย -= ตัวอย่าง $a -= $b กาหนดให้ตัวแปรซ้ายมือลดค่าเท่ากับตัวแปรทางขวามือ
เครื่องหมาย .= ตัวอย่าง $a .= $b กาหนดให้ตัวแปรซ้ายมือถูกต่อด้วยตัวแปรทางขวามือ
ตัวกระทาสาหรับการเปรียบเทียบ (Comparison Opertators)
= = Equal ตัวอย่าง $a = = $b เป็นจริงเมื่อ $a เท่ากับ $b
= = = Identical ตัวอย่าง $a = = = $b เป็นจริงเมื่อ $a เท่ากับ $b และเป็น
ข้อมูลชนิดเดียวกัน
! = Not Equal ตัวอย่าง $a ! = $b เป็นจริงเมื่อ $a ไม่เท่ากับ $b
< > Not Equal ตัวอย่าง $a < > $b เป็นจริงเมื่อ $a ไม่เท่ากับ $b
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 4
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
! = = Not Identical ตัวอย่าง $a ! = = $b เป็นจริงเมื่อ $a ไม่เท่ากับ $b หรือ
เท่ากันแต่ชนิดข้อมูลต่างกัน
< Less than ตัวอย่าง $a < $b เป็นจริงเมื่อ $a น้อยกว่า $b
> More than ตัวอย่าง $a > $b เป็นจริงเมื่อ $a มากกว่า $b
< = Less than or Equal to ตัวอย่าง $a < = $b เป็นจริงเมื่อ $a น้อยกว่าหรือเท่ากับ $b
> = More than or Equal to ตัวอย่าง $a > = $b เป็นจริงเมื่อ $a มากกว่าหรือเท่ากับ $b
ตัวกระทาสาหรับการเพิ่ม/ลดค่า (Incrementing/Decrementing Opertators)
++$a Pre-increment เพิ่มค่าตัวแปร $a ขึ้น 1 แล้วจึงคืนค่าให้ตัวแปร $a
$a++ Post-increment คืนค่าตัวแปร $a แล้วจึงเพิ่มค่าตัวแปร $a ขึ้นอีก 1
--$a Pre-decrement ลดค่าตัวแปร $a ลง 1 แล้วจึงคืนค่าให้ตัวแปร $a
$a-- Post-decrement คืนค่าตัวแปร $a แล้วจึงลดค่าตัวแปร $a ลงอีก 1
ตัวกระทาทางตรรกะ (Logical Opertators)
and หรือ && And ตัวอย่าง $a and $b จะให้ค่าเป็นจริงเมื่อเป็นจริงทั้งคู่
or หรือ || Or ตัวอย่าง $a or $b จะให้ค่าเป็นเท็จเมื่อเป็นเท็จทั้งคู่
xor Exclusive ตัวอย่าง $a xor $b จะให้ค่าเป็นเท็จเมื่อเป็นเท็จทั้งคู่ หรือ
เป็นจริงทั้งคู่
! Not ตัวอย่าง !$a จะให้ค่าเป็นจริงเมื่อ $a เป็นเท็จ
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 5
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
การตรวจสอบเงื่อนไขและการทาซ้า
ประโยคควบคุม (Control Statements)
if…else, if…elseif
ตัวอย่างที่ 1
if ($a == $b)
{
print "OK Equal";
}
ผลที่ได้
OK Equal หากค่าของตัวแปรเท่ากัน
ตัวอย่างที่ 2
if ($a == $b)
{
print "OK Equal";
}
else
{
print "NoK Not Equal";
}
ตัวอย่างที่ 3
if ($a > $b)
{
echo "A more than B";
}
else if ($a < $b)
{
echo "A less than B";
}
else
{
echo "A equal B";
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 6
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
}
switch, break
ตัวอย่างที่ 4
switch ($choice)
{
case 1:
echo "Choice = 1";
break;
case 2:
echo "Choice = 2";
break;
case 3:
echo "Choice = 3";
break;
}
while, do…while
ตัวอย่างที่ 5
$i = 1;
while ($i <= 10)
{
print $i;
$i++;
}
ตัวอย่างที่ 6
$i = 1;
do
{
print $i;
$i++;
} while ($i <= 10)
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 7
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
for
ตัวอย่างที่ 7
for ($i = 1; $i <= 10; $i++)
{
print $i;
}
foreach
ตัวอย่างที่ 8
$arr_name = array ("A", "B", "C", "D", "E");
foreach (arr_name as $err_each)
{
print $arr_each;
print "$nbsp";
}
break
ใช้ได้กับ loop: for, foreach, while, do…while, switch
ตัวอย่างที่ 9
break 1 // ออกจากการทางานใน loop 1 ชั้น
…
ตัวอย่างที่ 10
break 2 // ออกจากการทางานใน loop 2 ชั้น
...
continue
เป็นการสั่งให้กลับไปทางานใน loop อีกครั้งหนึ่ง
ตัวอย่างที่ 11
$a = 0;
while (++$a <= 100)
{
if ($a % 10) continue;
print $a . "<br>";
}
print “End of program…”;
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 8
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
การสร้างฟอร์มรับข้อมูล
ตัวอย่างที่ 12
<form method="post" action="php12.php">
<input type="text" name="num">
<input type="submit" value="OK">
<input type="reset" value="Reset">
</form>
<?php
for ($i = 1; $i++; $i < $num)
{
print $i . "<br";
$i++;
}
?>
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 9
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
การผนวกไฟล์และฟังก์ชันของภาษา PHP
รหัสควบคุม String
n ขึ้นบรรทัดใหม่
r เลื่อน Cursor ไปอยู่ที่ต้นบรรทัด
t เลื่อน Tab
 พิมพ์เครื่องหมาย  (Backslash)
$ พิมพ์เครื่องหมาย $ (Dollar Sign)
" พิมพ์เครื่องหมาย " (Double-Quote)
include
เรียกใช้สคริปต์ PHP ที่อยู่ในไฟล์อื่นมาทางาน และสามารถเรียกทางานภายใต้การวนรอบ (loop) ได้
หากพบข้อผิดพลาด เช่น หาไฟล์ไม่เจอ จะแสดงเป็นคาเตือน (Warning) และทางานต่อไปได้
require
เรียกใช้สคริปต์ PHP ที่อยู่ในไฟล์อื่นมาทางาน แต่ไม่สามารถเรียกใช้ภายใต้การวนรอบได้ แต่หาก
พบข้อผิดพลาด จะแสดงข้อผิดพลาดอย่างร้ายแรง (Fatal Error) และหยุดการทางานของเว็บเพจ
require_once, include_once
เป็นการแทรกไฟล์สคริปต์หนึ่งเข้าไปยังอีกไฟล์สคริปต์หนึ่ง เช่นเดียวกันกับ include และ require
แต่ต่างกันที่ require_once และ include_once จะป้ องกันไม่ให้มีการแทรกไฟล์ซ้า ในกรณีที่ไฟล์นั้นถูกเรียก
มาแล้วครั้งหนึ่ง เพื่อป้ องกันการประกาศฟังก์ชั่นซ้า หรือกาหนดค่าตัวแปรซ้า โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดความ
ผิดพลาด
ตัวอย่างที่ 1
ไฟล์ intro.inc
<?php
$depart = "Electronic";
$college = "Chanthaburi Technical College";
function intro()
{
global $depart, $college;
echo "My Depart is " . $depart . "<br>";
echo "My College is " . $college . "<br>";
}
?>
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 10
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
ไฟล์ testfunc.php
<?php
include("intro.inc");
$depart = "Technocom";
intro();
?>
Function
โดยทั่วไปเราจะเรียกใช้ฟังก์ชั่นจาก Library ของ PHP อย่างไรก็ตามเราสามารถสร้างฟังก์ชั่นขึ้นใช้
เองได้ดังนี้
1. ฟังก์ชั่นที่ไม่มีการส่งค่าระหว่างฟังก์ชั่น
ตัวอย่างที่ 1
<?php
function sign()
{
print "http://www.technicchan.ac.th<br>";
print "Thank you";
}
sign(); // เรียกใช้ฟังก์ชั่น sign()
?>
2. ฟังก์ชั่นที่มีการส่งค่าระหว่างฟังก์ชั่น
ตัวอย่างที่ 2
<?php
function square($x)
{
return $x * $x;
}
echo square(10); // เรียกใช้ฟังก์ชั่น square() โดยมีการส่งค่าใน
วงเล็บ (เลข 10) ให้กับตัวแปร $x ในฟังก์ชั่นด้วย
?>
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 11
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
ตัวอย่างที่ 3
ไฟล์ ohm.law
<?php
global $i, $r;
function ohm($i, $r)
{
$v = $i * $r;
print "Current I = " . $i . "&nbsp";
print "Resistance R = " . $r . "<br>";
print "The Result of Voltage V = " . $v;
}
?>
ไฟล์ testohm.php
<?php
require_once("ohm.law");
ohm(10,20);
echo "<br><br>";
$i=12.34;
$r=5.67;
ohm($i, $r);
?>
Text file
PHP สามารถติดต่อกับ text file ได้ ดังตัวอย่างมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้
dataForm.html สาหรับเป็นฟอร์มกรอกข้อมูล
dataWrite.php สาหรับเขียน (Write) ข้อมูลลงใน text file
dataRead.php สาหรับอ่าน (Read) ข้อมูลจาก text file มาแสดง
data.txt เป็น text file สาหรับเก็บข้อมูล
ไฟล์ dataForm.html
<html>
<head>
<title> Test to Write/Read Text file </title>
</head>
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 12
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
<body bgcolor = "$EBEBEB">
<form method = "post" action = "dataWrite.php">
Name : <input type = "text" name = "datName"><br>
Surname : <input type = "text" name = "datSurname"><br>
Position : <input type = "text" name = "datPosition"><br>
<p>
<input type = "submit" name = "submit" value = "Write Data">
</form>
</body>
</html>
ไฟล์ dataWrite.php
<?php
$data = "<br>Name :</b>" . $datName . "<b>Surname : </b>" . $datSurname . "<br>";
$data .= <b>Position :</b>" . $datPosition . "<br>";
$data .= <hr>n";
$fp = fopen("data.txt", "a");
fputs($fp, $data);
fclose($fp);
echo "Ready to Write file…<br>n";
echo "<a href = 'dataRead.php'>Read data from file…</a>";
?>
ไฟล์ dataRead.php
<?php
$fp = fopen("data.txt", "r");
while(!feof($fp))
{
$listdata=fgets($fp, 4096);
echo $listdata;
}
fclose($fp);
echo "<a href = 'dataForm.html'>Back to Input data…</a>";
?>
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 13
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
การจัดการกับข้อความของภาษา PHP
echo, print
แสดงข้อความบนหน้าเว็บเพจ หรือส่ง Tag HTML ไปยัง Browser ทั้งสองคาสั่งนี้เป็นฟังก์ชั่นที่
แท้จริง จึงใส่วงเล็บหรือไม่ก็ได้
ตัวอย่างที่ 1
<?php
echo ("Test ECHO…<br>");
echo "Test ECHO…<br>";
print ("Test PRINT…<br>");
print "Test PRINT…<br>";
?>
การรวมข้อความ
ตัวอย่างที่ 2
<?php
$str1 = "Computer";
$str2 = "Technology";
print $str1 . " " . $str2;
?>
substr()
ใช้สาหรับเลือกส่วนหนึ่งของข้อความ ออกจากข้อความเดิม
รูปแบบ string substr(string string, int start [,int length])
ตัวอย่างที่ 3 เลือกข้อความเริ่มจากตาแหน่งที่ระบุ (ตาแหน่งแรกคือ 0) จานวนตัวอักษรที่ระบุ
<?php
$str1 = "Chanthaburi Province";
$str2 = substr($str1, 6, 4);
echo $str2;
?>
ตัวอย่างที่ 4 เลือกข้อความส่วนแรก หรือส่วนหลัง จานวนตัวอักษรเท่าที่ระบุ
<?php
$com = "Computer";
$front = substr($com, 3);
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 14
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
$rear = substr($com, -5);
print $font . $rear;
?>
substr_replace()
ใช้เพื่อตัดข้อความตามที่ระบุ แล้วแทนที่ด้วยข้อความใหม่
รูปแบบ string substr_replace ( string string, string replacement, int start [, int length])
ตัวอย่างที่ 5
<?php
$str1 = "Electronic";
$str2 = "tricity";
$str3 = substr_replace($str1, str2, 4, 6);
echo $str3;
?>
str_replace()
ใช้เพื่อนาคาใหม่มาแทนที่คาเดิม ซึ่งอยู่ในข้อความที่ระบุ
ตัวอย่างที่ 6
<?php
$s1 = "one two three";
$s2 = str_replace("two", "2", $s1);
echo $s2;
?>
strpos()
ใช้เพื่อค้นหาคาที่ต้องการ ซึ่งอยู่ภายในข้อความใด ๆ โดยผลที่ได้จะเป็นตาแหน่งแรกข้อคานั้น
ตัวอย่างที่ 7
<?php
$str = "Chanthaburi Technical College";
$pos = strpos($str, "buri");
print $pos;
?>
การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 15
เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ
strlen()
ใช้เพื่อหาความยาวของ String
ตัวอย่างที่ 8
<?php
$str = "Information System";
$len = strlen($str);
print $len;
?>
trim(), ltrim(), rtrim(), chop()
ใช้เพื่อตัดช่องว่างที่อยู่ปะปนกับข้อความ
trim() ตัดช่องว่างทั้งหน้าและหลังข้อความทิ้ง
ltrim() ตัดช่องว่างเฉพาะที่อยู่ด้านหน้าข้อความทิ้ง
rtrim(), chop() ตัดช่องว่าเฉพาะที่อยู่ด้านท้ายข้อความทิ้ง
explode()
ใช้เพื่อแบ่งแยกข้อความออกเป็นคาย่อย ๆ โดยระบุอักษรหรือเครื่องหมายที่ใช้เพื่อการแบ่งแยก
รูปแบบ
ตัวอย่างที่ 9
<?php
$fullname = "Somchai Tamrongsook";
list ($name, $surname) = explode(" ", $fullname);
echo $name . "<br>";
echo $lastname;
?>
implode()
ใช้เพื่อรวมค่าใน Array ให้เป็น String
รูปแบบ string implode (string glue, array pieces)
ตัวอย่างที่ 10
<?php
$mail = array ("somporn9", "gmail.com");
$fullmail = implode("@", $mail);
print $fullmail;
?>

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Training php

ไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.cc
ไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.ccไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.cc
ไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.ccKnow Mastikate
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05Jenchoke Tachagomain
 
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาบทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาKukkik Kanya
 
เริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPเริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPEKNARIN
 
งานครูปลาม์
งานครูปลาม์งานครูปลาม์
งานครูปลาม์0908067327
 
คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and PythonBongkotporn Jachernram
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาJK133
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น Ja Phenpitcha
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1Ja Phenpitcha
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นSamart Phetdee
 
วัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ยวัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ยfinverok
 
Java script 9786169103004_ch02
Java script 9786169103004_ch02Java script 9786169103004_ch02
Java script 9786169103004_ch02palm2816
 

Ähnlich wie Training php (20)

ภาษา php
ภาษา phpภาษา php
ภาษา php
 
Training php my_sql
Training php my_sqlTraining php my_sql
Training php my_sql
 
Dw ch05 basic_php
Dw ch05 basic_phpDw ch05 basic_php
Dw ch05 basic_php
 
ไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.cc
ไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.ccไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.cc
ไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.cc
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
 
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาบทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Apache OFBiz ERP
Apache OFBiz ERPApache OFBiz ERP
Apache OFBiz ERP
 
เริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPเริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHP
 
งานครูปลาม์
งานครูปลาม์งานครูปลาม์
งานครูปลาม์
 
คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Python
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้น
 
วัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ยวัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ย
 
Answer unit4.3.2
Answer unit4.3.2Answer unit4.3.2
Answer unit4.3.2
 
Java script 9786169103004_ch02
Java script 9786169103004_ch02Java script 9786169103004_ch02
Java script 9786169103004_ch02
 
Introduction to PHP programming
Introduction to PHP programmingIntroduction to PHP programming
Introduction to PHP programming
 
Greenstone Installation
Greenstone InstallationGreenstone Installation
Greenstone Installation
 

Training php

  • 1. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 1 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ หลักการและโครงสร้างของภาษา PHP ภาษา PHP PHP เป็นภาษา Script ที่ทางานในฝั่ง Server หรือเรียกว่า Server-side เมื่อถูกเรียกใช้โดย Web browser จะมีการประมวลผลบนเครื่อง Server แล้วส่งผลลัพธ์ในรูปแบบภาษา HTML ส่งไปยังเครื่อง Client โดยไฟล์ภาษา PHP จะต้องกาหนดส่วนขยาย (นามสกุล) เป็น php เสมอ การทางานของ PHP Version แรก – Version 3 ใช้หลักการแปลที่ละประโยค (Interpretation process) Version 4 เป็นต้นไป ใช้หลักการแปล (Compiled) เก็บไว้ในหน่วยความจาก่อนและจึงทางาน (Compilation process) จึงมีการทางานได้เร็วขึ้น รูปแบบของภาษา PHP การระบุว่า Script นี้เป็นภาษา PHP ทาได้โดยกาหนด Tag คร่อมดังนี้ <?php หรือ <? หรือ <script language = “php”> ……… ……… ……… ?> หรือ </script> รูปแบบที่ 1 ไฟล์ first.php <html> <head> <title> First PHP </title> </head> <body> <?php print "...First..."; ?> </body> </html> รูปแบบที่ 2 ไฟล์ second.php <?php print "<title>Second PHP</title>"; print "<body>";
  • 2. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 2 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ print "...Second PHP..."; print "</body>"; ?> ตัวแปรและชนิดของตัวแปร PHP ไม่จาเป็นต้องมีการระบุชนิด (Type) เนื่องจากสามารถกาหนดได้เองตามชนิดของข้อมูล แต่ หากต้องการก็สามารถกาหนดชนิดของตัวแปร หรือเปลี่ยนแปลงชนิดภายหลังก็ได้ ชื่อตัวแปรจะต้องนาหน้าด้วยเครื่องหมาย $ ตามด้วย ตัวอักษรหรือเครื่องหมาย _ แล้วตามด้วย ตัวอักษรหรือตัวเลขหรือ _ โดยไม่มีช่องว่าง ตัวอย่าง 1 $num = 12.345; print $num; ผลที่ได้ 12.345 ตัวอย่าง 2 $num = (integer) 12.345; print $num; ผลที่ได้ 12 ตัวอย่าง 3 $num = 12.345; settype($num, "integer"); print $num; ผลที่ได้ 12 ชนิดของตัวแปร boolean, bool จริง (True) หรือ เท็จ (False) integer, int ตัวเลขจานวนเต็ม float, double, real ตัวเลขมีทศนิยม string ข้อความใด ๆ array ตัวแปรชุด object วัตถุ ซึ่งเกิดจากการสร้าง Class (OOP)
  • 3. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 3 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ การเชื่อมตัวแปร การนาตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปมาเชื่อมต่อกันในลักษณะ Text หรือเชื่อมต่อกับ Text โดยตรง จะ ใช้เครื่องหมาย . เป็นตัวคั่นชื่อตัวแปร ตัวอย่าง 4 $s = "Salary"; $sal=25000; print $s . " = " . $sal; ผลที่ได้ Salary = 25000 ค่าตัวแปรที่เป็น NULL เป็นค่าพิเศษของตัวแปรใด ๆ ซึ่งมีความหมายว่าไม่มีค่าใด ๆ อยู่ ซึ่งจะเกิดขึ้นในกรณีต่อไปนี้ 1) เป็นตัวแปรที่ไม่เคยถูกกาหนดค่ามาก่อน 2) ถูกกาหนดค่าเป็น NULL 3) ถูกถอนค่าด้วยฟังก์ชั่น unset() ตัวกระทาทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators) การบวก + Addition ตัวอย่าง $a + $b การลบ - Addition ตัวอย่าง $a - $b การคูณ * Addition ตัวอย่าง $a * $b การหาร / Addition ตัวอย่าง $a / $b เศษจากการหาร % Addition ตัวอย่าง $a % $b ตัวกระทาสาหรับกาหนดค่า (Assignment Opertators) เครื่องหมาย = ตัวอย่าง $a = $b กาหนดให้ตัวแปรซ้ายมือมีค่าเท่ากับตัวแปรทางขวามือ เครื่องหมาย += ตัวอย่าง $a += $b กาหนดให้ตัวแปรซ้ายมือเพิ่มค่าเท่ากับตัวแปรทางขวามือ เครื่องหมาย -= ตัวอย่าง $a -= $b กาหนดให้ตัวแปรซ้ายมือลดค่าเท่ากับตัวแปรทางขวามือ เครื่องหมาย .= ตัวอย่าง $a .= $b กาหนดให้ตัวแปรซ้ายมือถูกต่อด้วยตัวแปรทางขวามือ ตัวกระทาสาหรับการเปรียบเทียบ (Comparison Opertators) = = Equal ตัวอย่าง $a = = $b เป็นจริงเมื่อ $a เท่ากับ $b = = = Identical ตัวอย่าง $a = = = $b เป็นจริงเมื่อ $a เท่ากับ $b และเป็น ข้อมูลชนิดเดียวกัน ! = Not Equal ตัวอย่าง $a ! = $b เป็นจริงเมื่อ $a ไม่เท่ากับ $b < > Not Equal ตัวอย่าง $a < > $b เป็นจริงเมื่อ $a ไม่เท่ากับ $b
  • 4. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 4 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ ! = = Not Identical ตัวอย่าง $a ! = = $b เป็นจริงเมื่อ $a ไม่เท่ากับ $b หรือ เท่ากันแต่ชนิดข้อมูลต่างกัน < Less than ตัวอย่าง $a < $b เป็นจริงเมื่อ $a น้อยกว่า $b > More than ตัวอย่าง $a > $b เป็นจริงเมื่อ $a มากกว่า $b < = Less than or Equal to ตัวอย่าง $a < = $b เป็นจริงเมื่อ $a น้อยกว่าหรือเท่ากับ $b > = More than or Equal to ตัวอย่าง $a > = $b เป็นจริงเมื่อ $a มากกว่าหรือเท่ากับ $b ตัวกระทาสาหรับการเพิ่ม/ลดค่า (Incrementing/Decrementing Opertators) ++$a Pre-increment เพิ่มค่าตัวแปร $a ขึ้น 1 แล้วจึงคืนค่าให้ตัวแปร $a $a++ Post-increment คืนค่าตัวแปร $a แล้วจึงเพิ่มค่าตัวแปร $a ขึ้นอีก 1 --$a Pre-decrement ลดค่าตัวแปร $a ลง 1 แล้วจึงคืนค่าให้ตัวแปร $a $a-- Post-decrement คืนค่าตัวแปร $a แล้วจึงลดค่าตัวแปร $a ลงอีก 1 ตัวกระทาทางตรรกะ (Logical Opertators) and หรือ && And ตัวอย่าง $a and $b จะให้ค่าเป็นจริงเมื่อเป็นจริงทั้งคู่ or หรือ || Or ตัวอย่าง $a or $b จะให้ค่าเป็นเท็จเมื่อเป็นเท็จทั้งคู่ xor Exclusive ตัวอย่าง $a xor $b จะให้ค่าเป็นเท็จเมื่อเป็นเท็จทั้งคู่ หรือ เป็นจริงทั้งคู่ ! Not ตัวอย่าง !$a จะให้ค่าเป็นจริงเมื่อ $a เป็นเท็จ
  • 5. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 5 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ การตรวจสอบเงื่อนไขและการทาซ้า ประโยคควบคุม (Control Statements) if…else, if…elseif ตัวอย่างที่ 1 if ($a == $b) { print "OK Equal"; } ผลที่ได้ OK Equal หากค่าของตัวแปรเท่ากัน ตัวอย่างที่ 2 if ($a == $b) { print "OK Equal"; } else { print "NoK Not Equal"; } ตัวอย่างที่ 3 if ($a > $b) { echo "A more than B"; } else if ($a < $b) { echo "A less than B"; } else { echo "A equal B";
  • 6. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 6 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ } switch, break ตัวอย่างที่ 4 switch ($choice) { case 1: echo "Choice = 1"; break; case 2: echo "Choice = 2"; break; case 3: echo "Choice = 3"; break; } while, do…while ตัวอย่างที่ 5 $i = 1; while ($i <= 10) { print $i; $i++; } ตัวอย่างที่ 6 $i = 1; do { print $i; $i++; } while ($i <= 10)
  • 7. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 7 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ for ตัวอย่างที่ 7 for ($i = 1; $i <= 10; $i++) { print $i; } foreach ตัวอย่างที่ 8 $arr_name = array ("A", "B", "C", "D", "E"); foreach (arr_name as $err_each) { print $arr_each; print "$nbsp"; } break ใช้ได้กับ loop: for, foreach, while, do…while, switch ตัวอย่างที่ 9 break 1 // ออกจากการทางานใน loop 1 ชั้น … ตัวอย่างที่ 10 break 2 // ออกจากการทางานใน loop 2 ชั้น ... continue เป็นการสั่งให้กลับไปทางานใน loop อีกครั้งหนึ่ง ตัวอย่างที่ 11 $a = 0; while (++$a <= 100) { if ($a % 10) continue; print $a . "<br>"; } print “End of program…”;
  • 8. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 8 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ การสร้างฟอร์มรับข้อมูล ตัวอย่างที่ 12 <form method="post" action="php12.php"> <input type="text" name="num"> <input type="submit" value="OK"> <input type="reset" value="Reset"> </form> <?php for ($i = 1; $i++; $i < $num) { print $i . "<br"; $i++; } ?>
  • 9. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 9 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ การผนวกไฟล์และฟังก์ชันของภาษา PHP รหัสควบคุม String n ขึ้นบรรทัดใหม่ r เลื่อน Cursor ไปอยู่ที่ต้นบรรทัด t เลื่อน Tab พิมพ์เครื่องหมาย (Backslash) $ พิมพ์เครื่องหมาย $ (Dollar Sign) " พิมพ์เครื่องหมาย " (Double-Quote) include เรียกใช้สคริปต์ PHP ที่อยู่ในไฟล์อื่นมาทางาน และสามารถเรียกทางานภายใต้การวนรอบ (loop) ได้ หากพบข้อผิดพลาด เช่น หาไฟล์ไม่เจอ จะแสดงเป็นคาเตือน (Warning) และทางานต่อไปได้ require เรียกใช้สคริปต์ PHP ที่อยู่ในไฟล์อื่นมาทางาน แต่ไม่สามารถเรียกใช้ภายใต้การวนรอบได้ แต่หาก พบข้อผิดพลาด จะแสดงข้อผิดพลาดอย่างร้ายแรง (Fatal Error) และหยุดการทางานของเว็บเพจ require_once, include_once เป็นการแทรกไฟล์สคริปต์หนึ่งเข้าไปยังอีกไฟล์สคริปต์หนึ่ง เช่นเดียวกันกับ include และ require แต่ต่างกันที่ require_once และ include_once จะป้ องกันไม่ให้มีการแทรกไฟล์ซ้า ในกรณีที่ไฟล์นั้นถูกเรียก มาแล้วครั้งหนึ่ง เพื่อป้ องกันการประกาศฟังก์ชั่นซ้า หรือกาหนดค่าตัวแปรซ้า โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดความ ผิดพลาด ตัวอย่างที่ 1 ไฟล์ intro.inc <?php $depart = "Electronic"; $college = "Chanthaburi Technical College"; function intro() { global $depart, $college; echo "My Depart is " . $depart . "<br>"; echo "My College is " . $college . "<br>"; } ?>
  • 10. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 10 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ ไฟล์ testfunc.php <?php include("intro.inc"); $depart = "Technocom"; intro(); ?> Function โดยทั่วไปเราจะเรียกใช้ฟังก์ชั่นจาก Library ของ PHP อย่างไรก็ตามเราสามารถสร้างฟังก์ชั่นขึ้นใช้ เองได้ดังนี้ 1. ฟังก์ชั่นที่ไม่มีการส่งค่าระหว่างฟังก์ชั่น ตัวอย่างที่ 1 <?php function sign() { print "http://www.technicchan.ac.th<br>"; print "Thank you"; } sign(); // เรียกใช้ฟังก์ชั่น sign() ?> 2. ฟังก์ชั่นที่มีการส่งค่าระหว่างฟังก์ชั่น ตัวอย่างที่ 2 <?php function square($x) { return $x * $x; } echo square(10); // เรียกใช้ฟังก์ชั่น square() โดยมีการส่งค่าใน วงเล็บ (เลข 10) ให้กับตัวแปร $x ในฟังก์ชั่นด้วย ?>
  • 11. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 11 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ ตัวอย่างที่ 3 ไฟล์ ohm.law <?php global $i, $r; function ohm($i, $r) { $v = $i * $r; print "Current I = " . $i . "&nbsp"; print "Resistance R = " . $r . "<br>"; print "The Result of Voltage V = " . $v; } ?> ไฟล์ testohm.php <?php require_once("ohm.law"); ohm(10,20); echo "<br><br>"; $i=12.34; $r=5.67; ohm($i, $r); ?> Text file PHP สามารถติดต่อกับ text file ได้ ดังตัวอย่างมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ dataForm.html สาหรับเป็นฟอร์มกรอกข้อมูล dataWrite.php สาหรับเขียน (Write) ข้อมูลลงใน text file dataRead.php สาหรับอ่าน (Read) ข้อมูลจาก text file มาแสดง data.txt เป็น text file สาหรับเก็บข้อมูล ไฟล์ dataForm.html <html> <head> <title> Test to Write/Read Text file </title> </head>
  • 12. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 12 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ <body bgcolor = "$EBEBEB"> <form method = "post" action = "dataWrite.php"> Name : <input type = "text" name = "datName"><br> Surname : <input type = "text" name = "datSurname"><br> Position : <input type = "text" name = "datPosition"><br> <p> <input type = "submit" name = "submit" value = "Write Data"> </form> </body> </html> ไฟล์ dataWrite.php <?php $data = "<br>Name :</b>" . $datName . "<b>Surname : </b>" . $datSurname . "<br>"; $data .= <b>Position :</b>" . $datPosition . "<br>"; $data .= <hr>n"; $fp = fopen("data.txt", "a"); fputs($fp, $data); fclose($fp); echo "Ready to Write file…<br>n"; echo "<a href = 'dataRead.php'>Read data from file…</a>"; ?> ไฟล์ dataRead.php <?php $fp = fopen("data.txt", "r"); while(!feof($fp)) { $listdata=fgets($fp, 4096); echo $listdata; } fclose($fp); echo "<a href = 'dataForm.html'>Back to Input data…</a>"; ?>
  • 13. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 13 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ การจัดการกับข้อความของภาษา PHP echo, print แสดงข้อความบนหน้าเว็บเพจ หรือส่ง Tag HTML ไปยัง Browser ทั้งสองคาสั่งนี้เป็นฟังก์ชั่นที่ แท้จริง จึงใส่วงเล็บหรือไม่ก็ได้ ตัวอย่างที่ 1 <?php echo ("Test ECHO…<br>"); echo "Test ECHO…<br>"; print ("Test PRINT…<br>"); print "Test PRINT…<br>"; ?> การรวมข้อความ ตัวอย่างที่ 2 <?php $str1 = "Computer"; $str2 = "Technology"; print $str1 . " " . $str2; ?> substr() ใช้สาหรับเลือกส่วนหนึ่งของข้อความ ออกจากข้อความเดิม รูปแบบ string substr(string string, int start [,int length]) ตัวอย่างที่ 3 เลือกข้อความเริ่มจากตาแหน่งที่ระบุ (ตาแหน่งแรกคือ 0) จานวนตัวอักษรที่ระบุ <?php $str1 = "Chanthaburi Province"; $str2 = substr($str1, 6, 4); echo $str2; ?> ตัวอย่างที่ 4 เลือกข้อความส่วนแรก หรือส่วนหลัง จานวนตัวอักษรเท่าที่ระบุ <?php $com = "Computer"; $front = substr($com, 3);
  • 14. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 14 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ $rear = substr($com, -5); print $font . $rear; ?> substr_replace() ใช้เพื่อตัดข้อความตามที่ระบุ แล้วแทนที่ด้วยข้อความใหม่ รูปแบบ string substr_replace ( string string, string replacement, int start [, int length]) ตัวอย่างที่ 5 <?php $str1 = "Electronic"; $str2 = "tricity"; $str3 = substr_replace($str1, str2, 4, 6); echo $str3; ?> str_replace() ใช้เพื่อนาคาใหม่มาแทนที่คาเดิม ซึ่งอยู่ในข้อความที่ระบุ ตัวอย่างที่ 6 <?php $s1 = "one two three"; $s2 = str_replace("two", "2", $s1); echo $s2; ?> strpos() ใช้เพื่อค้นหาคาที่ต้องการ ซึ่งอยู่ภายในข้อความใด ๆ โดยผลที่ได้จะเป็นตาแหน่งแรกข้อคานั้น ตัวอย่างที่ 7 <?php $str = "Chanthaburi Technical College"; $pos = strpos($str, "buri"); print $pos; ?>
  • 15. การพัฒนาเว็บเพ็จด้วยภาษา PHP 15 เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาเว็บไซต์จัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นด้วยภาษา PHP+MySQL” เรียบเรียงโดย ครูสมพร ผลประพฤติ strlen() ใช้เพื่อหาความยาวของ String ตัวอย่างที่ 8 <?php $str = "Information System"; $len = strlen($str); print $len; ?> trim(), ltrim(), rtrim(), chop() ใช้เพื่อตัดช่องว่างที่อยู่ปะปนกับข้อความ trim() ตัดช่องว่างทั้งหน้าและหลังข้อความทิ้ง ltrim() ตัดช่องว่างเฉพาะที่อยู่ด้านหน้าข้อความทิ้ง rtrim(), chop() ตัดช่องว่าเฉพาะที่อยู่ด้านท้ายข้อความทิ้ง explode() ใช้เพื่อแบ่งแยกข้อความออกเป็นคาย่อย ๆ โดยระบุอักษรหรือเครื่องหมายที่ใช้เพื่อการแบ่งแยก รูปแบบ ตัวอย่างที่ 9 <?php $fullname = "Somchai Tamrongsook"; list ($name, $surname) = explode(" ", $fullname); echo $name . "<br>"; echo $lastname; ?> implode() ใช้เพื่อรวมค่าใน Array ให้เป็น String รูปแบบ string implode (string glue, array pieces) ตัวอย่างที่ 10 <?php $mail = array ("somporn9", "gmail.com"); $fullmail = implode("@", $mail); print $fullmail; ?>