SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ 
เราทราบมาแล้วว่าในระนาบ (plane) เดียวกัน ถ้าเลื่อนรูปเรขาคณิตรูปหนึ่งไปยังอีกรูปหนึ่ง และสามารถทาให้ 
ทับกันสนิท (coincide) เรียกว่า รูปทั้งสองนั้นเท่ากันทุกประการ (congruent) 
ในที่นี้จะกล่าวถึงความเท่ากันทุกประการเป็น 4 กรณี คือ 
1. ความเท่ากันทุกประการของส่วนของเส้นตรง 
2. ความเท่ากันทุกประการของมุม 
3. ความเท่ากันทุกประการของรูปหลายเหลี่ยม 
4. ความเท่ากันทุกประการของรูปวงกลม 
เราใช้เครื่องหมาย “  ” แสดงความเท่ากันทุกประการ (ของสิ่งสองสิ่งที่ทับกันสนิท) 
เครื่องหมาย  แสดงความเป็นสิ่งเดียวกัน 
1. ส่วนของเส้นตรงที่เท่ากันทุกประการ 
ส่วนของเส้นตรงที่เท่ากันทุกประการ คือ ส่วนของเส้นตรงที่สามารถเลื่อนให้ทับกันได้สนิท 
เช่น 
“ ส่วนของเส้นตรงที่เท่ากันทุกประการ จะมีความยาวเท่ากัน ” 
2. มุมที่เท่ากันทุกประการ 
มุมที่เท่ากันทุกประการ คือ มุมที่สามารถเลื่อนให้จุดยอด และแขนของมุมทับกันสนิท 
เช่น 
A B 
ABAB 
A B 
A 
C 
B 
A 
C 
B 
ABˆC ABˆC
2 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
3. รูปหลายเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ 
รูปหลายเหลยี่มที่เท่ากันทุกประการ สามารถเลื่อนให้จุดยอดและด้านทับกันได้สนิท 
เช่น 
4. วงกลมที่เท่ากันทุกประการ 
รูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการ ถ้าเลื่อนให้จุดศูนย์กลางทับกันแล้วเส้นรอบวงจะทับกันได้สนิท 
เช่น 
A 
D 
B 
C 
A 
D 
B 
C 
ABCD ABCD 
O 
B 
A 
O 
B 
A 
วงกลม O  ว ง ก ล ม O 
3 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
แบบฝึกหัดที่ 1 
จงตอบคาถามในแต่ละข้อต่อไปนี้ 
1) ถ้าส่วนของเส้นตรงสองเส้นเท่ากันทุกประการ ส่วนของเส้นตรงทั้งสองนั้นมีความยาวเท่ากัน 
หรือไม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
2) ถ้าส่วนของเส้นตรงสองเส้นมีความยาวเท่ากัน ส่วนของเส้นตรงทั้งสองเส้นนั้น เท่ากันทุกประการ 
หรือไม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
3) ถ้ามุมสองมุมเท่ากันทุกประการ มุมทั้งสองนั้นมีขนาดเท่ากัน หรือไม่ ……………………………………………………………. 
4) ถ้ามุมสองมุมมีขนาดเท่ากัน มุมทั้งสองนั้นเท่ากันทุกประการ หรือไม่ ……………………………………………………………. 
5) ถ้ารูปหลายเหลี่ยมสองรูปเท่ากันทุกประการ ด้านที่สมนัยกันเท่ากันทุกประการ หรือไม่ …………………………………. 
6) ถ้ารูปหลายเหลี่ยมสองรูปมีมุมคู่ที่สมนัยกันเท่ากันทุกคู่ รูปหลายเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการ 
หรือไม่ ………………………………………………….……………………….. 
7) ถ้ารูปหลายเหลี่ยมสองรูปเท่ากันทุกประการ ด้านที่สมนัยกันยาวเท่ากัน หรือไม่ …………………………………………… 
8) ถ้ารูปหลายเหลี่ยมสองรูปมีด้านที่สมนัยกันเท่ากันทุกด้าน รูปหลายเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการ 
หรือไม่ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
9) ถ้ารูปหลายเหลี่ยมสองรูปเท่ากันทุกประการ มุมที่สมนัยกันเท่ากันทุกประการ หรือไม่ …………………………………… 
10) ถ้ารูปหลายเหลี่ยมสองรูปเท่ากันทุกประการ มุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน หรือไม่ ………………………………………… 
11) ถ้าวงกลมสองวงเท่ากันทุกประการ รัศมีหรือเส้นผ่านศูนย์กลางมีความยาวเท่ากัน หรือไม่ ……………………………… 
12) รูปเรขาคณิตที่เท่ากันทุกประการมีพื้นที่เท่ากัน หรือไม่ ………………………………………………………………………………
4 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
ความสมนัย (correspondence) 
ความสมนัย คือ ความอยู่ในลาดับเดียวกัน เช่น  ABC DEF ดังรูป 
จากรูป ด้านที่สมนัยกันของ  ABC จะทากับ DEF ดังนี้ 
AB .......... หรือ AB  .......... 
AC .......... หรือ AC  .......... 
BC .......... หรือ BC  .......... 
และ มุมที่สมนัยกันของ  ABC จะทากับ DEF ดังนี้ 
1 .......... หรือ m1  .......... 
2  .......... หรือ m2  .......... 
3  .......... หรือ m3  .......... 
สรุป “ ด้านที่สมนัยกัน ” อาจพูดอีกอย่างหนึ่งว่า “ ด้านทอี่ยู่ในลา ดับเดียวกัน ” 
“ มุมทสี่มนัยกัน ” อาจพูดอีกอย่างหนึ่งว่า “ มุมทอี่ยู่ในลา ดับเดียวกัน ” 
A 
B C 
1 
2 3 
D 
E F 
4 
5 6
5 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
แบบฝึกหัดที่ 2 
1) จงเขียนผลจากการเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่ต่อไปนี้ โดยใช้ลาดับอักษรให้ถูกต้อง 
1. 
2. 
3. 4ภภ3 
4.
6 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
การพิสูจน์ (Proof) 
การพิสูจน์ คือ การสรุปความจริงอย่างมีเหตุผลโดยมีหลักฐานยืนยัน 
หลักฐาน (premise) ที่นามาอ้างจะต้องเป็นสิ่งที่ทุกคนยอมรับ เช่น ทุกคนยอมรับว่าเส้นตรงสองเส้นตัดกันที่จุดๆ 
เดียว รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีด้านตรงข้ามขนานกัน เป็นต้น ความจริงที่ทุกคนยอมรับเช่นนี้ 
เรียกว่า สัจพจน์ (postulate) 
การคิดหาเหตุผล (reasoning) ที่นามาใช้ จะต้องเป็นกระบวนการที่ทุกคนเห็นได้ชัดโดยปราศจากข้อสงสัย เช่น 
เราเห็นได้ชัดว่า ถ้า a  b และ b  c แล้ว จะได้ว่า a  c เป็นต้น กระบวนการที่เห็นได้โดยปราศจากข้อสงสัย 
เช่นนี้ เรียกว่า สมบัติ (property) หรือ สิ่งที่เห็นจริงแล้ว (axiom) 
สมบัติการเท่ากันทุกประการ 
กาหนดรูป A , รูป B และรูป C เป็นรูปเรขาคณิตใดๆ 
1. สมบัติสะท้อน รูป A  รูป A 
2. สมบัติสมมาตร ถ้ารูป A  รูป B แล้ว รูป B  รูป A 
3. สมบัติสะท้อน ถ้ารูป A  รูป B และ รูป B  รูป C แล้ว รูป A  รูป C 
สัจพจน์ในวิชาเรขาคณิต 
สัจพจน์ คือ ข้อความปกติทั่วไปยอมรับว่าเป็นเช่นนั้นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ 
สัจพจน์ที่ 1 ลากเส้นตรงผ่านจุดๆหนึ่งได้เป็นจานวนไม่จากัด (มีจานวนไม่สิ้นสุด) 
สัจพจน์ที่ 2 ลากเส้นตรงผ่านจุด 2 จุดได้เพียงเส้นเดียว 
สัจพจน์ที่ 3 มุมๆหนึ่งมีเส้นแบ่งครึ่งมุมได้เพียงเส้นเดียว 
สัจพจน์ที่ 4 ส่วนของเส้นตรงเส้นหนึ่งมีจุดแบ่งครึ่งเพียงจุดเดียว 
สัจพจน์ที่ 5 ส่วนของเส้นตรงที่มีความยาวเท่ากันย่อมทับกันสนิท 
สัจพจน์ที่ 6 มุมที่มีขนาดเท่ากันย่อมทับกันสนิท 
สัจพจน์ที่ 7 เส้นตรงสองเส้นตัดกันที่จุดๆเดียว 
สัจพจน์ที่ 8 ขนาดของส่วนใหญ่ย่อมแบ่งเป็นส่วนย่อยได้ ผลบวกของส่วนย่อยเท่ากับส่วนใหญ่ 
สัจพจน์ส่วนย่อยของส่วนใหญ่ 
(1) ส่วนย่อยของความยาวของส่วนของเส้นตรง 
จากรูปขวามือ จะได้ว่า 
AD AB BC CD 
AB  AD BD 
BC  AD ABCD 
A B C D
7 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
(2) ส่วนย่อยของขนาดของมุม 
ตัวอย่างที่ 1 ถ้า AD  9 ซ.ม. AB  3 ซ.ม. และ CD  4 ซ.ม. ดังรูป 
จงหาความยาวของ BC 
ตัวอย่างที่ 2 ถ้า AB CD  3 ซ.ม. และ AD  8 ซ.ม. ดังรูป 
จงหาความยาวของ BC 
ตัวอย่างที่ 3 ถ้า ( ) 60 , ( ) 25 o o m AOD  m AOB  และ ( ) 20o m COD  ดังรูป 
จงหาขนาดของมุม BOC 
ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ O เป็นจุดบน AB ที่ทาให้ ( ) 110o m AOD  และ ( ) 30o m BOC  
จงหาขนาดของมุม COD 
จากรูปซ้ายมือ จะได้ว่า 
mAOD  m(1) m(2) m(3) 
m1  m(AOD) m(2) m(3) 
O 
D C 
B 
A 
1 
3 
2 
A B C D 
A B C D 
O 
D 
C 
B 
A
8 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
การพิสูจน์โดยใช้สัจพจน์ และสมบัติการเท่ากัน 
ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ AB CD ดังรูป จงพิสูจน์ว่า AC  BD 
พิสูจน์ 
ข้อความ เหตุผล 
1. AB CD กาหนดให้ 
2. BC  BC 
3. AB BC CD BC 
4. AC  BD 
ตัวอย่างที่ 6 
พิสูจน์ 
ข้อความ เหตุผล 
1. m(CAB)  m(CBA) 
2. m(DAB)  m(DBA) 
3. m(CAB) m(DAB)  m(CBA) m(DBA) 
4. m(CAD)  m(CBD) 
5. CAD  CBD 
A B C D 
A 
D 
C 
B 
กาหนดให้ CAB  CBA และ DAB  DBA 
จงพิสูจน์ว่า CAD  CBD
9 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
แบบฝึกหัดที่ 3 
1. กาหนดให้ AC  BD ดังรูป จงพิสูจน์ว่า AB CD 
พิสูจน์ 
ข้อความ เหตุผล 
1. AC  BD 
2. BC  BC 
3. 
4. 
2. 
พิสูจน์ 
ข้อความ เหตุผล 
A B C D 
E D 
B C 
A 
กาหนดให้ AB  AC และ AD  AE 
จงพิสูจน์ว่า BD CE
10 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
3. 
พิสูจน์ 
ข้อความ เหตุผล 
4. 
พิสูจน์ 
ข้อความ เหตุผล 
E D 
B C 
A 
กาหนดให้ BD CE และ AD  AE 
จงพิสูจน์ว่า BA CA 
A 
D 
B C 
3 4 
1 2 
กาหนดให้  ABC และ DBC มี 1 2 และ 3 4 
ดังในรูป จงพิสูจน์ว่า ABC  ACB
11 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
5. 
พิสูจน์ 
ข้อความ เหตุผล 
สัจพจน์ เส้นตรงสองเส้นตัดกัน มุมตรงข้ามย่อมเท่ากัน 
พิสูจน์ 
ข้อความ เหตุผล 
A 
E 
D 
C 
B 
ˆ1 
ˆ3 
ˆ2 
กาหนดให้  ABC มี D และ E เป็นจุดบนด้าน BC 
ทาให้ mBAE  mCAD และกาหนดมุม 1 , 2 และ 
3 ดังรูป จงพิสูจน์ว่า 1 2 
2 
4 
3 1 
จากรูป จงพิสูจน์ว่า m1  m3 
และ m2  m4
12 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
สัจพจน์ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม 
รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะเท่ากันทุกประการด้วยความสัมพันธ์ต่อไปนี้ 
1. สัจพจน์ ด้าน – มุม – ด้าน (SAS Postulate) 
2. สัจพจน์ มุม – ด้าน – มุม (ASA Postulate) 
3. สัจพจน์ มุม – มุม – ด้าน (AAS Postulate) 
4. สัจพจน์ ด้าน – ด้าน – ด้าน (SSS Postulate) 
1. สัจพจน์ ด้าน – มุม – ด้าน (SAS Postulate) 
สามเหลี่ยมสองรูป ซึ่งด้านสองด้านยาวเท่ากัน และมุมระหว่างด้านมีขนาดเท่ากัน สามเหลี่ยมสองรูปนั้น 
เท่ากันทุกประการ 
ระหว่าง  ABC และ DEF 
ถ้า AB  DE , BC  EF และ mB  mE จะได้ว่า  ABCDEF 
2. สัจพจน์ มุม – ด้าน – มุม (ASA Postulate) 
สามเหลี่ยมสองรูป ซึ่งมุมสองมุมมีขนาดเท่ากัน และด้านระหว่างมุมเท่ามีความยาวเท่ากัน สามเหลี่ยมสอง 
รูปนั้นเท่ากันทุกประการ 
ระหว่าง  ABC และ DEF 
ถ้า m(B)  m(E) , m(C)  m(F) และ BC  EF จะได้ว่า  ABCDEF 
A 
B C 
D 
E F 
  
B C 
A 
  
E F 
D
13 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
3. สัจพจน์ มุม – มุม – ด้าน (AAS Postulate) 
สามเหลี่ยมสองรูป ซึ่งมุมสองมุมมีขนาดเท่ากัน และด้านที่ไม่อยู่ระหว่างมุมเท่า มีความยาวเท่ากัน สามเหลี่ยม 
สองรูปนั้นเท่ากันทุกประการ 
ระหว่าง  ABC และ DEF 
ถ้า m(A)  m(D) , m(B)  m(E) และ CA  FD จะได้ว่า  ABCDEF 
4. สัจพจน์ ด้าน – ด้าน – ด้าน (SSS Postulate) 
สามเหลี่ยมสองรูป ซึ่งมีด้านทั้งสามยาวเท่ากันตามลาดับ สามเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการ 
ระหว่าง  ABC และ DEF 
ถ้า AB DE , BC  EF และ CA  FD จะได้ว่า  ABCDEF 
A 
B C 
D 
E F 
A 
B C 
D 
E 
F
14 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
แบบฝึกหัดที่ 4 ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม 
รูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่ต่อไปนี้มีสิ่งที่เท่ากันตามเครื่องหมายแสดงความยาวของด้านและขนาดของมุมที่ กาหนดให้ จงบอกว่ารูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่เท่ากันทุกประการตามสัจพจน์ข้อใด 
………………………………………………………………………………………………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………………. 
………………………………………………………………………………………………………………………….
15 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
…………………………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………………………. 
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..
16 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
……………………………………………………………………………………………………….. 
…………………………………………………………………………………………………………. 
…………………………………………………………………………………………………………….
17 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
…………………………………………………………………………………………………. 
จากรูปจงพิจารณาข้อความในแต่ละข้อต่อไปนี้ 
1) AB  DE ............ 2) BC  FE ............ 
3) CA  DF ............ 4) BA  ED ............ 
5) BC  EF ............ 6) AC  FD ............ 
7) ABC  FED ............ 8) ACB  EFD ............ 
9) mACB  mDFE ............ 10) mBAC  mEDF ............
18 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
1) ด้านที่สมนัยกันยาวเท่ากัน คือ ………………………………………………………………………………………………………… 
2) ด้านที่สมนัยกันเท่ากันทุกประการ คือ ………………………………………………………………………………………………. 
3) มุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน คือ …………………………………………………………………………………………………….. 
4) มุมที่สมนัยกันเท่ากันทุกประการ คือ ………………………………………………………………………………………………. 
การพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม 
1. การพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการแบบ ด้าน – มุม – ด้าน (SAS) 
ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ AB และ CD ตัดกันที่จุด O ทาให้ OA OB และ OC OD 
จงพิสูจน์ว่า OAC และ OBD เท่ากันทุกประการ 
กา หนดให้ OAC และ OBD มี OAOB และ OC OD 
จะต้องพิสูจน์ว่า OAC  OBD 
พิสูจน์ ระหว่าง OAC กับ OBD 
ข้อความ เหตุผล 
1. OAOB 
2. AOC BOD 
3. OC OD
19 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้  ABC มี AD ตั้งฉากและแบ่งครึ่ง BC 
ที่จุด D จงพิสูจน์ว่า AB  AC 
กา หนดให้ AD BC ที่จุด D และ DBDC 
จะต้องพิสูจน์ว่า AB  AC 
พิสูจน์ ระหว่าง 
ข้อความ เหตุผล 
1. DBDC 
2. ADB ADC 
3. AD AD 
4.  ABD ACD 
5. AB AC 
6. AB AC 
แบบฝึกหัดที่ 5 การพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการแบบ ด้าน – มุม – ด้าน
20 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร
21 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร
22 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
2. การพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการแบบ มุม – ด้าน – มุม (ASA) 
ตัวอย่างที่ 3 กาหนดให้ AB และ CD ตัดกันที่จุด O ทาให้ OA OC และ mOAD  mOCB 
จงพิสูจน์ว่า ODAOBC 
A 
D 
C 
B
23 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
3. การพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการแบบ มุม – มุม – ด้าน (AAS) 
ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ AB และ CD ตัดกันที่จุด O ทาให้ AO CO และ mCBO  mADO 
จงพิสูจน์ว่า CBO ADO 
แบบฝึกหัดที่ 6 การพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการแบบ ด้าน – มุม – ด้าน และ มุม – มุม – ด้าน 
1. 
A 
O 
D 
C 
B
24 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
2. 
3. 
ADCB

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวTutor Ferry
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.kanjana2536
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว sawed kodnara
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลpeesartwit
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfssuser29b0ec
 

Was ist angesagt? (20)

เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูล
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
 

Andere mochten auch

แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51krupornpana55
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมkrupanida sornkheang
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

Andere mochten auch (10)

แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 

Ähnlich wie บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ

บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานsawed kodnara
 
Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5guest48c93e
 
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 ทับทิม เจริญตา
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550sawed kodnara
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 sawed kodnara
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549sawed kodnara
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7 (ijso) ปี พ.ศ.2553
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7  (ijso) ปี พ.ศ.2553ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7  (ijso) ปี พ.ศ.2553
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7 (ijso) ปี พ.ศ.2553sawed kodnara
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้ายkrookay2012
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)ทับทิม เจริญตา
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 9 (ijso) ปี พ.ศ.2555
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 9 (ijso) ปี พ.ศ.2555ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 9 (ijso) ปี พ.ศ.2555
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 9 (ijso) ปี พ.ศ.2555sawed kodnara
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์Krudodo Banjetjet
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
Mai p diamond2551
Mai p diamond2551Mai p diamond2551
Mai p diamond2551krulerdboon
 

Ähnlich wie บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ (20)

บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
Math2
Math2Math2
Math2
 
testM3-midterm1
testM3-midterm1testM3-midterm1
testM3-midterm1
 
Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5
 
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2550
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น (Ijso) ปี พ.ศ.2549
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7 (ijso) ปี พ.ศ.2553
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7  (ijso) ปี พ.ศ.2553ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7  (ijso) ปี พ.ศ.2553
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 7 (ijso) ปี พ.ศ.2553
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 9 (ijso) ปี พ.ศ.2555
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 9 (ijso) ปี พ.ศ.2555ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 9 (ijso) ปี พ.ศ.2555
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น ครั้งที่ 9 (ijso) ปี พ.ศ.2555
 
O net math3 y55
O net math3 y55O net math3 y55
O net math3 y55
 
สอบ
สอบ สอบ
สอบ
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
Mai p diamond2551
Mai p diamond2551Mai p diamond2551
Mai p diamond2551
 

Mehr von sawed kodnara

เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560sawed kodnara
 
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์sawed kodnara
 
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560sawed kodnara
 
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560sawed kodnara
 
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยsawed kodnara
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556sawed kodnara
 
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันsawed kodnara
 
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารบทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารsawed kodnara
 
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลsawed kodnara
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1sawed kodnara
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1sawed kodnara
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์sawed kodnara
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขsawed kodnara
 
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิตข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิตsawed kodnara
 
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูลข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูลsawed kodnara
 
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานsawed kodnara
 
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวันบทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวันsawed kodnara
 
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละบทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละsawed kodnara
 

Mehr von sawed kodnara (20)

เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
 
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
 
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
 
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
 
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
 
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
 
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารบทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
 
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
 
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิตข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
 
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูลข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
 
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
 
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวันบทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละบทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
 

บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ

  • 1. 1 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ เราทราบมาแล้วว่าในระนาบ (plane) เดียวกัน ถ้าเลื่อนรูปเรขาคณิตรูปหนึ่งไปยังอีกรูปหนึ่ง และสามารถทาให้ ทับกันสนิท (coincide) เรียกว่า รูปทั้งสองนั้นเท่ากันทุกประการ (congruent) ในที่นี้จะกล่าวถึงความเท่ากันทุกประการเป็น 4 กรณี คือ 1. ความเท่ากันทุกประการของส่วนของเส้นตรง 2. ความเท่ากันทุกประการของมุม 3. ความเท่ากันทุกประการของรูปหลายเหลี่ยม 4. ความเท่ากันทุกประการของรูปวงกลม เราใช้เครื่องหมาย “  ” แสดงความเท่ากันทุกประการ (ของสิ่งสองสิ่งที่ทับกันสนิท) เครื่องหมาย  แสดงความเป็นสิ่งเดียวกัน 1. ส่วนของเส้นตรงที่เท่ากันทุกประการ ส่วนของเส้นตรงที่เท่ากันทุกประการ คือ ส่วนของเส้นตรงที่สามารถเลื่อนให้ทับกันได้สนิท เช่น “ ส่วนของเส้นตรงที่เท่ากันทุกประการ จะมีความยาวเท่ากัน ” 2. มุมที่เท่ากันทุกประการ มุมที่เท่ากันทุกประการ คือ มุมที่สามารถเลื่อนให้จุดยอด และแขนของมุมทับกันสนิท เช่น A B ABAB A B A C B A C B ABˆC ABˆC
  • 2. 2 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 3. รูปหลายเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ รูปหลายเหลยี่มที่เท่ากันทุกประการ สามารถเลื่อนให้จุดยอดและด้านทับกันได้สนิท เช่น 4. วงกลมที่เท่ากันทุกประการ รูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการ ถ้าเลื่อนให้จุดศูนย์กลางทับกันแล้วเส้นรอบวงจะทับกันได้สนิท เช่น A D B C A D B C ABCD ABCD O B A O B A วงกลม O  ว ง ก ล ม O 
  • 3. 3 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร แบบฝึกหัดที่ 1 จงตอบคาถามในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) ถ้าส่วนของเส้นตรงสองเส้นเท่ากันทุกประการ ส่วนของเส้นตรงทั้งสองนั้นมีความยาวเท่ากัน หรือไม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2) ถ้าส่วนของเส้นตรงสองเส้นมีความยาวเท่ากัน ส่วนของเส้นตรงทั้งสองเส้นนั้น เท่ากันทุกประการ หรือไม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3) ถ้ามุมสองมุมเท่ากันทุกประการ มุมทั้งสองนั้นมีขนาดเท่ากัน หรือไม่ ……………………………………………………………. 4) ถ้ามุมสองมุมมีขนาดเท่ากัน มุมทั้งสองนั้นเท่ากันทุกประการ หรือไม่ ……………………………………………………………. 5) ถ้ารูปหลายเหลี่ยมสองรูปเท่ากันทุกประการ ด้านที่สมนัยกันเท่ากันทุกประการ หรือไม่ …………………………………. 6) ถ้ารูปหลายเหลี่ยมสองรูปมีมุมคู่ที่สมนัยกันเท่ากันทุกคู่ รูปหลายเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการ หรือไม่ ………………………………………………….……………………….. 7) ถ้ารูปหลายเหลี่ยมสองรูปเท่ากันทุกประการ ด้านที่สมนัยกันยาวเท่ากัน หรือไม่ …………………………………………… 8) ถ้ารูปหลายเหลี่ยมสองรูปมีด้านที่สมนัยกันเท่ากันทุกด้าน รูปหลายเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการ หรือไม่ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 9) ถ้ารูปหลายเหลี่ยมสองรูปเท่ากันทุกประการ มุมที่สมนัยกันเท่ากันทุกประการ หรือไม่ …………………………………… 10) ถ้ารูปหลายเหลี่ยมสองรูปเท่ากันทุกประการ มุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน หรือไม่ ………………………………………… 11) ถ้าวงกลมสองวงเท่ากันทุกประการ รัศมีหรือเส้นผ่านศูนย์กลางมีความยาวเท่ากัน หรือไม่ ……………………………… 12) รูปเรขาคณิตที่เท่ากันทุกประการมีพื้นที่เท่ากัน หรือไม่ ………………………………………………………………………………
  • 4. 4 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร ความสมนัย (correspondence) ความสมนัย คือ ความอยู่ในลาดับเดียวกัน เช่น  ABC DEF ดังรูป จากรูป ด้านที่สมนัยกันของ  ABC จะทากับ DEF ดังนี้ AB .......... หรือ AB  .......... AC .......... หรือ AC  .......... BC .......... หรือ BC  .......... และ มุมที่สมนัยกันของ  ABC จะทากับ DEF ดังนี้ 1 .......... หรือ m1  .......... 2  .......... หรือ m2  .......... 3  .......... หรือ m3  .......... สรุป “ ด้านที่สมนัยกัน ” อาจพูดอีกอย่างหนึ่งว่า “ ด้านทอี่ยู่ในลา ดับเดียวกัน ” “ มุมทสี่มนัยกัน ” อาจพูดอีกอย่างหนึ่งว่า “ มุมทอี่ยู่ในลา ดับเดียวกัน ” A B C 1 2 3 D E F 4 5 6
  • 5. 5 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร แบบฝึกหัดที่ 2 1) จงเขียนผลจากการเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่ต่อไปนี้ โดยใช้ลาดับอักษรให้ถูกต้อง 1. 2. 3. 4ภภ3 4.
  • 6. 6 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร การพิสูจน์ (Proof) การพิสูจน์ คือ การสรุปความจริงอย่างมีเหตุผลโดยมีหลักฐานยืนยัน หลักฐาน (premise) ที่นามาอ้างจะต้องเป็นสิ่งที่ทุกคนยอมรับ เช่น ทุกคนยอมรับว่าเส้นตรงสองเส้นตัดกันที่จุดๆ เดียว รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีด้านตรงข้ามขนานกัน เป็นต้น ความจริงที่ทุกคนยอมรับเช่นนี้ เรียกว่า สัจพจน์ (postulate) การคิดหาเหตุผล (reasoning) ที่นามาใช้ จะต้องเป็นกระบวนการที่ทุกคนเห็นได้ชัดโดยปราศจากข้อสงสัย เช่น เราเห็นได้ชัดว่า ถ้า a  b และ b  c แล้ว จะได้ว่า a  c เป็นต้น กระบวนการที่เห็นได้โดยปราศจากข้อสงสัย เช่นนี้ เรียกว่า สมบัติ (property) หรือ สิ่งที่เห็นจริงแล้ว (axiom) สมบัติการเท่ากันทุกประการ กาหนดรูป A , รูป B และรูป C เป็นรูปเรขาคณิตใดๆ 1. สมบัติสะท้อน รูป A  รูป A 2. สมบัติสมมาตร ถ้ารูป A  รูป B แล้ว รูป B  รูป A 3. สมบัติสะท้อน ถ้ารูป A  รูป B และ รูป B  รูป C แล้ว รูป A  รูป C สัจพจน์ในวิชาเรขาคณิต สัจพจน์ คือ ข้อความปกติทั่วไปยอมรับว่าเป็นเช่นนั้นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ สัจพจน์ที่ 1 ลากเส้นตรงผ่านจุดๆหนึ่งได้เป็นจานวนไม่จากัด (มีจานวนไม่สิ้นสุด) สัจพจน์ที่ 2 ลากเส้นตรงผ่านจุด 2 จุดได้เพียงเส้นเดียว สัจพจน์ที่ 3 มุมๆหนึ่งมีเส้นแบ่งครึ่งมุมได้เพียงเส้นเดียว สัจพจน์ที่ 4 ส่วนของเส้นตรงเส้นหนึ่งมีจุดแบ่งครึ่งเพียงจุดเดียว สัจพจน์ที่ 5 ส่วนของเส้นตรงที่มีความยาวเท่ากันย่อมทับกันสนิท สัจพจน์ที่ 6 มุมที่มีขนาดเท่ากันย่อมทับกันสนิท สัจพจน์ที่ 7 เส้นตรงสองเส้นตัดกันที่จุดๆเดียว สัจพจน์ที่ 8 ขนาดของส่วนใหญ่ย่อมแบ่งเป็นส่วนย่อยได้ ผลบวกของส่วนย่อยเท่ากับส่วนใหญ่ สัจพจน์ส่วนย่อยของส่วนใหญ่ (1) ส่วนย่อยของความยาวของส่วนของเส้นตรง จากรูปขวามือ จะได้ว่า AD AB BC CD AB  AD BD BC  AD ABCD A B C D
  • 7. 7 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร (2) ส่วนย่อยของขนาดของมุม ตัวอย่างที่ 1 ถ้า AD  9 ซ.ม. AB  3 ซ.ม. และ CD  4 ซ.ม. ดังรูป จงหาความยาวของ BC ตัวอย่างที่ 2 ถ้า AB CD  3 ซ.ม. และ AD  8 ซ.ม. ดังรูป จงหาความยาวของ BC ตัวอย่างที่ 3 ถ้า ( ) 60 , ( ) 25 o o m AOD  m AOB  และ ( ) 20o m COD  ดังรูป จงหาขนาดของมุม BOC ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ O เป็นจุดบน AB ที่ทาให้ ( ) 110o m AOD  และ ( ) 30o m BOC  จงหาขนาดของมุม COD จากรูปซ้ายมือ จะได้ว่า mAOD  m(1) m(2) m(3) m1  m(AOD) m(2) m(3) O D C B A 1 3 2 A B C D A B C D O D C B A
  • 8. 8 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร การพิสูจน์โดยใช้สัจพจน์ และสมบัติการเท่ากัน ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ AB CD ดังรูป จงพิสูจน์ว่า AC  BD พิสูจน์ ข้อความ เหตุผล 1. AB CD กาหนดให้ 2. BC  BC 3. AB BC CD BC 4. AC  BD ตัวอย่างที่ 6 พิสูจน์ ข้อความ เหตุผล 1. m(CAB)  m(CBA) 2. m(DAB)  m(DBA) 3. m(CAB) m(DAB)  m(CBA) m(DBA) 4. m(CAD)  m(CBD) 5. CAD  CBD A B C D A D C B กาหนดให้ CAB  CBA และ DAB  DBA จงพิสูจน์ว่า CAD  CBD
  • 9. 9 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร แบบฝึกหัดที่ 3 1. กาหนดให้ AC  BD ดังรูป จงพิสูจน์ว่า AB CD พิสูจน์ ข้อความ เหตุผล 1. AC  BD 2. BC  BC 3. 4. 2. พิสูจน์ ข้อความ เหตุผล A B C D E D B C A กาหนดให้ AB  AC และ AD  AE จงพิสูจน์ว่า BD CE
  • 10. 10 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 3. พิสูจน์ ข้อความ เหตุผล 4. พิสูจน์ ข้อความ เหตุผล E D B C A กาหนดให้ BD CE และ AD  AE จงพิสูจน์ว่า BA CA A D B C 3 4 1 2 กาหนดให้  ABC และ DBC มี 1 2 และ 3 4 ดังในรูป จงพิสูจน์ว่า ABC  ACB
  • 11. 11 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 5. พิสูจน์ ข้อความ เหตุผล สัจพจน์ เส้นตรงสองเส้นตัดกัน มุมตรงข้ามย่อมเท่ากัน พิสูจน์ ข้อความ เหตุผล A E D C B ˆ1 ˆ3 ˆ2 กาหนดให้  ABC มี D และ E เป็นจุดบนด้าน BC ทาให้ mBAE  mCAD และกาหนดมุม 1 , 2 และ 3 ดังรูป จงพิสูจน์ว่า 1 2 2 4 3 1 จากรูป จงพิสูจน์ว่า m1  m3 และ m2  m4
  • 12. 12 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร สัจพจน์ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะเท่ากันทุกประการด้วยความสัมพันธ์ต่อไปนี้ 1. สัจพจน์ ด้าน – มุม – ด้าน (SAS Postulate) 2. สัจพจน์ มุม – ด้าน – มุม (ASA Postulate) 3. สัจพจน์ มุม – มุม – ด้าน (AAS Postulate) 4. สัจพจน์ ด้าน – ด้าน – ด้าน (SSS Postulate) 1. สัจพจน์ ด้าน – มุม – ด้าน (SAS Postulate) สามเหลี่ยมสองรูป ซึ่งด้านสองด้านยาวเท่ากัน และมุมระหว่างด้านมีขนาดเท่ากัน สามเหลี่ยมสองรูปนั้น เท่ากันทุกประการ ระหว่าง  ABC และ DEF ถ้า AB  DE , BC  EF และ mB  mE จะได้ว่า  ABCDEF 2. สัจพจน์ มุม – ด้าน – มุม (ASA Postulate) สามเหลี่ยมสองรูป ซึ่งมุมสองมุมมีขนาดเท่ากัน และด้านระหว่างมุมเท่ามีความยาวเท่ากัน สามเหลี่ยมสอง รูปนั้นเท่ากันทุกประการ ระหว่าง  ABC และ DEF ถ้า m(B)  m(E) , m(C)  m(F) และ BC  EF จะได้ว่า  ABCDEF A B C D E F   B C A   E F D
  • 13. 13 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 3. สัจพจน์ มุม – มุม – ด้าน (AAS Postulate) สามเหลี่ยมสองรูป ซึ่งมุมสองมุมมีขนาดเท่ากัน และด้านที่ไม่อยู่ระหว่างมุมเท่า มีความยาวเท่ากัน สามเหลี่ยม สองรูปนั้นเท่ากันทุกประการ ระหว่าง  ABC และ DEF ถ้า m(A)  m(D) , m(B)  m(E) และ CA  FD จะได้ว่า  ABCDEF 4. สัจพจน์ ด้าน – ด้าน – ด้าน (SSS Postulate) สามเหลี่ยมสองรูป ซึ่งมีด้านทั้งสามยาวเท่ากันตามลาดับ สามเหลี่ยมสองรูปนั้นเท่ากันทุกประการ ระหว่าง  ABC และ DEF ถ้า AB DE , BC  EF และ CA  FD จะได้ว่า  ABCDEF A B C D E F A B C D E F
  • 14. 14 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร แบบฝึกหัดที่ 4 ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่ต่อไปนี้มีสิ่งที่เท่ากันตามเครื่องหมายแสดงความยาวของด้านและขนาดของมุมที่ กาหนดให้ จงบอกว่ารูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่เท่ากันทุกประการตามสัจพจน์ข้อใด ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………….
  • 15. 15 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………..
  • 16. 16 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร ……………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….
  • 17. 17 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร …………………………………………………………………………………………………. จากรูปจงพิจารณาข้อความในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) AB  DE ............ 2) BC  FE ............ 3) CA  DF ............ 4) BA  ED ............ 5) BC  EF ............ 6) AC  FD ............ 7) ABC  FED ............ 8) ACB  EFD ............ 9) mACB  mDFE ............ 10) mBAC  mEDF ............
  • 18. 18 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 1) ด้านที่สมนัยกันยาวเท่ากัน คือ ………………………………………………………………………………………………………… 2) ด้านที่สมนัยกันเท่ากันทุกประการ คือ ………………………………………………………………………………………………. 3) มุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน คือ …………………………………………………………………………………………………….. 4) มุมที่สมนัยกันเท่ากันทุกประการ คือ ………………………………………………………………………………………………. การพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม 1. การพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการแบบ ด้าน – มุม – ด้าน (SAS) ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ AB และ CD ตัดกันที่จุด O ทาให้ OA OB และ OC OD จงพิสูจน์ว่า OAC และ OBD เท่ากันทุกประการ กา หนดให้ OAC และ OBD มี OAOB และ OC OD จะต้องพิสูจน์ว่า OAC  OBD พิสูจน์ ระหว่าง OAC กับ OBD ข้อความ เหตุผล 1. OAOB 2. AOC BOD 3. OC OD
  • 19. 19 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้  ABC มี AD ตั้งฉากและแบ่งครึ่ง BC ที่จุด D จงพิสูจน์ว่า AB  AC กา หนดให้ AD BC ที่จุด D และ DBDC จะต้องพิสูจน์ว่า AB  AC พิสูจน์ ระหว่าง ข้อความ เหตุผล 1. DBDC 2. ADB ADC 3. AD AD 4.  ABD ACD 5. AB AC 6. AB AC แบบฝึกหัดที่ 5 การพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการแบบ ด้าน – มุม – ด้าน
  • 20. 20 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร
  • 21. 21 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร
  • 22. 22 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 2. การพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการแบบ มุม – ด้าน – มุม (ASA) ตัวอย่างที่ 3 กาหนดให้ AB และ CD ตัดกันที่จุด O ทาให้ OA OC และ mOAD  mOCB จงพิสูจน์ว่า ODAOBC A D C B
  • 23. 23 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 3. การพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการแบบ มุม – มุม – ด้าน (AAS) ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ AB และ CD ตัดกันที่จุด O ทาให้ AO CO และ mCBO  mADO จงพิสูจน์ว่า CBO ADO แบบฝึกหัดที่ 6 การพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการแบบ ด้าน – มุม – ด้าน และ มุม – มุม – ด้าน 1. A O D C B
  • 24. 24 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 2. 3. ADCB