SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)




ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา




 - เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มี โครงสร๎างเซลล์แบบโพรคาริโอต (prokaryotic cell) คือ ไมํมีเยื่อ
หุ๎มนิวเคลียส สารพันธุกรรมลอยอยูํในไซโตพลาสซึม แบคทีเรียมีสารพันธุกรรมเป็น DNA สายคูํ
ที่ไมํมีโปรตีนฮิสโทนเกาะ เป็น DNA เปลือย (Naked DNA) และมีลักษณะเป็นรูปวงแหวน
(Circular DNA) (สิ่งมีชีวิตอื่นๆทุกอาณาจักรมีโครงสร๎างเซลล์แบบยูคารีโอต =eukaryotic cell)
   - ไมํมีออร์แกเนลล์ชนิดมีเยื่อหุ๎มเชํน รํางแหเอนโดพลาสซึม กอลจิคอมเพลกซ์ ไลโซโซม
คลอโรพลาสต์ ไมโตคอนเดรีย มีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไมํมีเยื่อหุ๎มคือไรโบโซม
   - มีผนังเซลล์ที่มี เปปติโดไกลแคน เป็นสํวนประกอบ ดารงชีวิตเป็นผู๎ยํอยสลาย
  - มีรูปรําง 3 แบบ คือ กลม แทํง เกลียว
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา แบ่งเป็น 2 อาณาจักรย่อย (subkingdom) คือ

       1. subkingdom Archaebacteria อาร์เคียแบคทีเรีย เป็นแบคทีเรียที่สามารถ
ดารงชีวิตอยูํในสภาพแวดล๎อมที่สิ่งมีชีวิตอื่นอยูํไมํได๎
       2. subkingdom Eubacteria ยูแบคทีเรีย เป็นแบคทีเรียที่แท๎จริงพบทั่วๆไป




1.อาณาจักรย่อย อาร์เคียแบคทีเรีย(Archaebacteria)
  ผนังเซลล์ไมํมีเพปทิโดไกลแคน ดารงชีวิตในแหลํงน้าพุร๎อน ทะเลที่มีน้าเค็มจัด บริเวณที่มี
ความเป็นกรดสูง และบริเวณทะเลลึก แบํงออกเป็น 2 กลุํม คือ

    1.1 กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota) ซึ่งสร๎างมีเทนและชอบความเค็มจัด เชํน




                                  Red aerobic halophilic archaebacteria

     1.2 กลุ่มครีนาร์เคียโอตา (Crenarchaeota) ซึ่งชอบอุณหภูมิสูงและกรดจัด




                                     Pyrodictium                          Pyrolobus
2. อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria)
       1.กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
           2. กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)
           3. กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes)
           4. กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)
           5. กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)

กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
   -พวกสังเคราะห์แสงได๎ เชํน เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย (purple-sulfur bacteria)
  -พวกชํวยตรึงแก๏สไนโตรเจนในอากาศ มาสร๎างเป็นสารประกอบไนโตรเจนในดิน เชํน ไรโซเบียม
(Rhizobium sp.) ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว




กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)
 -เป็นปรสิตในเซลล์สัตว์ทาให๎เกิดโรคติดตํอทางเพศสัมพันธ์ เชํน โรคโกโนเรีย หรือหนองใน เป็นต๎น




กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes)
  -มีรูปทรงเกลียว ดารงชีวิตแบบอิสระแตํบางสปีชีส์เป็นสาเหตุของโรคซิฟิลิส หรือโรคฉี่หนู
กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)
    -เป็นพวกผลิตกรดแลกติกได๎จึงนามาใช๎ในอุตสาหกรรมอาหาร ได๎แกํ การทาเนย ผักดองและโย
เกิร์ต; Steptomyces sp.ใช๎ทายาปฏิชีวนะ เชํน ยาสเตร็บโตมัยซิน ยาเตตราไซคลิน ; Bacillus sp
     -สามารถสร๎างเอนโดสปอร์(endospore) ทาให๎ทนทานตํอสภาพแวดล๎อมที่ไมํเหมาะสมได๎ดี บาง
ชนิดเป็นสาเหตุทาให๎เกิดโรคแอนแทรกซ์




กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)
   -เป็นยูแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด๎วยแสงได๎ มีรงควัตถุพวกคลอโรฟิลล์เอ แคโรทีนอยด์ และ
ไฟโคบิลินอยูํภายในถุงแบน ๆ ที่เยื่อหุ๎มเซลล์ จึงเป็นผู๎ผลิตที่สาคัญในระบบนิเวศ พบแพรํกระจายใน
สภาพแวดล๎อมที่หลากหลายทั้งในแหลํงน้าจืด น้าเค็ม และภายในน้าแข็งของมหาสมุทร เป็นต๎น
   -จากหลักฐานซากดึกดาบรรพ์ ทาให๎นักวิทยาศาสตร์คาดคะเนได๎วําไซยาโนแบคทีเรียทาให๎
ก๏าซออกซิเจนในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้นในโลกยุคนั้นและกํอให๎เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดย
ใช๎ออกซิเจนในปัจจุบัน
   -ตัวอย่าง เชํน แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และ ออสิลลาทอเรีย (Oscillatoria)
สามารถตรึงแก๏สไนโตเจนในอากาศ ให๎เป็นสารประกอบไนเตรต




          แอนาบีนา                              นอสตอก

ไมโคพลาสมา(Mycoplasma) เป็นแบคทีเรียแกรมบวกเซลล์ที่ไมํมีผนังเซลล์ มีเพียงเยื่อหุ๎มเซลล์ที่
ประกอบด๎วยชั้นของไขมัน สํวนใหญํไมํกํอให๎เกิดอันตรายตํอสิ่งมีชีวิตอื่น แตํมีบางพวกทาให๎เกิดโรค
ปอดบวมนคนและวัว
 ประโยชน์ของแบคทีเรีย
1. เนื่องจากดารงชีวิตแบบภาวะยํอยสลายจึงทาให๎เกิดการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ มีการนามาใช๎
กาจัดขยะที่มีมากในเมืองใหญํ
2. ใช๎สลายคราบน้ามันบริเวณชายฝั่งและในทะเล
3. ใช๎กาจัดสารเคมีตกค๎างจากการเกษตร
4. แบคทีเรียที่สามารถตรึงไนโตรเจน ชํวยเพิ่มไนโตรเจนในดิน
5. ใช๎ผลิตสารเคมีเชํน แอซีโตน กรดแลกติก
6. ใช๎ผลิตยาปฏิชีวนะและผลิตภัณฑ์อาหาร น้าส๎มสายชู ปลาร๎า ผักดอง
 ปลาส๎ม นมเปรี้ยว และเนยแข็งโทษของแบคทีเรีย
เป็นสาเหตุทาให๎เกิดโรคหลายชนิด                                   ไมโคพลาสมา
อาณาจักรโปรติสตา (Kingdom Protista)
ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักร
 มีลักษณะสาคัญคือสํวนใหญํเป็นพวกที่มีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ แตํเซลล์ยังไมํมีการจัดตัวกันเป็น
เนื้อเยื่อดังเชํนพืชและสัตว์ สิ่งมีชีวิตบางชนิดในกลุํมนี้ ยังมีลักษณะของทั้งพืชและสัตว์รํวมกัน กลําวคือ
ในเซลล์มีคลอโรฟิลล์เชํนเดียวกับพืช แตํมีโครงสร๎างที่ใช๎ในการเคลื่อนที่ได๎เชํนเดียวกับสัตว์ ดังนั้น นัก
ชีววิทยาจึงจัดสิ่งมีชีวิตพวกนี้ไว๎เป็นอาณาจักรที่แยกออกจากกลุํมสัตว์และพืช
โครงสร๎างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก (Eucaryotic) และ ไมํมีระยะตัวอํอน (Embryo)




1.ดิโพลโมนาดิดา(Diplomonadida)และ พาราบาซาลา(Parabasala)
     เป็นกลุํมของโพรทิสต์ที่เป็นเซลล์ยูคาริโอตที่ยังไมํมีออร์แกเนลล์ คือ ไมํมีไมโทคอนเดรีย
รํางแหเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม กอลจิคอมเพลกซ์และเซนทริโอล

-ดิโพลโมแนด (Diplomonads) เป็นโพรทิสต์ที่มีแฟลเจลลาหลายเส๎น มีนิวเคลียส 2
อัน เชํน Giardia lamblia เป็นปรสิตในลาไส๎ของคน

-พาราบาซาลิด (Parabasalid) เป็นโพรทิสต์ที่มีแฟลเจลลาเป็นคูํและผิวเยื่อหุ๎มเซลล์มีลักษณะเป็น
รอยหยักคล๎ายคลื่น เชํน ไตรโคนิมฟา (trichonympha) ที่อาศัยอยูํในลาไส๎ปลวก จะดารงชีวิตแบบ
ภาวะพึ่งพา โดยสร๎างเอนไซม์ยํอยเซลลูโลสในไม๎ให๎กับปลวกและ ไตรโคโมแนส (trichomonas) เป็น
โพรทิสต์ที่ทาให๎เกิดอาการติดเชื้อในชํองคลอด
2.ยูกลีโนซัว(Euglenozoa) เป็นโพรทิสต์กลุํมที่เคลื่อนที่โดยใช๎แฟลเจลลาและขณะเคลื่อนที่รูปรําง
จะไมํคงที่ มีเซลล์เดียว ไมํมีผนังเซลล์ บางชนิดมีรงควัตถุพวกคลอโรฟิลล์จึงสามารถสร๎างอาหารเอง
ได๎โดยกระบวนการสังเคราะห์ด๎วยแสง พบดารงชีวิตในแหลํงน้าจืดเป็นสํวนใหญํโดยเฉพาะบริเวณที่มี
อินทรียสารมาก จึงเป็นสาเหตุทาให๎เกิด water bloom เชํนเดียวกับพวกสาหรํายสีเขียว มีการสืบพันธุ์
แบบไมํอาศัยเพศ สิ่งมีชีวิตกลุํมนี้ได๎แกํ ยูกลีนา และ ทริปพาโนโซมที่ทาให๎เกิด โรคเหงาหลับ
(African sleeping sickness)




                 ยูกลีนา                                     ทริปพาโนโซม

3. แอลวีโอลาตา (Alveolata) เป็นโพรทิสต์เซลล์เดียวที่มีลักษณะรํวมกันคือ มีชํองวํางเล็กๆใต๎เยื้อ
หุ๎มเซลล์ที่เรียกวํา แอลวีโอไล (alveoli) ซึ่งยังไมํทราบหน๎าที่ที่ชัดเจน โพรทิสต์ในกลุํมนี้ประกอบด๎วย
ไดโนแฟลเจลเลต เป็นโพรทิสต์เซลล์เดียวที่มีสารสีแคโรทีนและคลอโรฟิลล์ในพลาสติก มีบทบาทเป็น
ผู๎ผลิตที่สาคัญในระบบนิเวศเคลื่อนที่โดยใช๎แฟลเจลลา 2 เส๎น ในแนวขวางและแนวดิ่ง พบเป็นจานวน
มากบริเวณใกล๎ผิวน้า บางชนิดมีแผํนเซลลูโลสหลายๆแผํนประกอบกันคล๎ายเกราะ มีลวดลายสวยงาม
โพรทิสต์กลุํมนี้บางชนิดมีการสะสมสารพิษในตัว




เมื่อในน้าทะเลมีสารอินทรีย์จากมลภาวะซึ่งเป็นแหลํงอาหารของไดโนแฟลเจลเลต ไดโนแฟลเจลเลตจึง
มีการเพิ่มจานวนอยํางรวดเร็ว ทาให๎ทะเลมีสีแดงเกิด ปรากฏการณ์ขปลาวาฬ (red tide) ขึ้น ทาให๎
                                                              ี้
เพิ่มปริมาณสารพิษของโซํอาหารในทะเล เป็นอันตรายตํอสัตว์น้าเป็นจานวนมาก
4.เอพิคอมเพลซา (Apicomplexa) เป็นโพรทิสต์ที่มีขนาดเล็กสํวนใหญํดารงชีวิตเป็นปรสิต มี
โครงสร๎างสาหรับแทงผํานเซลล์โฮสต์ไมํมีโครงสร๎างในการเคลื่อนที่ ยกเว๎นในเซลล์สืบพันธุ์เพศผู๎
ตัวอยํางของโพรทิสต์กลุํมนี้ได๎แกํ พลาสโมเดียม (Plasmodium) ทาให๎เกิดโรคมาลาเลียในคนและ
สัตว์อื่นๆโดยมียุงก๎นปลํองเป็นพาหะ
5. Ciliate เป็นโพรทิสต์ที่ใช๎ซิเลียในการเคลื่อนที่อาศัยอยูํในสภาพแวดล๎อมที่มน้าหรือมีความชื้นสูง
                                                                              ี
โพรทิสต์กลุํมนี้มีความหลากหลายทางสปีชีส์มากที่สุด ตัวอยํางสัตว์ในกลุํมนี้เชํน พารามีเซียม,
วอร์ติเซลลา เป็น




4.สตรามีโนพิลา เป็นโพรทิสต์ที่สํวนใหญํสร๎างอาหารโดยกระบวนการสังเคราะห์ด๎วยแสง
  เรียกกันทั่วไปวํา สาหร่ายหรือแอลจี (Algae)
ลักษณะร่วมกันของโพรทิสต์กลุ่มนี้ คือ
          1. เซลล์สืบพันธุ์มีแฟลเจลลาที่มีขนและไมํมีขน
          2. มีรงควัตถุพวกฟิวโคแซนทินทาให๎มีสีน้าตาล
          3. พบได๎ทั้งในแหลํงน้าจืดและแหลํงน้าเค็ม

    ตัวอย่างของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มนี้ ได๎แกํ สาหร่ายสีน้าตาล ไดอะตอม

สาหร่ายสีน้าตาล (brown algae) ได๎แกํ สาหรํายเคลป์ (kelp) สาหรํายทุํน หรือ
   ซากัสซัม (Sargassum sp.) ลามินาเรีย (Laminaria sp.) พาไดนา (Padina sp.)
   และฟิวกัส(Fucus sp.) มีลักษณะสาคัญดังนี้ คือ
       1. มีรงควัตถุสีน้าตาลที่เรียกวําฟิวโคแซนทินมากกวําแคโรทีนและคลอโรฟิลล์
       2. เป็นสาหรํายที่มีขนาดใหญํ มีโครงสร๎างซับซ๎อนมากที่สุด
       3. อาศัยอยูํในทะเลมักอยูํในกระแสน้าเย็น
       4. มีความสาคัญตํอสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูํในน้าโดยเป็นแหลํงอาหาร ที่อยูํอาศัยและใช๎ใน
   การหลบภัย
       5. มีคุณคําทางเศรษฐกิจ เชํน สาหรํายทุํนหรือซากัสซัมเป็นสาหรํายที่มีไอโอดีนสูง
   สาหรํายลามินาเรีย พาไดนาและฟิวกัส นามาใช๎ในการผลิตปุ๋ยโพแทสเซียม
ไดอะตอม (Diatom) เป็นสาหรํายที่พบมากที่สุดในกลุํมนี้ที่สารวจพบแล๎วมี 5,000 ชนิด
   มีลักษณะสาคัญดังนี้ คือ
          1. เซลล์ประกอบด๎วยฝา 2 ฝาครอบกันสนิท ผนังเซลล์ประกอบด๎วยซิลิกาแข็งแรงและ
   คงรูป ไมํสลายตัวได๎งําย
          2. มีสีเหลืองหรือน้าตาลแกมเหลือง
          3. มีปริมาณมากทั้งในแหลํงน้าจืดและแหลํงน้าเค็ม
          4. เป็นแหลํงอาหารที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ มีการสะสมอาหารในรูปของน้ามัน
          5. ซากของไดอะตอมที่ตายทับถมกันนาน ๆ จะกลายเป็นสํวนของพื้นดินใต๎แหลํงน้า
   ที่เรียกวํา ไดอะตอมเอเชียเอิร์ท (diatomaceous earth)
          6. เป็นแหลํงรวมของแรํธาตุและน้ามันซึ่งนามาใช๎ประโยชน์ในการทาไส๎กรองและยาขัด
   เครื่องเงิน ยาสีฟัน การฟอกสี




5.โรโดไฟตา (Rhodophyta) ได๎แกํพวก สาหรํายสีแดง
สาหรํายสีแดง (red algae รงควัตถุภายในพลาสติดที่มีปริมาณมากนั้นมีสีแดง ไฟโคอิริทริท
(Phycoerythrin) ไฟโคไซยานิน (Phycocyanin) รวมอยูํในพลาสติดด๎วย คลอโรฟิลด์ เอ ซึ่งเป็นรงค
วัตถุหลักในการสังเคราะห์แสง
ตัวอยํางของสาหรํายในไฟลัมนี้ ได๎แกํ
      - พอร์ไฟรา (Porphyra) เมื่อตากแห๎งแล๎วใช๎ใสํแกงจืดที่เรียกกันวํา จีฉําย กราซิลาเรีย (Gracilaria)
นามาสกัดสารคาร์แรกจิแนน (carrageenan) ใช๎ในการทาวุ๎น (agar) ซึ่งมีความสาคัญในการทาอาหาร
เลี้ยงจุลินทรีย์ ทาเครื่องสาอาง ทายาขัดรองเท๎า ครีมโกนหนวด เคลือบเส๎นใย ใช๎ทาแคปซูลยา ทายา
และใช๎เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เห็ดรา และราเมือก
      - กราซิลาเรีย (Gracilaria) นาสารสกัดสารคาร์แรกจิแนน (Carrageenan) ใช๎ในการทาวุ๎น (agar)
ซึ่งมีความสาคัญในการทาอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ ทาเครื่องสาอาง ทายาขัดรองเท๎า ครีมโกนหนวด
เคลือบเส๎นใย ใช๎ทาแคปซูลยา ทายา และใช๎เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ความสาคัญ
1. Porphyra (จีฉําย)ใสํแกงจืด
2.Gracilaria ต๎นเครามังกร หรือสาหรํายวุ๎น สกัดได๎วุ๎น

6.คลอโรไฟตา (Chlorophyta) ได๎แกํสาหรํายสีเขียว ( green algae) (มีมากเกิดปรากฎการณ์
เรียกวํา วอเตอร์บลูม
ลักษณะ
1. จานวนเซลล์มีทั้งพวกเซลล์เดี่ยวหรือหลายเซลล์ตํอกันเป็นสายยาว หรือรวมกันเป็นกลุํม มีทั้ง
เคลื่อนที่ได๎ และเคลื่อนที่ไมํได๎
 - พวกหลายเซลล์ตํอกันเป็นสายยาว เชํน ยูโลทริกซ์ (Ulothrix) อีโดโกเนียม (Oedogonium)
   สไปโรไจรา หรือเทาน้า (Spirogyra)
 - พวกหลายเซลล์เป็นกลุํม (Clolnial forms) เชํน วอลวอกซ์ (Volvox) เพดิแอสดรัม (Pediastrum)
ซีนเตสมัน (Scenedesmus)
2. รงควัตถุที่พบจะเป็นเชํนเดียวกับที่พบในพืชชั้นสูง คือ มีคลอโรฟิลล์ เอ, คลอโรฟิลล์ บี, คาโรทีน
และแซนโทฟิลล์
3. โครงสร๎างของผนังเซลล์ ประกอบด๎วย เซลลูโลส (Cellulose) บางชนิดมีเพกติน (Pectin) เคลือบอยูํ
ภายนอกบาง ๆ บางชนิดมีแคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium Carbonate)
4. อาหารที่เก็บไว๎ก็คือ ไพรีนอยด์ (Pyrenoids) อยูํในเม็ดคลอโรพลาสต์ เข๎าใจวําไพรีนอยด์เป็น
โครงสร๎างที่มีโปรตีนเป็นแกนกลาง และมีแผํนแป้งหุ๎มล๎อมรอบอยูํ
ความสาคัญ เป็นสารอาหาร เชํน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และวิตามิน สูง
Plastid สีเขียวในสาหรํายจะมีโครงสร๎างคล๎ายคลึงกับ chloroplast ของพืช ซึ่งสันนิษฐานวําเกิดจาก
endosymbiosis ของสิ่งมีชีวิตโบราณ

สาหร่ายไฟ หรือสโตนเวิร์ตส์ เป็นสาหรํายน้าจืดมีขนาดใหญํ แตกกิ่งแขนงคล๎ายพืชชั้นสูง แตกกิ่ง
เป็นวง ( Whoried) มีไรซอยด์ยึดเกาะพื้นดินทาหน๎าที่คล๎ายราก และไรซอยด์ยังชํวยขยายพันธุ์แบบไมํ
อาศัยเพศได๎อีกด๎วย ทัสลัส มีลักษณะเป็นข๎อ ( node) และปล๎อง ( intornode) เหมือนพืชชั้นสูง การ
แตกกิ่งจะแตกออกบริเวณข๎อและที่ข๎อจะมีเซลล์ที่เจริญเติบโตจากัดเป็นเกล็ดเล็ก ๆ อยูํรอบข๎อมักจะ
เรียกกันวํา ใบ โครงสร๎างที่สร๎างเซลล์สืบพันธุ์มีลักษณะคล๎ายพืชพวกมอส แทนที่จะเป็นเซลล์เดียว
อยํางของสาหรํายสีเขียว ความเห็นบางทํานจึงเชื่อวําสาหรํายไฟในไคาโรไฟต์มีวิวัฒนาการสูงสุดใน
บรรดาสาหรํายด๎วยกัน




7.ไมซีโทซัว โพรทิสต์กลุํมนี้เรียกทั่วไปวํา ราเมือก (slime mold)
   -เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีชํวงชีวิตคล๎ายสัตว์และพืชปนกัน มี 2 กลุํม คือ
    ราเมือกชนิด พลาสโมเดียม (plasmodial slime mold) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีหลายนิวเคลียส
    ราเมือกชนิดเซลลูลาร์ (cellular slime mold) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มี 1 นิวเคลียสและอยูํได๎อิสระ
ตัวอย่างโพรทิสต์กลุ่มไมซีโทซัว ได๎แกํ สเตโมนิทิส (Stemonitis sp.) ไฟซาลัม (Physalum sp.)

ลักษณะสาคัญของราเมือกมีดังนี้ คือ
          1. มีลักษณะคล๎ายเมือกสีขาว สีส๎ม สีเหลือง สีแดง หรือ สีมํวง
          2. พบในบริเวณที่ชื้นแฉะและตามขอนไม๎ หรือใบไม๎เนําเปื่อย
          3. ดารงชีวิตแบบภาวะมีการยํอยสลาย (saprophytism) แตํมีบางชนิดดารงชีวิตแบบปรสิต
          4. เป็นเซลล์ยูคาริโอต ไมํมีผนังเซลล์ ไมํมีคลอโรฟิลล์ ประกอบด๎วยกลุํมของโพรโทพลาซึม
     ที่แผํกระจายมีลักษณะเป็นเมือก
          5. การสืบพันธุ์คล๎ายสัตว์กับพืชในภาวะปกติจะมองดูคล๎ายรํางแห เรียกวํา พลาสโมเดียม
     (plasmodium) เคลื่อนที่และกินอาหารแบบอะมีบา พอระยะสืบพันธุ์ราเมือกจะสร๎างอับสปอร์
    ภายในสปอร์มีผนังเซลล์ เป็นสารเซลลูโลสเชํนเดียวกับพืช
ความรู้เพิ่มเติม
         สาหรับพวกไรโซโพดา (Rhizopoda) ซึ่งเป็นโพรทิสต์ที่เคลื่อนที่และกินอาหารโดย
   การสร๎างเท๎าเทียม (pseudopodium) นั้นนักอนุกรมวิธานยังไมํสามารถจัดให๎อยูํในสาย
   วิวัฒนาการกลุํมใดได๎ เพราะมีการศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของโพรทิสต์กลุํมนี้น๎อยมาก
   เชํน อะมีบา (Amoeba) อาศัยอยูํได๎ทั้งในดิน แหลํงน้าจืดและแหลํงน้าเค็ม สํวนใหญํ
   ดารงชีวิตแบบอิสระ แตํบางสปีชีส์เป็นปรสิต ที่สาคัญเชํน Entamoeba histolytica
   เป็นสาเหตุของโรคบิดในคน เป็นต๎น
อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi)

สิ่งมีชีวิตที่อยูํในอาณาจักรฟังไจ ประกอบด๎วย รา เห็ด และยีสต์

ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรฟังไจ
1. เซลล์เป็นแบบ Eucaryotic cell มีเยื่อหุ๎มนิวเคลียส
2. ผนังเซลล์เป็นสารไคตินกับเซลลูโลส
3.ไมํมีคลอโรฟิลล์ ดารงชีวิตเป็นผู๎ยํอยสลายสารอินทรีย์ที่เนําเปื่อย
4. มีทั้งเซลล์เดียวและเป็นเส๎นใยเล็ก เรียกวําไฮฟา (Hypha) รวมกลุํม เรียกวําขยุ๎มรา
(mycelium) ลักษณะของเส๎นใยแบํงออกเป็น 2 ชนิด
         4.1 เส๎นใยมีผนังกั้น (Septate hypha)
         4.2 เส๎นใยที่ไมํมีผนังกั้น (Nonseptate hypha or coencytic hypha)




-สํวนยีสต์ เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แตํอาจมีการตํอกันเป็นสาย
-เส๎นใยของฟังไจอาจเปลี่ยนแปลงแปลงรูปรํางเพื่อทาหน๎าที่พิเศษ ได๎แกํ
  -Haustorium เป็นเส๎นใยที่ยื่นเข๎าเซลล์โฮสต์ เพื่อดูดอาหารจากโฮสต์ พบในราที่เป็นปรสิต
  -Rhizoid มีลักษณะคล๎ายรากพืชยื่นออกจากไมซีเลียม เพื่อยึดให๎ติดกับผิวอาหารและชํวยดูด
    ซึมอาหารด๎วย เชํนราขนมปัง

สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบํงเป็น 4 ไฟลัม คือ
    1. ไฟลัมไซโกไมโคตา ( Phylum Zygomycota)
    2. ไฟลัมแอสโคไมโคตา ( Phylum Ascomycota)
    3. ไฟลัมเบสิดิโอไมโคตา ( Phylum Basidiomycota)
    4. ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตา ( Phylum Deuteromycota)

ไฟลัมไคทริดิโอไมโคตา ( Phylum Chytridiomycota)
เรียกทั่วไปวํา “ไคทริด(Chytrid)
ลักษณะสาคัญ
1.มีไฮฟาแบบไมํมีผนังกั้น
2.ผนังเซลล์ประกอบด๎วยไคตินและกลูโคส
3.สปอร์มีแฟลกเจลลาเส๎นเดียว(zoospore)
4.มีการสืบพัน์แบบไมํอาศัยเพศโดยการผลิตสปอร์
ที่มีแฟลกเจลลา (flagellated zoospore) และการ
สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการปฏิสนธิระหวํางเสปิร์ม
กับไขํ
5.เป็นกลุํมเชื้อราโบราณ(primitive)กวําราในกลุํมอื่นๆ
6.สํวนใหญํอาศัยอยูํในแหลํงน้า
7.เป็นปรสิตในโพรทิสต์ พืช และสัตว์น้า กบ
ไฟลัมไซโกไมโคตา ( Phylum Zygomycota) ราที่มีวิวัฒนาการต่า

เป็นพวกราดา (RhiZopus) และราขนมปัง
ลักษณะ
1. เส๎นใยชนิดไมํมีผนังกั้น
4. ดารงชีวิตแบบปรสิต(Parasite) และผู๎ยํอยสลาย (saprophyte) ต๎องการความชื้น
5. การสืบพันธุ์
- แบบไมํอาศัยเพศ สร๎างสปอร์ เรียกวํา sporangiospore
- แบบอาศัยเพศ ในสภาพแวดล๎อมไมํเหมาะสม สร๎างสปอร์ เรียกวํา zygospore
โดย gametangium สร๎างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู๎และเพศเมียอยูํตํางไมซีเลียมกัน สปอร์ที่ได๎จาก
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมีขนาดเล็กและจานวนน๎อยกวําแบบไมํอาศัยเพศ

 ประโยชน์
1. Rhizopus oryzae ผลิตแอลกอฮอล์        2. R. nigricans ผลิตกรดฟูตริก
โทษ ทาให๎เกิดโรคในพืชและสัตว์
ไฟลัมแอสโคไมโคตา ( Phylum Ascomycota)
ตัวอย่าง ราแดง โมเรล ทรัฟเฟิล ยีสต์
ลักษณะ
1. เป็นพวกมีเส๎นใยมีผนังกั้นและเป็นราคล๎ายถ๎วย (cup fungi) และเซลล์เดียว ได๎แกํ ยีสต์
2. ดารงชีวิตบนบก
3. การสืบพันธุ์
- แบบไมํอาศัยเพศ สร๎างสปอร์เรียกวํา conidia ที่ปลายไฮฟา สํวนยีสต์จะแตกหนํอ
- แบบอาศัยเพศ สร๎างสปอร์ ที่มีชื่อวํา ascospore อยูํในถุงเรียกวํา ascus
ประโยชน์
1. Saccharomyces cerevisiae ใช๎ผลิตแอลกอฮอล์ และมีโปรตีนสูง
2. Monascus sp. ใช๎ผลิตข๎าวแดงและเต๎าหู๎ยี้
โทษ เกิดโรคกับคนและสัตว์




                                      Ascomycetes


ไฟลัมเบสิดิโอไมโคตา ( Phylum Basidiomycota)
ลักษณะ
1. เส๎นใยมีผนังกั้นและรวมตัวอัดแนํนเป็นแทํงคล๎ายลาต๎น เชํน ดอกเห็ด
2. การสืบพันธุ์
- แบบไมํอาศัยเพศ สร๎างสปอร์เรียกวํา codiospore ใน conidia
- แบบอาศัยเพศ สร๎างสปอร์ที่สร๎างโดยอาศัยเพศสร๎างบนอวัยวะคล๎ายกระบองหรือเบสิเดียม
(basidium) เรียกวํา แบสิดิโอสปอร์ (basidiospore)
ประโยชน์ ใช๎เป็นแหลํงอาหาร
โทษ
1. ทาให๎เกิดโรคในพืช เชํน ราสนิม ราเขมํา
2. เห็ดรา มีสารพิษเข๎าทาลายระบบประสาท ทางเดินอาหาร ตับ หัวใจ
โทษ
1. ทาให๎เกิดโรคในพืช 2. สร๎างสารพิษ ทาให๎เกิดโรค
3. ทาให๎เกิดโรคในคน เชํน กลาก เกลื้อน โรคเท๎าเปื่อยหรือฮํองกงฟุต
ภาพแสดงวงชีวิตของ Basidiomycetes

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 

Was ist angesagt? (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 

Andere mochten auch

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชtarcharee1980
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาbenzikq
 
Microbiology4.5
Microbiology4.5Microbiology4.5
Microbiology4.5kkrunuch
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชMin Minho
 

Andere mochten auch (20)

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
 
Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
 
Microbiology4.5
Microbiology4.5Microbiology4.5
Microbiology4.5
 
Cell
CellCell
Cell
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
Cell
CellCell
Cell
 
Microbiology
Microbiology Microbiology
Microbiology
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 

Ähnlich wie อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ

อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชPandora Fern
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 

Ähnlich wie อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ (20)

Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Protista55
Protista55Protista55
Protista55
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
1
11
1
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืช
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
4
44
4
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 

อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ

  • 1. อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา - เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มี โครงสร๎างเซลล์แบบโพรคาริโอต (prokaryotic cell) คือ ไมํมีเยื่อ หุ๎มนิวเคลียส สารพันธุกรรมลอยอยูํในไซโตพลาสซึม แบคทีเรียมีสารพันธุกรรมเป็น DNA สายคูํ ที่ไมํมีโปรตีนฮิสโทนเกาะ เป็น DNA เปลือย (Naked DNA) และมีลักษณะเป็นรูปวงแหวน (Circular DNA) (สิ่งมีชีวิตอื่นๆทุกอาณาจักรมีโครงสร๎างเซลล์แบบยูคารีโอต =eukaryotic cell) - ไมํมีออร์แกเนลล์ชนิดมีเยื่อหุ๎มเชํน รํางแหเอนโดพลาสซึม กอลจิคอมเพลกซ์ ไลโซโซม คลอโรพลาสต์ ไมโตคอนเดรีย มีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไมํมีเยื่อหุ๎มคือไรโบโซม - มีผนังเซลล์ที่มี เปปติโดไกลแคน เป็นสํวนประกอบ ดารงชีวิตเป็นผู๎ยํอยสลาย - มีรูปรําง 3 แบบ คือ กลม แทํง เกลียว
  • 2. สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา แบ่งเป็น 2 อาณาจักรย่อย (subkingdom) คือ 1. subkingdom Archaebacteria อาร์เคียแบคทีเรีย เป็นแบคทีเรียที่สามารถ ดารงชีวิตอยูํในสภาพแวดล๎อมที่สิ่งมีชีวิตอื่นอยูํไมํได๎ 2. subkingdom Eubacteria ยูแบคทีเรีย เป็นแบคทีเรียที่แท๎จริงพบทั่วๆไป 1.อาณาจักรย่อย อาร์เคียแบคทีเรีย(Archaebacteria) ผนังเซลล์ไมํมีเพปทิโดไกลแคน ดารงชีวิตในแหลํงน้าพุร๎อน ทะเลที่มีน้าเค็มจัด บริเวณที่มี ความเป็นกรดสูง และบริเวณทะเลลึก แบํงออกเป็น 2 กลุํม คือ 1.1 กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota) ซึ่งสร๎างมีเทนและชอบความเค็มจัด เชํน Red aerobic halophilic archaebacteria 1.2 กลุ่มครีนาร์เคียโอตา (Crenarchaeota) ซึ่งชอบอุณหภูมิสูงและกรดจัด Pyrodictium Pyrolobus
  • 3. 2. อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria) 1.กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria) 2. กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias) 3. กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes) 4. กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria) 5. กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria) กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria) -พวกสังเคราะห์แสงได๎ เชํน เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย (purple-sulfur bacteria) -พวกชํวยตรึงแก๏สไนโตรเจนในอากาศ มาสร๎างเป็นสารประกอบไนโตรเจนในดิน เชํน ไรโซเบียม (Rhizobium sp.) ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias) -เป็นปรสิตในเซลล์สัตว์ทาให๎เกิดโรคติดตํอทางเพศสัมพันธ์ เชํน โรคโกโนเรีย หรือหนองใน เป็นต๎น กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes) -มีรูปทรงเกลียว ดารงชีวิตแบบอิสระแตํบางสปีชีส์เป็นสาเหตุของโรคซิฟิลิส หรือโรคฉี่หนู
  • 4. กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria) -เป็นพวกผลิตกรดแลกติกได๎จึงนามาใช๎ในอุตสาหกรรมอาหาร ได๎แกํ การทาเนย ผักดองและโย เกิร์ต; Steptomyces sp.ใช๎ทายาปฏิชีวนะ เชํน ยาสเตร็บโตมัยซิน ยาเตตราไซคลิน ; Bacillus sp -สามารถสร๎างเอนโดสปอร์(endospore) ทาให๎ทนทานตํอสภาพแวดล๎อมที่ไมํเหมาะสมได๎ดี บาง ชนิดเป็นสาเหตุทาให๎เกิดโรคแอนแทรกซ์ กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria) -เป็นยูแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด๎วยแสงได๎ มีรงควัตถุพวกคลอโรฟิลล์เอ แคโรทีนอยด์ และ ไฟโคบิลินอยูํภายในถุงแบน ๆ ที่เยื่อหุ๎มเซลล์ จึงเป็นผู๎ผลิตที่สาคัญในระบบนิเวศ พบแพรํกระจายใน สภาพแวดล๎อมที่หลากหลายทั้งในแหลํงน้าจืด น้าเค็ม และภายในน้าแข็งของมหาสมุทร เป็นต๎น -จากหลักฐานซากดึกดาบรรพ์ ทาให๎นักวิทยาศาสตร์คาดคะเนได๎วําไซยาโนแบคทีเรียทาให๎ ก๏าซออกซิเจนในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้นในโลกยุคนั้นและกํอให๎เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดย ใช๎ออกซิเจนในปัจจุบัน -ตัวอย่าง เชํน แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และ ออสิลลาทอเรีย (Oscillatoria) สามารถตรึงแก๏สไนโตเจนในอากาศ ให๎เป็นสารประกอบไนเตรต แอนาบีนา นอสตอก ไมโคพลาสมา(Mycoplasma) เป็นแบคทีเรียแกรมบวกเซลล์ที่ไมํมีผนังเซลล์ มีเพียงเยื่อหุ๎มเซลล์ที่ ประกอบด๎วยชั้นของไขมัน สํวนใหญํไมํกํอให๎เกิดอันตรายตํอสิ่งมีชีวิตอื่น แตํมีบางพวกทาให๎เกิดโรค ปอดบวมนคนและวัว ประโยชน์ของแบคทีเรีย 1. เนื่องจากดารงชีวิตแบบภาวะยํอยสลายจึงทาให๎เกิดการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ มีการนามาใช๎ กาจัดขยะที่มีมากในเมืองใหญํ 2. ใช๎สลายคราบน้ามันบริเวณชายฝั่งและในทะเล 3. ใช๎กาจัดสารเคมีตกค๎างจากการเกษตร 4. แบคทีเรียที่สามารถตรึงไนโตรเจน ชํวยเพิ่มไนโตรเจนในดิน 5. ใช๎ผลิตสารเคมีเชํน แอซีโตน กรดแลกติก 6. ใช๎ผลิตยาปฏิชีวนะและผลิตภัณฑ์อาหาร น้าส๎มสายชู ปลาร๎า ผักดอง ปลาส๎ม นมเปรี้ยว และเนยแข็งโทษของแบคทีเรีย เป็นสาเหตุทาให๎เกิดโรคหลายชนิด ไมโคพลาสมา
  • 5. อาณาจักรโปรติสตา (Kingdom Protista) ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักร มีลักษณะสาคัญคือสํวนใหญํเป็นพวกที่มีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ แตํเซลล์ยังไมํมีการจัดตัวกันเป็น เนื้อเยื่อดังเชํนพืชและสัตว์ สิ่งมีชีวิตบางชนิดในกลุํมนี้ ยังมีลักษณะของทั้งพืชและสัตว์รํวมกัน กลําวคือ ในเซลล์มีคลอโรฟิลล์เชํนเดียวกับพืช แตํมีโครงสร๎างที่ใช๎ในการเคลื่อนที่ได๎เชํนเดียวกับสัตว์ ดังนั้น นัก ชีววิทยาจึงจัดสิ่งมีชีวิตพวกนี้ไว๎เป็นอาณาจักรที่แยกออกจากกลุํมสัตว์และพืช โครงสร๎างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก (Eucaryotic) และ ไมํมีระยะตัวอํอน (Embryo) 1.ดิโพลโมนาดิดา(Diplomonadida)และ พาราบาซาลา(Parabasala) เป็นกลุํมของโพรทิสต์ที่เป็นเซลล์ยูคาริโอตที่ยังไมํมีออร์แกเนลล์ คือ ไมํมีไมโทคอนเดรีย รํางแหเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม กอลจิคอมเพลกซ์และเซนทริโอล -ดิโพลโมแนด (Diplomonads) เป็นโพรทิสต์ที่มีแฟลเจลลาหลายเส๎น มีนิวเคลียส 2 อัน เชํน Giardia lamblia เป็นปรสิตในลาไส๎ของคน -พาราบาซาลิด (Parabasalid) เป็นโพรทิสต์ที่มีแฟลเจลลาเป็นคูํและผิวเยื่อหุ๎มเซลล์มีลักษณะเป็น รอยหยักคล๎ายคลื่น เชํน ไตรโคนิมฟา (trichonympha) ที่อาศัยอยูํในลาไส๎ปลวก จะดารงชีวิตแบบ ภาวะพึ่งพา โดยสร๎างเอนไซม์ยํอยเซลลูโลสในไม๎ให๎กับปลวกและ ไตรโคโมแนส (trichomonas) เป็น โพรทิสต์ที่ทาให๎เกิดอาการติดเชื้อในชํองคลอด
  • 6. 2.ยูกลีโนซัว(Euglenozoa) เป็นโพรทิสต์กลุํมที่เคลื่อนที่โดยใช๎แฟลเจลลาและขณะเคลื่อนที่รูปรําง จะไมํคงที่ มีเซลล์เดียว ไมํมีผนังเซลล์ บางชนิดมีรงควัตถุพวกคลอโรฟิลล์จึงสามารถสร๎างอาหารเอง ได๎โดยกระบวนการสังเคราะห์ด๎วยแสง พบดารงชีวิตในแหลํงน้าจืดเป็นสํวนใหญํโดยเฉพาะบริเวณที่มี อินทรียสารมาก จึงเป็นสาเหตุทาให๎เกิด water bloom เชํนเดียวกับพวกสาหรํายสีเขียว มีการสืบพันธุ์ แบบไมํอาศัยเพศ สิ่งมีชีวิตกลุํมนี้ได๎แกํ ยูกลีนา และ ทริปพาโนโซมที่ทาให๎เกิด โรคเหงาหลับ (African sleeping sickness) ยูกลีนา ทริปพาโนโซม 3. แอลวีโอลาตา (Alveolata) เป็นโพรทิสต์เซลล์เดียวที่มีลักษณะรํวมกันคือ มีชํองวํางเล็กๆใต๎เยื้อ หุ๎มเซลล์ที่เรียกวํา แอลวีโอไล (alveoli) ซึ่งยังไมํทราบหน๎าที่ที่ชัดเจน โพรทิสต์ในกลุํมนี้ประกอบด๎วย ไดโนแฟลเจลเลต เป็นโพรทิสต์เซลล์เดียวที่มีสารสีแคโรทีนและคลอโรฟิลล์ในพลาสติก มีบทบาทเป็น ผู๎ผลิตที่สาคัญในระบบนิเวศเคลื่อนที่โดยใช๎แฟลเจลลา 2 เส๎น ในแนวขวางและแนวดิ่ง พบเป็นจานวน มากบริเวณใกล๎ผิวน้า บางชนิดมีแผํนเซลลูโลสหลายๆแผํนประกอบกันคล๎ายเกราะ มีลวดลายสวยงาม โพรทิสต์กลุํมนี้บางชนิดมีการสะสมสารพิษในตัว เมื่อในน้าทะเลมีสารอินทรีย์จากมลภาวะซึ่งเป็นแหลํงอาหารของไดโนแฟลเจลเลต ไดโนแฟลเจลเลตจึง มีการเพิ่มจานวนอยํางรวดเร็ว ทาให๎ทะเลมีสีแดงเกิด ปรากฏการณ์ขปลาวาฬ (red tide) ขึ้น ทาให๎ ี้ เพิ่มปริมาณสารพิษของโซํอาหารในทะเล เป็นอันตรายตํอสัตว์น้าเป็นจานวนมาก
  • 7. 4.เอพิคอมเพลซา (Apicomplexa) เป็นโพรทิสต์ที่มีขนาดเล็กสํวนใหญํดารงชีวิตเป็นปรสิต มี โครงสร๎างสาหรับแทงผํานเซลล์โฮสต์ไมํมีโครงสร๎างในการเคลื่อนที่ ยกเว๎นในเซลล์สืบพันธุ์เพศผู๎ ตัวอยํางของโพรทิสต์กลุํมนี้ได๎แกํ พลาสโมเดียม (Plasmodium) ทาให๎เกิดโรคมาลาเลียในคนและ สัตว์อื่นๆโดยมียุงก๎นปลํองเป็นพาหะ
  • 8. 5. Ciliate เป็นโพรทิสต์ที่ใช๎ซิเลียในการเคลื่อนที่อาศัยอยูํในสภาพแวดล๎อมที่มน้าหรือมีความชื้นสูง ี โพรทิสต์กลุํมนี้มีความหลากหลายทางสปีชีส์มากที่สุด ตัวอยํางสัตว์ในกลุํมนี้เชํน พารามีเซียม, วอร์ติเซลลา เป็น 4.สตรามีโนพิลา เป็นโพรทิสต์ที่สํวนใหญํสร๎างอาหารโดยกระบวนการสังเคราะห์ด๎วยแสง เรียกกันทั่วไปวํา สาหร่ายหรือแอลจี (Algae) ลักษณะร่วมกันของโพรทิสต์กลุ่มนี้ คือ 1. เซลล์สืบพันธุ์มีแฟลเจลลาที่มีขนและไมํมีขน 2. มีรงควัตถุพวกฟิวโคแซนทินทาให๎มีสีน้าตาล 3. พบได๎ทั้งในแหลํงน้าจืดและแหลํงน้าเค็ม ตัวอย่างของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มนี้ ได๎แกํ สาหร่ายสีน้าตาล ไดอะตอม สาหร่ายสีน้าตาล (brown algae) ได๎แกํ สาหรํายเคลป์ (kelp) สาหรํายทุํน หรือ ซากัสซัม (Sargassum sp.) ลามินาเรีย (Laminaria sp.) พาไดนา (Padina sp.) และฟิวกัส(Fucus sp.) มีลักษณะสาคัญดังนี้ คือ 1. มีรงควัตถุสีน้าตาลที่เรียกวําฟิวโคแซนทินมากกวําแคโรทีนและคลอโรฟิลล์ 2. เป็นสาหรํายที่มีขนาดใหญํ มีโครงสร๎างซับซ๎อนมากที่สุด 3. อาศัยอยูํในทะเลมักอยูํในกระแสน้าเย็น 4. มีความสาคัญตํอสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูํในน้าโดยเป็นแหลํงอาหาร ที่อยูํอาศัยและใช๎ใน การหลบภัย 5. มีคุณคําทางเศรษฐกิจ เชํน สาหรํายทุํนหรือซากัสซัมเป็นสาหรํายที่มีไอโอดีนสูง สาหรํายลามินาเรีย พาไดนาและฟิวกัส นามาใช๎ในการผลิตปุ๋ยโพแทสเซียม
  • 9. ไดอะตอม (Diatom) เป็นสาหรํายที่พบมากที่สุดในกลุํมนี้ที่สารวจพบแล๎วมี 5,000 ชนิด มีลักษณะสาคัญดังนี้ คือ 1. เซลล์ประกอบด๎วยฝา 2 ฝาครอบกันสนิท ผนังเซลล์ประกอบด๎วยซิลิกาแข็งแรงและ คงรูป ไมํสลายตัวได๎งําย 2. มีสีเหลืองหรือน้าตาลแกมเหลือง 3. มีปริมาณมากทั้งในแหลํงน้าจืดและแหลํงน้าเค็ม 4. เป็นแหลํงอาหารที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ มีการสะสมอาหารในรูปของน้ามัน 5. ซากของไดอะตอมที่ตายทับถมกันนาน ๆ จะกลายเป็นสํวนของพื้นดินใต๎แหลํงน้า ที่เรียกวํา ไดอะตอมเอเชียเอิร์ท (diatomaceous earth) 6. เป็นแหลํงรวมของแรํธาตุและน้ามันซึ่งนามาใช๎ประโยชน์ในการทาไส๎กรองและยาขัด เครื่องเงิน ยาสีฟัน การฟอกสี 5.โรโดไฟตา (Rhodophyta) ได๎แกํพวก สาหรํายสีแดง สาหรํายสีแดง (red algae รงควัตถุภายในพลาสติดที่มีปริมาณมากนั้นมีสีแดง ไฟโคอิริทริท (Phycoerythrin) ไฟโคไซยานิน (Phycocyanin) รวมอยูํในพลาสติดด๎วย คลอโรฟิลด์ เอ ซึ่งเป็นรงค วัตถุหลักในการสังเคราะห์แสง ตัวอยํางของสาหรํายในไฟลัมนี้ ได๎แกํ - พอร์ไฟรา (Porphyra) เมื่อตากแห๎งแล๎วใช๎ใสํแกงจืดที่เรียกกันวํา จีฉําย กราซิลาเรีย (Gracilaria) นามาสกัดสารคาร์แรกจิแนน (carrageenan) ใช๎ในการทาวุ๎น (agar) ซึ่งมีความสาคัญในการทาอาหาร เลี้ยงจุลินทรีย์ ทาเครื่องสาอาง ทายาขัดรองเท๎า ครีมโกนหนวด เคลือบเส๎นใย ใช๎ทาแคปซูลยา ทายา และใช๎เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เห็ดรา และราเมือก - กราซิลาเรีย (Gracilaria) นาสารสกัดสารคาร์แรกจิแนน (Carrageenan) ใช๎ในการทาวุ๎น (agar) ซึ่งมีความสาคัญในการทาอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ ทาเครื่องสาอาง ทายาขัดรองเท๎า ครีมโกนหนวด เคลือบเส๎นใย ใช๎ทาแคปซูลยา ทายา และใช๎เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ความสาคัญ 1. Porphyra (จีฉําย)ใสํแกงจืด 2.Gracilaria ต๎นเครามังกร หรือสาหรํายวุ๎น สกัดได๎วุ๎น 6.คลอโรไฟตา (Chlorophyta) ได๎แกํสาหรํายสีเขียว ( green algae) (มีมากเกิดปรากฎการณ์ เรียกวํา วอเตอร์บลูม ลักษณะ 1. จานวนเซลล์มีทั้งพวกเซลล์เดี่ยวหรือหลายเซลล์ตํอกันเป็นสายยาว หรือรวมกันเป็นกลุํม มีทั้ง เคลื่อนที่ได๎ และเคลื่อนที่ไมํได๎ - พวกหลายเซลล์ตํอกันเป็นสายยาว เชํน ยูโลทริกซ์ (Ulothrix) อีโดโกเนียม (Oedogonium) สไปโรไจรา หรือเทาน้า (Spirogyra) - พวกหลายเซลล์เป็นกลุํม (Clolnial forms) เชํน วอลวอกซ์ (Volvox) เพดิแอสดรัม (Pediastrum) ซีนเตสมัน (Scenedesmus)
  • 10. 2. รงควัตถุที่พบจะเป็นเชํนเดียวกับที่พบในพืชชั้นสูง คือ มีคลอโรฟิลล์ เอ, คลอโรฟิลล์ บี, คาโรทีน และแซนโทฟิลล์ 3. โครงสร๎างของผนังเซลล์ ประกอบด๎วย เซลลูโลส (Cellulose) บางชนิดมีเพกติน (Pectin) เคลือบอยูํ ภายนอกบาง ๆ บางชนิดมีแคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium Carbonate) 4. อาหารที่เก็บไว๎ก็คือ ไพรีนอยด์ (Pyrenoids) อยูํในเม็ดคลอโรพลาสต์ เข๎าใจวําไพรีนอยด์เป็น โครงสร๎างที่มีโปรตีนเป็นแกนกลาง และมีแผํนแป้งหุ๎มล๎อมรอบอยูํ ความสาคัญ เป็นสารอาหาร เชํน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และวิตามิน สูง Plastid สีเขียวในสาหรํายจะมีโครงสร๎างคล๎ายคลึงกับ chloroplast ของพืช ซึ่งสันนิษฐานวําเกิดจาก endosymbiosis ของสิ่งมีชีวิตโบราณ สาหร่ายไฟ หรือสโตนเวิร์ตส์ เป็นสาหรํายน้าจืดมีขนาดใหญํ แตกกิ่งแขนงคล๎ายพืชชั้นสูง แตกกิ่ง เป็นวง ( Whoried) มีไรซอยด์ยึดเกาะพื้นดินทาหน๎าที่คล๎ายราก และไรซอยด์ยังชํวยขยายพันธุ์แบบไมํ อาศัยเพศได๎อีกด๎วย ทัสลัส มีลักษณะเป็นข๎อ ( node) และปล๎อง ( intornode) เหมือนพืชชั้นสูง การ แตกกิ่งจะแตกออกบริเวณข๎อและที่ข๎อจะมีเซลล์ที่เจริญเติบโตจากัดเป็นเกล็ดเล็ก ๆ อยูํรอบข๎อมักจะ เรียกกันวํา ใบ โครงสร๎างที่สร๎างเซลล์สืบพันธุ์มีลักษณะคล๎ายพืชพวกมอส แทนที่จะเป็นเซลล์เดียว อยํางของสาหรํายสีเขียว ความเห็นบางทํานจึงเชื่อวําสาหรํายไฟในไคาโรไฟต์มีวิวัฒนาการสูงสุดใน บรรดาสาหรํายด๎วยกัน 7.ไมซีโทซัว โพรทิสต์กลุํมนี้เรียกทั่วไปวํา ราเมือก (slime mold) -เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีชํวงชีวิตคล๎ายสัตว์และพืชปนกัน มี 2 กลุํม คือ ราเมือกชนิด พลาสโมเดียม (plasmodial slime mold) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีหลายนิวเคลียส ราเมือกชนิดเซลลูลาร์ (cellular slime mold) ซึ่งเป็นเซลล์ที่มี 1 นิวเคลียสและอยูํได๎อิสระ ตัวอย่างโพรทิสต์กลุ่มไมซีโทซัว ได๎แกํ สเตโมนิทิส (Stemonitis sp.) ไฟซาลัม (Physalum sp.) ลักษณะสาคัญของราเมือกมีดังนี้ คือ 1. มีลักษณะคล๎ายเมือกสีขาว สีส๎ม สีเหลือง สีแดง หรือ สีมํวง 2. พบในบริเวณที่ชื้นแฉะและตามขอนไม๎ หรือใบไม๎เนําเปื่อย 3. ดารงชีวิตแบบภาวะมีการยํอยสลาย (saprophytism) แตํมีบางชนิดดารงชีวิตแบบปรสิต 4. เป็นเซลล์ยูคาริโอต ไมํมีผนังเซลล์ ไมํมีคลอโรฟิลล์ ประกอบด๎วยกลุํมของโพรโทพลาซึม ที่แผํกระจายมีลักษณะเป็นเมือก 5. การสืบพันธุ์คล๎ายสัตว์กับพืชในภาวะปกติจะมองดูคล๎ายรํางแห เรียกวํา พลาสโมเดียม (plasmodium) เคลื่อนที่และกินอาหารแบบอะมีบา พอระยะสืบพันธุ์ราเมือกจะสร๎างอับสปอร์ ภายในสปอร์มีผนังเซลล์ เป็นสารเซลลูโลสเชํนเดียวกับพืช
  • 11. ความรู้เพิ่มเติม สาหรับพวกไรโซโพดา (Rhizopoda) ซึ่งเป็นโพรทิสต์ที่เคลื่อนที่และกินอาหารโดย การสร๎างเท๎าเทียม (pseudopodium) นั้นนักอนุกรมวิธานยังไมํสามารถจัดให๎อยูํในสาย วิวัฒนาการกลุํมใดได๎ เพราะมีการศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของโพรทิสต์กลุํมนี้น๎อยมาก เชํน อะมีบา (Amoeba) อาศัยอยูํได๎ทั้งในดิน แหลํงน้าจืดและแหลํงน้าเค็ม สํวนใหญํ ดารงชีวิตแบบอิสระ แตํบางสปีชีส์เป็นปรสิต ที่สาคัญเชํน Entamoeba histolytica เป็นสาเหตุของโรคบิดในคน เป็นต๎น
  • 12. อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi) สิ่งมีชีวิตที่อยูํในอาณาจักรฟังไจ ประกอบด๎วย รา เห็ด และยีสต์ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรฟังไจ 1. เซลล์เป็นแบบ Eucaryotic cell มีเยื่อหุ๎มนิวเคลียส 2. ผนังเซลล์เป็นสารไคตินกับเซลลูโลส 3.ไมํมีคลอโรฟิลล์ ดารงชีวิตเป็นผู๎ยํอยสลายสารอินทรีย์ที่เนําเปื่อย 4. มีทั้งเซลล์เดียวและเป็นเส๎นใยเล็ก เรียกวําไฮฟา (Hypha) รวมกลุํม เรียกวําขยุ๎มรา (mycelium) ลักษณะของเส๎นใยแบํงออกเป็น 2 ชนิด 4.1 เส๎นใยมีผนังกั้น (Septate hypha) 4.2 เส๎นใยที่ไมํมีผนังกั้น (Nonseptate hypha or coencytic hypha) -สํวนยีสต์ เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แตํอาจมีการตํอกันเป็นสาย -เส๎นใยของฟังไจอาจเปลี่ยนแปลงแปลงรูปรํางเพื่อทาหน๎าที่พิเศษ ได๎แกํ -Haustorium เป็นเส๎นใยที่ยื่นเข๎าเซลล์โฮสต์ เพื่อดูดอาหารจากโฮสต์ พบในราที่เป็นปรสิต -Rhizoid มีลักษณะคล๎ายรากพืชยื่นออกจากไมซีเลียม เพื่อยึดให๎ติดกับผิวอาหารและชํวยดูด ซึมอาหารด๎วย เชํนราขนมปัง สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบํงเป็น 4 ไฟลัม คือ 1. ไฟลัมไซโกไมโคตา ( Phylum Zygomycota) 2. ไฟลัมแอสโคไมโคตา ( Phylum Ascomycota) 3. ไฟลัมเบสิดิโอไมโคตา ( Phylum Basidiomycota) 4. ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตา ( Phylum Deuteromycota) ไฟลัมไคทริดิโอไมโคตา ( Phylum Chytridiomycota) เรียกทั่วไปวํา “ไคทริด(Chytrid) ลักษณะสาคัญ 1.มีไฮฟาแบบไมํมีผนังกั้น 2.ผนังเซลล์ประกอบด๎วยไคตินและกลูโคส 3.สปอร์มีแฟลกเจลลาเส๎นเดียว(zoospore) 4.มีการสืบพัน์แบบไมํอาศัยเพศโดยการผลิตสปอร์ ที่มีแฟลกเจลลา (flagellated zoospore) และการ สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการปฏิสนธิระหวํางเสปิร์ม กับไขํ 5.เป็นกลุํมเชื้อราโบราณ(primitive)กวําราในกลุํมอื่นๆ 6.สํวนใหญํอาศัยอยูํในแหลํงน้า 7.เป็นปรสิตในโพรทิสต์ พืช และสัตว์น้า กบ
  • 13. ไฟลัมไซโกไมโคตา ( Phylum Zygomycota) ราที่มีวิวัฒนาการต่า เป็นพวกราดา (RhiZopus) และราขนมปัง ลักษณะ 1. เส๎นใยชนิดไมํมีผนังกั้น 4. ดารงชีวิตแบบปรสิต(Parasite) และผู๎ยํอยสลาย (saprophyte) ต๎องการความชื้น 5. การสืบพันธุ์ - แบบไมํอาศัยเพศ สร๎างสปอร์ เรียกวํา sporangiospore - แบบอาศัยเพศ ในสภาพแวดล๎อมไมํเหมาะสม สร๎างสปอร์ เรียกวํา zygospore โดย gametangium สร๎างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู๎และเพศเมียอยูํตํางไมซีเลียมกัน สปอร์ที่ได๎จาก การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมีขนาดเล็กและจานวนน๎อยกวําแบบไมํอาศัยเพศ ประโยชน์ 1. Rhizopus oryzae ผลิตแอลกอฮอล์ 2. R. nigricans ผลิตกรดฟูตริก โทษ ทาให๎เกิดโรคในพืชและสัตว์
  • 14. ไฟลัมแอสโคไมโคตา ( Phylum Ascomycota) ตัวอย่าง ราแดง โมเรล ทรัฟเฟิล ยีสต์ ลักษณะ 1. เป็นพวกมีเส๎นใยมีผนังกั้นและเป็นราคล๎ายถ๎วย (cup fungi) และเซลล์เดียว ได๎แกํ ยีสต์ 2. ดารงชีวิตบนบก 3. การสืบพันธุ์ - แบบไมํอาศัยเพศ สร๎างสปอร์เรียกวํา conidia ที่ปลายไฮฟา สํวนยีสต์จะแตกหนํอ - แบบอาศัยเพศ สร๎างสปอร์ ที่มีชื่อวํา ascospore อยูํในถุงเรียกวํา ascus ประโยชน์ 1. Saccharomyces cerevisiae ใช๎ผลิตแอลกอฮอล์ และมีโปรตีนสูง 2. Monascus sp. ใช๎ผลิตข๎าวแดงและเต๎าหู๎ยี้ โทษ เกิดโรคกับคนและสัตว์ Ascomycetes ไฟลัมเบสิดิโอไมโคตา ( Phylum Basidiomycota) ลักษณะ 1. เส๎นใยมีผนังกั้นและรวมตัวอัดแนํนเป็นแทํงคล๎ายลาต๎น เชํน ดอกเห็ด 2. การสืบพันธุ์ - แบบไมํอาศัยเพศ สร๎างสปอร์เรียกวํา codiospore ใน conidia - แบบอาศัยเพศ สร๎างสปอร์ที่สร๎างโดยอาศัยเพศสร๎างบนอวัยวะคล๎ายกระบองหรือเบสิเดียม (basidium) เรียกวํา แบสิดิโอสปอร์ (basidiospore) ประโยชน์ ใช๎เป็นแหลํงอาหาร โทษ 1. ทาให๎เกิดโรคในพืช เชํน ราสนิม ราเขมํา 2. เห็ดรา มีสารพิษเข๎าทาลายระบบประสาท ทางเดินอาหาร ตับ หัวใจ โทษ 1. ทาให๎เกิดโรคในพืช 2. สร๎างสารพิษ ทาให๎เกิดโรค 3. ทาให๎เกิดโรคในคน เชํน กลาก เกลื้อน โรคเท๎าเปื่อยหรือฮํองกงฟุต