SlideShare a Scribd company logo
1 of 93
Download to read offline
โซเชียลมีเดีย
1
ผศ. ดร. กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว
รองผู้อานวยการศูนย์คอมพิวเตอร์ ฝ่ายบริหาร
อาจารย์ประจาภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2
หัวข้อ
2
 โซเชียลมีเดียคืออะไร
 พัฒนาการของโซเชียลมีเดีย
 แนวโน้มของโซเชียลมีเดีย
 ผลกระทบของโซเชียลมีเดีย
 การใช้โซเชียลมีเดียให้เป็นประโยชน์และเหมาะสม
3
โซเชียลมีเดียคืออะไร
3
 มีเดีย (“Media”) หมายถึงสื่อหรือเครื่องมือที่ใช้เพื่อการสื่อสาร
 โซเชียล (“Social”) หมายถึงสังคม
 ในบริบทของโซเชียลมีเดีย โซเชียลหมายถึงการแบ่งปันใน
สังคม ซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งปันเนื้อหา (ไฟล์, รสนิยมม ควม
เห็น…) หรือปฏิสัมพันธ์ในสังคม (การรวมกับเป็น
กลุ่ม…)
 โซเชียลมีเดียในที่นี้หมายถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ทาให้ผู้ใช้แสดง
ความเป็นตัวตนของตนเองเพื่อที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับหรือแบ่งปัน
ข้อมูลกับบุคคลอื่น
4
โซเชียลมีเดียมีความสัมพันธ์กับเว็บอย่างไร
4
 โซเชียลมีเดียส่วนใหญ่จะเป็นเว็บแอปพลิเคชัน 2.0 ซึ่งจะมีการ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้และผู้รับข้อมูล
 ทีวีและหนังสือพิมพ์ที่เป็นกระดาษเป็นสื่อ แต่เป็นสื่อของการสื่อสาร
ทางเดียว ผู้รับข้อมูลไม่สามารถตอบกลับผู้ให้ข้อมูลทันทีทันใดได้
 แต่โซเชียลมีเดียจะเป็นสื่อที่มีการสื่อสาร 2 ทาง กล่าวคือผู้รับ
ข้อมูลสามารถแสดงความคิดเห็นหรือตอบผู้ให้ข้อมูลได้
 การให้ข้อคิดเห็นในบันทึกในบล็อกหรือในวิดีโอ
 การพูดคุยผ่านโปรแกรมสนทนาออนไลน์หรือเว็บบอร์ด
 การให้ข้อคิดเห็นและบันทึกว่าชอบสไลด์
5
ความหลากหลายของโซเชียลมีเดีย
5
6
เครื่องมือและการบริการที่เป็นโซเชียลมีเดีย
6
ตีพิมพ์: บล็อก, วิกิพีเดีย, เว็บรวมที่ให้ทุกคนโพสต์ข่าว
แบ่งปัน: วิดีโอ, รูปภาพ, ดนตรี, ลิงก์
การอภิปราย: การเสวนา, โปรแกรมสนทนาออนไลน์
เครือข่ายสังคม: เครือข่ายสังคมโดยทั่วไปและเครือข่าย
สังคมเฉพาะด้าน
การตีพิมพ์แบบไมโคร: ไมโครบล็อก
เครื่องมือที่รวมข้อมูลจากหลายแหล่งโซเชียลมีเดียเข้า
ด้วยกัน (Social aggregation tools)
7
ตีพิมพ์: บล็อก
7
 http://www.blogger.com/ เป็นที่นิยมมากที่สุดในโลก
 http://www.wordpress.com/ โอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ที่เป็นที่นิยม
 http://www.exteen.com/ เป็นที่นิยมมากที่สุดในเมืองไทย
 http://www.bloggang.com/ เป็นส่วนหนึ่งของเว็บพันทิพ
 http://gotoknow.org เป็นที่นิยมในการแลกเปลี่ยนความรู้ในหมู่คนทางาน
 http://blognone.com เป็นแหล่งข่าวไอทีของคนไทย
8
ตัวอย่างของบล็อก
8
9
บล็อก: วิกิพีเดียและสื่อสารมวลชน
9
 วิกิ
 http://www.wikipedia.org/ เป็นที่นิยมมากที่สุด
 http://www.wikia.org จัดเรียงข้อมูลตามหัวข้อ
 http://www.wetpaint.com ให้บริการเครือข่ายสังคมและวิกิพีเดีย
 เว็บนักช่าวพลเมือง
 http://www.digg.com แบ่งปันเนื้อหาของเว็บ
 http://www.newsvine.com ข่าวอัปเดตจากทั่วโลก
 http://oknation.net ข่าวอัปเดตโดยคนไทย
•Click to edit Master title style
10
ตัวอย่างของเว็บโอเคเนชั่นดอตเน็ต
10
11
การแบ่งปัน: วิดีโอและรูปภาพ
11
 วิดีโอ
 http://www.youtube.com เป็นที่นิยมมากที่สุด
 http://vimeo.com สาหรับวิดีโอที่เน้นเรื่องคุณภาพ
 รูปภาพ
 http://www.flickr.com เป็นที่นิยมมากที่สุด
 http://picasaweb.google.com ทางานได้ดีกับ
เครื่องมือเสริม Picasa ที่ช่วยทาให้อัปโหลดรูปได้ง่าย
 วิดีโอ รูปภาพ และบล็อก
 http://multiply.com
12
ยูทูบ: แหล่งรวมวิดีโอออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
12
13
การแบ่งปัน: ลิงก์, ดนตรี, และ สไลด์
13
 เว็บลิงก์
 http://delicious.com เป็นบุ๊กมาร์กออนไลน์ที่เป็นที่นิยมมาก
 http://gnolia.com: จะต้องได้รับเชิญจึงจะเป็นสมาชิกได้
 ดนตรี
 http://lastfm.fr นิยมมากที่สุดในการใช้โดยทั่วไป
 http://ilike.com นิยมมากที่สุดในเฟซบุ๊ก
 สไลด์
 http://slideshares.net : แบ่งปันสไลด์และเอกสาร
14
เดลิเชียส: ตัวอย่างเว็บบุ๊กมาร์กออนไลน์
14
15
การแบ่งปัน: โซเชียลช๊อปปิ้งและโซเชียลเน็ตเวิร์กซีเอ็มเอส
15
 โซเชียลช๊อปปิ้ง
 http://kaboodle.com เป็นที่นิยมมากที่สุด
 http://www.myitthings.com เป็นนิตยสารแฟชัน
 โซเชียลเน็ตเวิร์กซีเอ็มเอส
 http://www.pligg.com: โอเพนซอร์สที่เป็นระบบการจัดการ
เนื้อหาโดยสมาชิกทุกคนไม่ใช่เฉพาะโดยผู้ดูแลระบบ
 อนุญาตให้สมาชิกเข้ามาโพสต์และโหวตที่ข้อมูลที่อัปโหลดในระบบ
16
ตัวอย่างเว็บโซเชียลช๊อปปิ้ง
16
17
การสนทนา
17
 กระดานสนทนา
 http://www.phpbb.com: เป็นที่นิยมมากที่สุด
 http://simplemachine.com: มีคุณสมบัติหลายอย่างที่ดี
 http://vanillaforums.org: สามารถประยุกต์ใช้ได้ง่าย
 ระบบการส่งข้อความทันที
 http://download.live.com/messenger (MSN)
เป็นที่นิยมมากที่สุด
 http://www.ebuddy.com: สนับสนุนการใช้งานMSN,
Yahoo, Google Talk, Facebook and AIM
18
ตัวอย่างกระดานสนทนาและระบบการส่งข้อความทันที
18
19
การสนทนา: VOIP
19
 http://skype.com: คุณภาพสูง เป็นที่นิยม
 http://www.google.com/talk/: รวมกับ Gmail
ผู้ใช้สามารถโทรหาผู้อื่นได้จาก Gmail
20
•โทรไปที่เบอร์ในอเมริกาและแคนาดาฟรี
•โทรไปที่เบอร์ในเมืองไทยเสียค่าใช้จ่าย
นาทีละ 0.03
• แต่ Google Voice ไม่สามารถใช้ได้
ในเมืองไทย
การรวมและจัดการข้อมูลในโซเชียลมีเดียต่างๆ
 เครื่องมือที่เป็นเว็บแอปพลิเคชัน
 Hootsuite: สนับสนุนโซเชียลมีเดียหลายตัว Twitter,
Facebook Pages, Facebook, LinkedIn,
Ping.fm, Wordpress.com, MySpace and
Foursquare และสามารถกาหนดให้โพสต์ข้อมูลในเวลาที่
ต้องการได้
 Netvibes: เป็นเว็บเพจที่ผู้ใช้สามารถกาหนดว่าจะดึงข้อมูลมาจาก
บัญชี Facebook และ Twitter ใด
 เครื่องมือที่เป็นแอปพลิเคชันบนเดสก์ท๊อป
 TweetDeck:สนับสนุนโซเชียลมีเดีย Twitter, Facebook,
LinkedIn, MySpace
21
ตัวอย่างเครื่องมือที่รวมข้อมูลจากโซเชียลมีเดีย
22
23
โซเชียลเน็ตเวิร์ก: โดยทั่วไป
23
 http://www.facebook.com: เป็นที่นิยมมากที่สุดทั่วโลก
 สถิติ วันที่ 4 พฤศจิกายน 53 จาก http://www.facebakers.com
 ผู้ใช้เฟซบุ๊กทั่วโลกมีจานวน 552,277,120 คน
ประเทศ จานวนผู้ใช้เฟซบุ๊ก คิดเป็น % ของ
ประชากรทั้งหมด
ไทย 6 071 480 9.14
เวียดนาม 1 493 600 1.67
อินโดนีเซีย 29 844 240 12.28
ฟิลิปปินส์ 17 942 340 17.96
มาเลเซีย 8 815 780 33.70
สิงคโปร์ 2 382 200 50.67
24
ตัวอย่างเฟซบุ๊ก
24
25
โซเชียลเน็ตเวิร์กที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะเจาะจง
25
 LinkedIn เป็นโซเชียลเน็ตเวิร์กที่มีจุดมุ่งหมายหลักคือการ
แลกเปลี่ยนนามบัตรและข้อมูลส่วนตัว (Profile) ทั้งบุคคลและ
องค์กรซึ่งรวมๆแล้วจะคล้ายๆกับเอาประวัติของเราหรือองค์กร ไป
โยงกับบุคคลต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการติดต่อ การสร้างโอกาสทาง
ธุรกิจ หรือการได้รับโอกาสทางานที่ดี
 ระบบที่เชื่อมโยงคนที่เคยเรียนที่สถาบันเดียวกับเรา หรือเรียนที่เรา
สอน หรือทางานที่บริษัทเดียวกับเรา หรือเป็นเพื่อนเรา โดยดูจาก
อีเมลของเรา ดูจากประวัติของเรา และแนะนาคนอื่นที่เราอาจจะไม่
รู้จักแต่เขาทางานที่เดียวกับเรา หรือเคยที่เรียนกับเรา
26
ตัวอย่างของ LinkedIn
26
27
เครื่องมือไมโครบล็อก: ทวิตเตอร์
27
 http://twitter.com
 บริการที่ส่งข้อความสั้นๆ แบบเรียลไทม์ที่สามารถส่งผ่านเน็ตเวิร์ก
และเครื่องมือได้หลายประเภท
 ผู้ใช้บริการนี้จะเห็นข้อความที่โพสต์โดยคนที่ตนเองติดตามและ
หากใครที่ติดตามผู้ใช้บริการนี้ก็จะเห็นข้อความที่โพสต์โดย
ผู้ใช้บริการนี้เช่นกัน
 ใช้มากในการติดตามข่าวด่วนหรือความรู้
28
ตัวอย่างของบัญชีทวิตเตอร์
28
29
การสนทนาออนไลน์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
29
 การสนทนาออนไลน์เกิดขึ้นตลอดเวลา
 คุณสามารถเลือกได้ว่าจะให้การสนทนานั้นมีคุณเข้าร่วม
หรือไม่
 ชื่อเสียงขององค์กรหรือบริษัทคุณไม่อยู่ในการควบคุม
ของคุณ
 ความเห็นของลูกค้าอยู่ในบล็อก กระดานสนทนา วิกิ
พีเดียและเครือข่ายสังคม
30
หัวข้อ
30
 โซเชียลมีเดียคืออะไร
 พัฒนาการของโซเชียลมีเดีย
 แนวโน้มของโซเชียลมีเดีย
 ผลกระทบของโซเชียลมีเดีย
 การใช้โซเชียลมีเดียให้เป็นประโยชน์และเหมาะสม
31
โซเชียลมีเดียเป็นของใหม่??
31
“Social media isn’t really “new.” While it
has only recently become part of
mainstream culture and the business
world, people have been using digital
media for networking, socializing and
information gathering – almost exactly
like now – for over 30 years”
- Brett Borders
ยุคการใช้โทรศัพท์ (1950-1990)
32
หลายบริษัทสร้างระบบโทรศัพท์ภายใน
33
ยุคการใช้ Bulletin Board Systems (BBS’s) –
(1979 – 1995)
34
Bulletin Board System ในยุคนั้น
35
 ใช้ PC หลายตัวเป็นเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้ติดต่อผ่านการใช้
โมเด็ม และติดต่อเซิร์ฟเวอร์ได้ทีละคน
 บริการของ Bulletin Board System ตัวแรก
 การอภิปรายผ่านทางบอร์ดข้อความ (message
board)
 ไฟล์ให้ดาวน์โหลด
 ออนไลน์เกม
ยุคการใช้ Commercial Online Services
(1979 – 2001)
36
เริ่มมีการใช้วัฒนธรรมสังคมออนไลน์ในความรัก
37
ยุคของการใช้ World Wide Web (1991-)
38
Forums ถูกใช้แทนที่ Usenets และ BBBs
39
IRC, ICQ และ Instant Messengers
40
P2P- BitTorrent- การแบ่งปันผ่านโซเชียลมีเดีย
41
Social Networking
 เครือข่ายสังคมแรกคือ SixDegrees ซึ่งให้ผุ้ใช้โพสต์ข้อมูล
เกี่ยวกับตนเอง (Profile) แล้วเชื่อมต่อกับเพื่อน ระบบนี้ทาขึ้น
ในปี 1997
 ต่อมามีระบบที่ทาลักษณะนี้และในรูปแบบ “Web 2.0” ซึ่งทาให้
คนได้มีปฏิสัมพันธ์กันผ่านเว็บและเป็นที่นิยมมากที่สุดดังนี้
Friendster (2002-2003)
MySpace (2004 – 2006)
Facebook (2007 -> …)
42
Social News Websites
43
The Real-Time Statusphere & Location-
based Social Web (2008 – ???)
44
Location-based Social Web
45
Facebook Places
46
 ปัจจุบันคนที่ใช้ Facebook Places ได้คือคนที่ใช้
Facebook จากสมาร์ทโฟน
 ขณะนี้มีให้ใช้เฉพาะจาก iPhone แต่ Facebook ประกาศว่าจะ
ทาให้ใช้ได้จาก Android และ BlackBerry ในเร็วๆ นี้
47
หัวข้อ
47
 โซเชียลมีเดียคืออะไร
 พัฒนาการของโซเชียลมีเดีย
 แนวโน้มของโซเชียลมีเดีย
 ผลกระทบของโซเชียลมีเดีย
 การใช้โซเชียลมีเดียให้เป็นประโยชน์และเหมาะสม
48
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
48
แนวโน้มของโซเชียลมีเดีย (1/2)
49
 ผู้ใช้ยินดีที่จะเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากขึ้น
 likes, dislikes, opinions, photos, videos
 จะมีการกระจายการใช้โซเชียลมีเดียตามเว็บต่างๆ
 Facebook connect, Google’s Friend Connect
 การปฏิสัมพันธ์กับเซิร์ชเอ็นจินจะแตกต่างจากปัจจุบัน
 Google Real Time Search
การเชื่อมโยงจากเว็บทั่วไปเข้าไปที่โซเชียลมีเดีย
50
ตัวอย่างของกูเกิลเสิร์ชแบบเรียลไทม์
51
http://www.google.com/realtime
แนวโน้มของโซเชียลมีเดีย (2/2)
52
 การใช้ Augment Reality
 “โลกเสมือนผสานโลกจริง" เป็นการนาเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน
(Virtual Reality) ผสมเข้ากับเทคโนโลยีภาพที่มีลักษณะคล้ายๆ กับ
QR Code เพื่อทาให้เห็นภาพสามมิติ ในหน้าจอโดยที่มีองค์ประกอบของ
สิ่งแวดล้อมจริง
 Semantic Web
 เว็บเชิงความหมาย เพื่อทาให้การใช้ข้อมูลบนเว็บสามารถนามาใช้ใหม่ได้ และ
เอื้อต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในการเข้าใจความหมายของคาต่างๆ
 ประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการค้นหาและแสดงข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการโดยอัตโนมัติ
ตัวอย่าง Augmented Reality
53
ตัวอย่าง Semantic Web
54
55
หัวข้อ
55
 โซเชียลมีเดียคืออะไร
 พัฒนาการของโซเชียลมีเดีย
 แนวโน้มของโซเชียลมีเดีย
 ผลกระทบของโซเชียลมีเดีย
 การใช้โซเชียลมีเดียให้เป็นประโยชน์และเหมาะสม
ผลกระทบของโซเชียลมีเดีย (1/2)
56
 ผลกระทบเชิงสร้างสรรค์
 การเปลี่ยนแปลงในการโฆษณาและการตลาด
 การเปลี่ยนแปลงในการประชาสัมพันธ์
 การเปลี่ยนแปลงในการสื่อสารมวลชนและการกระจายข่าว
 นาไปใช้ในการรับสมัครงานและการหางาน
57
การเจริญเติบโตของการตลาดผ่านโซเชียลมีเดีย
57http://www.marketingpilgrim.com/2009/04/forrester-social-media-
growth.html
การโฆษณาสินค้าใหม่ของ Nokia ผ่านเฟซบุ๊ก
58
การประชาสัมพันธ์ของธนาคารกสิกรผ่านโซเชียลมีเดีย
59
59,661 คน like www.facebook.com/KBankLive
GTH (GMM Grammy's film studio)
60
BoydNopFanPage
61
การติดตามข่าวทางทวิตเตอร์
62
ทวิตเตอร์เหมาะสาหรับข้อมูลด่วนแบบเรียลไทม์
63
การประชาสัมพันธ์งานที่ต้องการคนทาผ่านเฟซบุ๊ก
64
การหางานทาผ่าน LinkedIn
65
การโพสต์รับสมัครคนทางานผ่าน LinkedIn
66
ผลกระทบของโซเชียลมีเดีย (2/2)
67
ผลกระทบเชิงลบ
 ใช้เวลามากเกินไปในการใช้โซเชียลมีเดีย
 ใช้เวลาไม่เหมาะสมในการใช้โซเชียลมีเดีย
 ใช้คาพูดที่ไม่เหมาะสม
 โพสต์ข้อมูลส่วนตัวที่เป็นผลเสียต่อตนเอง
เวลาที่คนทั่วโลกใช้เครือข่ายสังคม
68
เวลาคนที่อเมริกันใช้ในแต่ละเครือข่ายสังคม
69
 Facebook และ Twitter มีอัตราการเติบโตของเวลาที่ใช้มากกว่า
เครือข่ายสังคมอื่น
 Facebook มีอัตราการเติบโต 200% และ Twitter มีอัตราการเติบโต
368%
สถิติของการใช้ Facebook และ Twitter
 สถิติของ Facebook ในเดือนสิงหาคม 2553
 คนใช้เวลาประมาณ 700 พันล้านนาทีในการใช้ Facebook ในแต่ละ
เดือน
 โดยเฉลี่ยผู้ใช้ 1 คนเข้าร่วม 80 เพจ, กลุ่ม, หรือกิจกรรม
 โดยเฉลี่ยผู้ใช้สร้างข้อมูล 90 อันในแต่ละเดือน
 คนแบ่งปันข้อมูล (เว็บลิงก์..) 30 พันล้านอัน ในแต่ละเดือน
 สถิติของ Twitter ในเดือนมิถุนายน 2553
 มีคนเข้าเยี่ยม 190 ล้านคนต่อเดือน
 มีการทวีต 65 ล้านครั้งต่อวัน
70
งานวิจัยที่บ่งชี้ว่าคนใช้เวลามากเกินไปในโซเชียลมีเดีย
 การสารวจโดย MyJobGroup เปิดเผยว่า
 พนักงานที่อังกฤษจานวนมากกว่าครึ่งอัปเดตโปรไฟล์ของโซเชียลมีเดีย
ในระหว่างทางาน
 หนึ่งในสามของพนักงานใช้เวลาประมาณครึ่งชั่วโมงในเว็บเครือข่าย
สังคมและทาให้เศรษฐกิจของอังกฤษเสียหาย 22 พันล้านดอลลาร์
สหรัฐในแต่ละปี
 14% ของคนที่ตอบแบบสอบถามยอมรับว่าการใช้เว็บเครือข่ายสังคม
ทาให้ผลของงานลดลง และที่น่าสนใจคือ 10% ตอบว่าการใช้เว็บ
เครือข่ายสังคมทาให้ผลของงานเพิ่มขึ้น
 2 ใน 3 ของพนักงานไม่อยากให้องค์กรห้ามไม่ให้ใช้โซเชียลมีเดียใน
เวลาทางาน71
การใช้เวลาที่ไม่เหมาะสมในโซเชียลมีเดีย
นักศึกษาเล่นเฟซบุ๊กขณะที่ครูหรืออาจารย์สอน
หนังสือ
ศัลยแพทย์อเมริกันเสียชีวิตจากการประสบอุบัติเหตุ
บนถนนเพราะอัปเดตทวิตเตอร์ขณะอยู่บนท้องถนน
มีผลการสารวจพบว่ามีคนอเมริกันประมาณ 47% ใช้
โซเชียลมีเดียขณะขับรถบนท้องถนน
ใช้โซเชียลมีเดียขณะใช้เวลากับเพื่อนหรือครอบครัว
ทาให้พูดคุยกับเพื่อนหรือกับครอบครัวน้อยลง72
การใช้คาพูดที่ไม่เหมาะสม
 เฟซบุ๊ก-ทวิตเตอร์แหล่งระบายอารมณ์ของดาราไทย (คมชัดลึก)
 ภาพลักษณ์เสียหายและบางคนแจ้งความเพื่อลงบันทึกประจาวัน
 "มาร์ค เอเอฟ 7” เขียนตาหนิการทางานอย่างรุนแรง ของ
นายกรัฐมนตรีที่ชื่อเดียวกันอย่าง "มาร์ค" อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
 ตารวจอเมริกันคนหนึ่งต้องลาออกจากงานเพราะเขียนในเฟซบุ๊กว่า
ควรจะมีกฎหมายที่อนุญาตให้ตารวจจับคนเข้าคุกเพราะทาอะไรโง่ๆ
 แอร์โฮสเตสกับสจ๊วตของสายการบินในอังกฤษถูกไล่ออกเพราะ
เขียนคอมเมนต์ดูถูกผู้โดยสาร
 พนักงานคนหนึ่งในอังกฤษถูกไล่ออกจากงานเพราะบ่นในเฟซบุ๊กว่า
งานของเธอน่าเบื่อและเธอไม่มีความสุขในการทางาน73
การโพสต์ข้อมูลส่วนตัวที่ทาให้เป็นผลเสียต่อตนเอง
 ผู้ใช้เฟซบุ๊กคนหนึ่งที่เป็นผู้หญิงโพสต์บนเฟซบุ๊กว่าตนเองจะไปชม
คอนเสิร์ตของตนเองและที่อยู่ของตนเองซึ่งทาให้เพื่อนเฟซบุ๊กคน
หนึ่งที่เธอไม่ได้คุยมานานเข้าไปขโมยบ้านของตนเอง
 ครูผู้หญิงคนหนึ่งชาวอังกฤษคนหนึ่งฆ่าตัวตายหลังจากที่แฟนเก่า
โพสต์รูปโป๊ของตัวเองบนเฟซบุ๊กขณะตนเองทางานที่ประเทศ
ตะวันออกกลาง
 ผู้หญิงคนหนึ่งถูกฆ่าโดยแฟนเก่าหลังจากที่แฟนเก่าเห็นรูปของ
ผู้หญิงคนนี้กับผู้ชายคนใหม่ในเฟซบุ๊ก
74
75
หัวข้อ
75
 โซเชียลมีเดียคืออะไร
 พัฒนาการของโซเชียลมีเดีย
 แนวโน้มของโซเชียลมีเดีย
 ผลกระทบของโซเชียลมีเดีย
 การใช้โซเชียลมีเดียให้เป็นประโยชน์และเหมาะสม
การใช้เว็บเครือข่ายสังคมเพื่อองค์กร
76
 Youtube
 อัปโหลดวิดีโอเกี่ยวกับองค์กรของตนเองซึ่งอาจทาให้มีคนดูนับล้าน
 Facebook
 มีเฟซบุ๊กเพจที่ทาให้คนที่สนใจองค์กรมาติดตามข่าวต่างๆขององค์กร
 Twitter
 อัปเดตสถานะปัจจุบันและข่าวขององค์กรอย่างสม่าเสมอ
 Wikipedia
 เขียนและอัปเดตข้อมูลขององค์กร
 Blogs
 อัปเดตการให้บริการและผลิตภัณฑ์ขององค์กร
แนวทางการใช้เฟซบุ๊กเพจเพื่อประชาสัมพันธ์องค์กร
 หาแนวทางของตัวเองให้เจอ ที่เหมาะสมกับผู้ติดตาม
 เข้าถึงลูกค้า เป็นเพื่อนลูกค้า พูดเรื่องที่เกี่ยวกับลูกค้า
 บอกโปรโมชั่น เพื่อให้ผู้ติดตามมีส่วนร่วม
 ตอบคาถามลูกค้าแต่ไม่ตอบปัญหา ควรจะมีลิงก์ที่ตอบปัญหา
ต่างหาก
 ทากิจกรรมสม่าเสมอ เช่น Tag รูป ง่ายๆ เน้นสร้างให้คนในเพจ
ให้รู้จักกัน
 มีการวางแผน ดาเนินตามแผน วัดผล และปรับปรุงอยู่เสมอ
77
สิ่งที่ไม่ควรทาและควรทาในการใช้โซเชียลมีเดีย
1. พยายามทาให้คนอื่นประทับใจในสิ่งที่คุณโพสต์หรืออัปโหลด ควรจะโพสต์
สิ่งที่คนอื่นเห็นว่าเป็นประโยชน์ หรือพูดกาลังใจให้กับคนอื่น
2. พยายามไม่โพสต์คาพูดหรือโพสต์ภาพหรือวิดีโอที่บ่งชี้ถึงพฤติกรรมที่น่า
เป็นห่วง เช่น ดื่มเหล้าหนัก ชอบเที่ยวกลางคืนบ่อย
3. ลองใช้เสริช์เอ็นจินค้นหาข้อมูลตนเองดูเพื่อทราบว่าตนเองถูกพูดถึง
อย่างไรบ้าง
4. อย่าโพสต์คาพูดในเชิงลบกับคนอื่น เช่น เพื่อนร่วมงานหรือนายจ้าง
หรือไม่ควรบ่นว่าเบื่อหรือเซ็งงานที่ตัวเองทา
5. อย่ารายงานทุกขณะบนสื่อออนไลน์อยู่ตลอดเวลาว่าตัวเองกาลังทาอะไรอยู่
เช่น กินข้าวกลางวันเป็นอะไร ไปเที่ยวกับใคร กาลังหางานทาอยู่
78
ข้อแนะนาสาหรับพ่อแม่ที่มีลูกเล่นเฟซบุ๊ก (1/2)
1. อย่าเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากเกินไป เช่น มีกรณีเด็กนักศึกษาคนหนึ่ง
ถูกปฎิเสธไม่ให้เข้ามหาวิทยาลัยเพราะบ่นในในเว็บชุมชนออนไลน์เกี่ยวกับ
มหาวิทยาลัยแห่งนั้นหลังจากเยี่ยมชมสถานที่ของมหาวิทยาลัย หรือ ไม่
ควรจะเปิดเผยว่าจะไปเที่ยวที่ไหน เที่ยวกับใคร บ้านอยู่ที่ไหน เบอร์โทร
อะไร
2. จากัดเวลาในการใช้อินเทอร์เน็ตและการใช้เฟซบุ๊ก
3. ระมัดระวังในการรับเพื่อนที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน หรือเพื่อนที่เราไม่แน่ใจ
ว่าเค้าจะเป็นคนพาลหรือจะแกล้งเราหรือไม่
4. ระมัดระวังในการปกป้องรหัสผ่านไม่ให้คนอื่นแม้กระทั่งเพื่อนที่สนิทที่สุด
ทราบ
79
ข้อแนะนาสาหรับพ่อแม่ที่มีลูกเล่นเฟซบุ๊ก (2/2)
5. ถ้าหากลูกยังเล็กมาก ไม่ควรจะเปิดเผยชื่อเต็ม อายุและชื่อเต็ม
โรงเรียนของลูกทราบทางออนไลน์
6. ถ้ามีสิ่งใดที่ลูกสังสัยว่ามันแปลกๆ หรือผิดปกติ ให้เค้ารีบแจ้ง
ให้กับพ่อแม่ทราบ
7. แจ้งให้ลูกทราบว่าไม่ควรนัดพบเพื่อนที่รู้จักทางออนไลน์โดยที่ไม่
มีพ่อแม่ไปด้วย
8. ถ้าลูกเล่นเฟซบุ๊ก ลูกจะต้องเป็นเพื่อนกับพ่อแม่ทางเฟซบุ๊กด้วย
เพื่อพ่อแม่ก็จะได้ทราบว่า ลูกพูดว่าอะไรบ้าง เพื่อนลูกพูดว่า
อะไรบ้าง มีอะไรน่าสงสัยไหม
80
ข้อแนะนาทั่วไปในการใช้เฟซบุ๊ก
1. ควรจะจัดกลุ่มเพื่อนเพื่อทาให้สามารถเลือกได้ว่าจะโพสต์ข้อมูลให้กลุ่ม
เพื่อนไหนดู หรือดูอัปเดตของเพื่อนในกลุ่มนี้เท่านั้น
วิธีการ:
http://www.facebook.com/kkusocialmedia#!/notes/kku-
social-media-study-group/kar-cad-klum-pheuxn-nife-
sbuk/143723062314237
2. ควรจะกาหนดค่าส่วนตัวไม่ให้เพื่อนของเพื่อนเห็นข้อมูลตัวเอง
วิธีการ:
http://www.facebook.com/kkusocialmedia#!/notes/kku-
social-media-study-group/kar-cad-klum-pheuxn-nife-
sbuk/143723062314237
81
ตัวอย่างของการดูอัปเดตของกลุ่มเพื่อน
82
ตัวอย่างการใช้ Facebook Group เพื่อการศึกษา
83
สรุป
84
 โซเชียลมีเดียเป็นเครื่องมือออนไลน์ที่ทาให้เรามี
ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นด้วยการแบ่งปันข้อมูลหรือพูดคุยกัน
 โซเชียลมีเดียมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ไม่ควรที่จะปิดกั้น
ตัวเองไม่ใช้ แต่ก็ไม่ควรที่จะใช้อย่างไม่มีวินัย
 เราควรจะเรียนรู้ที่จะใช้โซเชียลมีเดียให้เหมาะสมและ
ให้เป็นประโยชน์
ขอบคุณ
http://twitter.com/krunapon
http://gotoknow.org/blog/krunapon
http://slideshare.net/krunapon
http://gear.kku.ac.th/~krunapon
krunapon@kku.ac.th
85
86
อ้างอิง
86
 http://www.fredcavazza.net/2008/06/09/social-media-
landscape/
 http://download.cnet.com/8301-2007_4-10155181-12.html
 http://blog.brothersoft.com/tag/windows-live-messenger-
2009/
 http://en.onsoftware.com/video-chats-enabled-in-google-
talk/video-chats-enabled-in-google-talk/
 http://www.penn-olson.com/2010/08/11/social-media-
costs-uk-economy-22-billion/
 http://hilight.kapook.com/view/51417
 http://www.allfacebook.com/facebook-status-burglary-
2010-03
 http://www.huffingtonpost.com/2010/02/19/woman-
stabbed-by-jealous_n_467979.html
87
อ้างอิง
87
 http://keng.com/2009/01/07/thailand-social-media-
list/
 http://www.linkedin.com/answers/technology/softw
are-development/TCH_SFT/281789-
95459?browseCategory=TCH_SFT
 http://socialmediaanswers.com/niche-social-
networking-sites/
 http://blog.case.edu/lev.gonick/2008/05/13/linkedin
_social_networking_and_creating_value_for_alum
ni_at_case_western_reserve_university
 http://www.socialmediatoday.com/SMC/192312
 http://techcrunch.com/2010/06/08/twitter-190-
million-users/
 http://www.facebook.com/press/info.php?statistics
88
อ้างอิง
88
 http://en.wikipedia.org/wiki/Lifestreaming
 http://answers.yahoo.com/question/index?qid=2008
1228222340AAhQMIQ
 http://blogs.zdnet.com/feeds/?p=110
 http://en.wikipedia.org/wiki/Social_media_marketi
ng
 http://traffikd.com/smm/worth-your-time/
 http://blog.hubspot.com/blog/tabid/6307/bid/2989/I
nbound-Marketing-vs-Outbound-Marketing.aspx
 http://www.telegraph.co.uk/education/educationne
ws/7308823/Teacher-killed-herself-after-ex-
boyfriend-posted-naked-photos-on-Facebook.html
89
อ้างอิง
89
 http://bootcampdigital.com/7-myths-of-social-media-
marketing-revealed/
 http://mashable.com/2009/02/06/social-media-smartest-
brands/
 http://mindjumpers.wordpress.com/2009/08/07/pepsi/
 http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/200908
15/69098/โซเชียล-เน็ตเวิร์คกิ้ง-..มาร์เก็ตติ้ง-24-ชม...html
 http://abcnews.go.com/Technology/wireStory?id=8490229
 http://www.slideshare.net/phdunay/five-ways-facebook-
can-get-you-fired-1876970
 http://www.allfacebook.com/facebook-status-burglary-
2010-03
อ้างอิง
90
 http://www.roadtofailure.com/2009/06/19/social-media-
kills-the-rdbms/
 http://www.itworld.com/saas/58645/gartner-saas-grow-
90-organizations
 http://en.wikipedia.org/wiki/Software_as_a_service
 http://en.wikipedia.org/wiki/Application_programming_i
nterface
 http://en.wikipedia.org/wiki/Mashup_(web_application_
hybrid)
 http://mashable.com/2009/11/25/facebook-marketing-
ikeas-genius-use-of-photo-tagging/
อ้างอิง
91
 http://www.fistfuloftalent.com/2008/12/5-mustuse-social-
media-tools-for-hr-recruiting-professionals-in-2009.html
 http://www.sporez.com/honeyjar/?p=363
 http://www.huffingtonpost.com/2009/07/01/is-twitter-the-
21st-centu_n_223903.html
 http://www.guardian.co.uk/technology/blog/2009/jun/26/mic
haeljackson-twitter-blogs-reporting
 http://www.onlinecolleges.net/2009/08/10/25-twitter-
projects-for-the-college-classroom/
 http://mashable.com/2009/08/04/us-marines-social-media-
ban/
 http://webtrends.about.com/od/web20/a/social-media.htm
 http://socialmediarockstar.com/history-of-social-media
92
รูปภาพอ้างอิง
92
 http://adamstrange.com/Yellow-Page-Ad-Design/Yellow-Page-
Advertising.gif
 http://media.compete.com/site_media/upl/img/AK-SN3.gif
 http://www.marketingblog.co.za/wp-content/tv_advertising.jpg
 http://blog.arpitnext.com/wp-content/uploads/2009/03/social-
network-site-button.png
 http://asiatours.net/thailand/images/thai_money.jpg
 http://www.centernetworks.com/amazon-s3-hosts-8-billion-
objects
 http://docs.amazonwebservices.com/AmazonS3/latest/images/de
vpay_installations.gif
 http://bootcampdigital.com/7-myths-of-social-media-marketing-
revealed/
รูปภาพอ้างอิง
93
 http://docs.amazonwebservices.com/AmazonS3/latest/i
mages/devpay_installations.gif
 http://bootcampdigital.com/7-myths-of-social-media-
marketing-revealed/

More Related Content

What's hot

รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดียรู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดียPisan Chueachatchai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงานpop Jaturong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9พัน พัน
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานJanchai Pokmoonphon
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 

What's hot (20)

รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดียรู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 

Viewers also liked

ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันKittipong Kansamroeng
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
ตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้น
ตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้นตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้น
ตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้นJeeraJaree Srithai
 
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมลJeeraJaree Srithai
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บKobwit Piriyawat
 
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .Montita Kongmuang
 
รายงานเข้าร่วมโครงการ Social media
รายงานเข้าร่วมโครงการ Social mediaรายงานเข้าร่วมโครงการ Social media
รายงานเข้าร่วมโครงการ Social mediaKobwit Piriyawat
 
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social mediaรายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social mediaKobwit Piriyawat
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์
การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์
การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์Kanda Runapongsa Saikaew
 
Social Media & Social Networking
Social Media & Social NetworkingSocial Media & Social Networking
Social Media & Social NetworkingJira Hongsamrerng
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่Watermalon Singha
 
Role of Professional Media in New Media Landscape
Role of Professional Media in New Media LandscapeRole of Professional Media in New Media Landscape
Role of Professional Media in New Media LandscapeSarinee Achavanuntakul
 

Viewers also liked (20)

ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
 
Social media with Thailand
Social media with ThailandSocial media with Thailand
Social media with Thailand
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
ตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้น
ตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้นตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้น
ตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้น
 
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
 
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บเอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
เอกสารประกอบการอบรมการสร้างเว็บไซต์ด้วยเวิร์ดเพรส รวมขึ้นเว็บ
 
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
 
รายงานเข้าร่วมโครงการ Social media
รายงานเข้าร่วมโครงการ Social mediaรายงานเข้าร่วมโครงการ Social media
รายงานเข้าร่วมโครงการ Social media
 
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social mediaรายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
รายงานเข้าร่วมสัมมนา Social media
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
คู่มือ Courselab
คู่มือ Courselabคู่มือ Courselab
คู่มือ Courselab
 
Thai socialmedia
Thai socialmediaThai socialmedia
Thai socialmedia
 
การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์
การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์
การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์
 
Social Media & Social Networking
Social Media & Social NetworkingSocial Media & Social Networking
Social Media & Social Networking
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
Social Media for Education
Social Media for EducationSocial Media for Education
Social Media for Education
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
Role of Professional Media in New Media Landscape
Role of Professional Media in New Media LandscapeRole of Professional Media in New Media Landscape
Role of Professional Media in New Media Landscape
 

Similar to Social Media (โซเชียลมีเดีย)

Introduction to Social Networks
Introduction to Social NetworksIntroduction to Social Networks
Introduction to Social NetworksSirapat Boonkrong
 
Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)arunrat bamrungchit
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนชิตชัย โพธิ์ประภา
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2She's Ning
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learnerKruBeeKa
 
คำอธิบายรายวิชา Social media
คำอธิบายรายวิชา Social mediaคำอธิบายรายวิชา Social media
คำอธิบายรายวิชา Social mediakroojaja
 
โซเชียลมีเดีย2
โซเชียลมีเดีย2โซเชียลมีเดีย2
โซเชียลมีเดีย2julee2506
 
โซเชียลมีเดีย2
โซเชียลมีเดีย2โซเชียลมีเดีย2
โซเชียลมีเดีย2julee2506
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2teerarat55
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องSupaporn Pakdeemee
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher educationoajirapa
 

Similar to Social Media (โซเชียลมีเดีย) (20)

Introduction to Social Networks
Introduction to Social NetworksIntroduction to Social Networks
Introduction to Social Networks
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Social network
Social networkSocial network
Social network
 
Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
3.2 social_network
3.2 social_network3.2 social_network
3.2 social_network
 
คำอธิบายรายวิชา Social media
คำอธิบายรายวิชา Social mediaคำอธิบายรายวิชา Social media
คำอธิบายรายวิชา Social media
 
โซเชียลมีเดีย2
โซเชียลมีเดีย2โซเชียลมีเดีย2
โซเชียลมีเดีย2
 
โซเชียลมีเดีย2
โซเชียลมีเดีย2โซเชียลมีเดีย2
โซเชียลมีเดีย2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Business and Social Media
Business and Social MediaBusiness and Social Media
Business and Social Media
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher education
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Social network 54
Social network 54Social network 54
Social network 54
 

More from Kanda Runapongsa Saikaew

ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้Kanda Runapongsa Saikaew
 
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัยใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัยKanda Runapongsa Saikaew
 
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษาบริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษาKanda Runapongsa Saikaew
 
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and LearningUsing Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and LearningKanda Runapongsa Saikaew
 
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropboxวิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
วิธีการติดตั้งและใช้ DropboxKanda Runapongsa Saikaew
 
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing InformationUsing Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing InformationKanda Runapongsa Saikaew
 
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้Kanda Runapongsa Saikaew
 
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้Kanda Runapongsa Saikaew
 
คู่มือการใช้ Dropbox
คู่มือการใช้ Dropboxคู่มือการใช้ Dropbox
คู่มือการใช้ DropboxKanda Runapongsa Saikaew
 
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอนการใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอนKanda Runapongsa Saikaew
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Kanda Runapongsa Saikaew
 
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้Kanda Runapongsa Saikaew
 

More from Kanda Runapongsa Saikaew (20)

ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
 
Google Apps Basic for Education
Google Apps Basic for Education Google Apps Basic for Education
Google Apps Basic for Education
 
Moodle basics
Moodle basicsMoodle basics
Moodle basics
 
Introduction to JSON
Introduction to JSONIntroduction to JSON
Introduction to JSON
 
Introduction to Google App Engine
Introduction to Google App EngineIntroduction to Google App Engine
Introduction to Google App Engine
 
Android dev tips
Android dev tipsAndroid dev tips
Android dev tips
 
Introduction to Google+
Introduction to Google+Introduction to Google+
Introduction to Google+
 
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัยใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
 
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษาบริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
 
Baby Health Journal
Baby Health Journal Baby Health Journal
Baby Health Journal
 
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and LearningUsing Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
 
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropboxวิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
 
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing InformationUsing Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
 
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
 
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
 
คู่มือการใช้ Dropbox
คู่มือการใช้ Dropboxคู่มือการใช้ Dropbox
คู่มือการใช้ Dropbox
 
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอนการใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
 
Google bigtableappengine
Google bigtableappengineGoogle bigtableappengine
Google bigtableappengine
 
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
 

Social Media (โซเชียลมีเดีย)