SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 2
Downloaden Sie, um offline zu lesen
“Beyond Imagination: จินตนาการมีค่ามากกว่าความรู้ ในยุค IT จริงหรือ?”
                                                                           ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว (http://twitter.com/krunapon)
                                                                             ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


         ก่อนอื่นต้องทามาความเข้าใจความหมายของคาว่าจินตนาการ                     หากดูจากพจนานุกรมไทย ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ .ศ. 2542ก็จะให้ความหมาย จินตนาการ ว่า การสร้างภาพขึ้นในจิตใจ. (ป. จินฺตน + อาการ) และให้
ความหมาย ความรู้ ว่า สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิง
ปฏิบัติและทักษะ; ความเข้าใจหรือสารสนเทศ ที่ได้รับมาจากประสบการณ์ ; สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด
หรือการปฏิบัติ [1] พจนานุกรมสมัยใหม่ให้ความหมายของคาว่า "จินตนาการ" คือการใช้สติปัญญาสร้างสรรค์ ด้วยการ
จัดความรู้หรือความคิดเข้าเป็นระบบใหม่, มีเอกลักษณ์และมีเหตุผล; ความสามารถในการสร้างสรรค์หรือประดิษฐ์;
ความนึกคิดในวรรณคดี,ศิลปกรรม,ปรัชญา,วิทยาศาสตร์ และจริยธรรม [2]
         หากดูจากความหมายของทั้งคาว่า จินตนาการและความรู้ และดูจากประวัติการพัฒนาของอุปกรณ์และ
เครื่องมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ก็จะพบว่า จินตนาการมีค่ ามากกว่าความรู้ในยุค IT จริง โดยความเห็นส่วน ตัว
แล้วคิดว่าไม่ว่าจะเป็นยุคใด จินตนาการก็จะมีค่ามากกว่าความรู้ เพราะหากไม่มีจินตนาการ ก็จะไม่มีความรู้ใหม่ ใน
ที่นี้จะขอยกตัวอย่างจินตนาการที่สาคัญที่ทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนวิวัฒนาการหรือการพัฒนาที่สาคัญในIT
         1) การค้นหาข้อมูลโดย Google search engine
         ในขณะที่คนส่วนใหญ่มองแต่ว่าเว็บนี้ลิงก์ไปที่เว็บอะไรบ้าง Larry Page ต้องการจะทราบด้วยว่าเว็บนี้ถูกลิงก์จาก
ที่ไหนบ้าง แล้วเขาเชื่อว่า เว็บแต่ละเว็บมีความสาคัญแตกต่างกัน ในทานองเดียวกับที่บทความวิจัยแต่ละบทความมี
ความสาคัญแตกต่างกัน Page จินตนาการว่าเขาสามารถให้ความสาคัญของเว็บเพจที่มีคุณค่าแตกต่างกัน Page และ Serge
Brin ซึ่งเป็นเพื่อนที่เก่งคณิตศาสตร์มากของ Page จึงได้ทดลองและพยายามจัดอันดับความสาคัญของเว็บตามอันดับ
ความสาคัญของลิงก์ที่มายังเว็บนั้นซึ่งก็จะช่วยทาให้คนที่ต้องการค้นหาข้อมูลพบข้อมูลที่มีคุณภาพหรือมีความสาคัญ
ก่อน ซึ่งเป็นที่มาของเซิร์สเอ็นจินที่ฉลาดกว่าเซิร์สเอ็นจินที่มีอยู่แล้วซึ่งพิจารณาแต่ข้อความที่อยู่บนแต่ละเว็บ
นอกจากนี้สิ่งที่ Page และ Brin คิดนั้นสามารถจะทางานได้ดีกับจานวนเว็บที่มีอยู่มาก เพราะอัลกอริธึมวิเคราะห์ลิงก์ และ
ยิ่งจานวนลิงก์มาก ก็จะยิ่งทาให้คุณภาพของเว็บเพจน่าเชื่อถือมากขึ้น เขาจึงได้ตั้งชื่อเสิรช์เอ็นจินของเขาว่า Google ซึ่งมา
จากคาว่า googol ที่เป็นคาที่อ้างอิงถึงตัวเลขที่ขึ้นต้นด้วย 1 แล้วตามด้วยเลขศูนย์จานวน 100 ตัว [3]
         2) เครื่องฟังเพลง Apple iPod
         iPod นั้นในตอนแรกเป็นเพียงจินตนาการของ Tony Fadell ผู้เชี่ยวชาญด้านฮาร์ดแวร์ ซึ่งพัฒนาอุปกรณ์ให้กับ General
Magic และ Philips ตอนนั้น ไอเดียของ Fadell คือต้องการมีอุปกรณ์ที่เล่นเพลงไฟล์ MP3 โดยที่มีระบบขายเพลงผ่าน Napster
และมีบริษัทที่ขายและให้บริการระบบขายเพลงนั้น Fadell พยายามที่จะเสนอแผนธุรกิจนี้กับหลายบริษัทแต่ก็ไม่มีบริษัท
ใดสนใจยกเว้น Apple ซึ่งตกลงจ้าง Fadell พร้อมทั้งให้เป็นหัวหน้าทีมผลิต iPod โดยที่มีสมาชิก 30 คนในทีมนั้น Fadell ได้พูด

                                                                                                                        1/2
กับสมาชิกในทีมว่า "นี่คือโครงการที่จะพลิกอนาคตของ Apple และอีก 10 ปีข้างหน้า Apple จะกลายเป็นบริษัทเพลง ไม่ใช่
บริษัทคอมฯ" [4] ในปี 2001 แต่ภายในไม่ถึง 10ปี Apple iTunes + iPod ทาให้ Apple เป็นบริษัทที่ขายเพลงมากที่สุดในโลก
มากกว่าร้านค้าใดๆ ชนะ Wal Mart โดยที่ Apple ขายเพลงผ่านโปรแกรม iTunes และ iPod เป็นอุปกรณ์ฟังเพลงยอดฮิตที่ใช้
โปรแกรม iTunes ได้สะดวกมาก
         3) เว็บเครือข่ายสังคม Twitter และ Facebook
         ในปัจจุบันการใช้อินเทอรเน็ตของคนได้เปลี่ยนไปจากการใช้เข้าไปอ่านข้อมูลที่เว็บไซต์ต่างๆ มาเป็นการ
ทักทายเพื่อนรวมทั้งการอัปโหลดรูปหรือวิดีโองของตนเองให้กับเพื่อนดูผ่านเว็บเครือข่ายสังคม จากสถิติที่นาเสนอ
โดย compete.com ณ เดือนมีนาคม 2552 พบว่า Twitter มีผู้ใช้งานเพิ่มขึ้น 1202% จากปีที่แล้ว ในขณะที่ Facebook มีจานวน
ผู้ใช้งานเพิ่มขึ้น 195% [5] ปัจจุบันมีคนใช้ Facebook มากกว่า 350ล้านคนทั่วโลก [6]
ที่มาของ Twitter นั้นมาจากการที่การที่ Jack Dorsey จิตนาการที่จะมีวิธีที่บอกให้เขาทราบว่าเพื่อนเขากาลังทาอะไร [7] ทีม
เขาจึงได้พัฒนาโปรแกรม ซึ่งให้คนโพสต์คาตอบสาหรับคาถาม “What are you doing” โดยที่ใช้ตัวอักษรไม่เกิน 140 ตัวอักษร
ในคาตอบนั้น Twitter กลายเป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ที่มีประโยชน์มากโดยเฉพาะในแง่ของการเผยแพร่ข่าว
หรือข้อมูลในระยะเวลาอะไรรวดเร็ว
         ส่วนที่มาของ Facebook นั้นมาจากการที่ตอนแรก Mark Zuckerberg ได้สร้างเว็บไซต์ที่ให้คนเข้ามาโหวตว่ารูปผู้หญิง
คนไหนสวย ปรากฎว่าเว็บนี้เป็นที่นิยมมาก ต่อมาเขาจึงจินตนาการว่าจริงๆ แล้วมันคงจะดีไม่น้อยถ้าหากจะมีเว็บที่เป็น
แหล่งพูดคุยของเพื่อนๆ ที่รู้จักกัน ใครจะเข้าร่วมในเว็บดังกล่าว จะต้องเป็นที่รู้จักหรือยอมรับที่จะเป็นเพื่อนด้วย [8]
         จากตัวอย่างที่สาคัญข้างต้นนี้เราจะเห็นจินตนาสาคัญมากกว่าความรู้ในยุค IT และจริงๆ แล้วในวงการ IT นั้น
จาเป็นที่จะต้องมีนักประดิษฐ์หรือนักพัฒนาที่มีจินตนาการพื่อพัฒนาความรู้ให้มีความก้าวหน้าอย่างต่อเนือง     ่

แหล่งอ้างอิง
            [1] “พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2542” เข้าถึงได้ที่ http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp
            [2]"จินตนาการ" สู่ความสาเร็จ, เข้าถึงได้ทhttp://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=balanceofsociety&group=5&month=08-2005&date=28
                                                       ี่
            [3] “The Birth of Google”, available from http://www.wired.com/wired/archive/13.08/battelle.html?pg=2&topic=battelle&topic_set=
            [4] “Inside Look at Birth of the iPod”, available from http://www.wired.com/gadgets/mac/news/2004/07/64286
            [5] “Twitter and FAcebook Post Hugh Growth Numbers in March”, http://mashable.com/2009/04/06/twitter-and-facebook-post-huge-growth-
numbers-in-march/
            [6] “Facebook | Statistics “, http://www.facebook.com/press/info.php?statistics
            [7] “Where did the idea for Twitter come from?”, available from http://twitter.com/about#about
            [8] “Network Envy: The bitter bith of Facebook”, avaialable from
http://entertainment.timesonline.co.uk/tol/arts_and_entertainment/books/book_extracts/article6688863.ece?token=null&offset=12




                                                                                                                                            2/2

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Kanda Runapongsa Saikaew

ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัยใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัยKanda Runapongsa Saikaew
 
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษาบริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษาKanda Runapongsa Saikaew
 
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and LearningUsing Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and LearningKanda Runapongsa Saikaew
 
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropboxวิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
วิธีการติดตั้งและใช้ DropboxKanda Runapongsa Saikaew
 
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing InformationUsing Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing InformationKanda Runapongsa Saikaew
 
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้Kanda Runapongsa Saikaew
 
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้Kanda Runapongsa Saikaew
 
คู่มือการใช้ Dropbox
คู่มือการใช้ Dropboxคู่มือการใช้ Dropbox
คู่มือการใช้ DropboxKanda Runapongsa Saikaew
 
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอนการใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอนKanda Runapongsa Saikaew
 
การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์
การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์
การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์Kanda Runapongsa Saikaew
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Kanda Runapongsa Saikaew
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Kanda Runapongsa Saikaew
 
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้Kanda Runapongsa Saikaew
 
การใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้นKanda Runapongsa Saikaew
 
Analysis of Facebook Usage by College Students in Thailand
Analysis of Facebook Usage by College Students in ThailandAnalysis of Facebook Usage by College Students in Thailand
Analysis of Facebook Usage by College Students in ThailandKanda Runapongsa Saikaew
 
คู่มือการใช้ Zotero
คู่มือการใช้ Zotero คู่มือการใช้ Zotero
คู่มือการใช้ Zotero Kanda Runapongsa Saikaew
 

Mehr von Kanda Runapongsa Saikaew (20)

Introduction to Google+
Introduction to Google+Introduction to Google+
Introduction to Google+
 
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัยใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
ใช้ไอทีอย่างไรให้เป็นประโยชน์ เหมาะสม และปลอดภัย
 
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษาบริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
บริการไอทีของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพื่อนักศึกษา
 
Baby Health Journal
Baby Health Journal Baby Health Journal
Baby Health Journal
 
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and LearningUsing Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
Using Facebook as a Supplementary Tool for Teaching and Learning
 
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropboxวิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
วิธีการติดตั้งและใช้ Dropbox
 
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing InformationUsing Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
Using Facebook and Google Docs for Teaching and Sharing Information
 
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศฟรีที่น่าใช้
 
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
 
คู่มือการใช้ Dropbox
คู่มือการใช้ Dropboxคู่มือการใช้ Dropbox
คู่มือการใช้ Dropbox
 
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอนการใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
 
การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์
การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์
การใช้เฟซบุ๊กอย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
 
Google bigtableappengine
Google bigtableappengineGoogle bigtableappengine
Google bigtableappengine
 
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
การใช้โซเชียลมีเดียเพื่อช่วยในการเรียนรู้
 
การใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม R เบื้องต้น
 
Statistical Modeling of Extreme Values
Statistical Modeling of Extreme ValuesStatistical Modeling of Extreme Values
Statistical Modeling of Extreme Values
 
Analysis of Facebook Usage by College Students in Thailand
Analysis of Facebook Usage by College Students in ThailandAnalysis of Facebook Usage by College Students in Thailand
Analysis of Facebook Usage by College Students in Thailand
 
คู่มือการใช้ Zotero
คู่มือการใช้ Zotero คู่มือการใช้ Zotero
คู่มือการใช้ Zotero
 

“Beyond Imagination: จินตนาการมีค่ามากกว่าความรู้ ในยุค IT จริงหรือ?”

  • 1. “Beyond Imagination: จินตนาการมีค่ามากกว่าความรู้ ในยุค IT จริงหรือ?” ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว (http://twitter.com/krunapon) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ก่อนอื่นต้องทามาความเข้าใจความหมายของคาว่าจินตนาการ หากดูจากพจนานุกรมไทย ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ .ศ. 2542ก็จะให้ความหมาย จินตนาการ ว่า การสร้างภาพขึ้นในจิตใจ. (ป. จินฺตน + อาการ) และให้ ความหมาย ความรู้ ว่า สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิง ปฏิบัติและทักษะ; ความเข้าใจหรือสารสนเทศ ที่ได้รับมาจากประสบการณ์ ; สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ [1] พจนานุกรมสมัยใหม่ให้ความหมายของคาว่า "จินตนาการ" คือการใช้สติปัญญาสร้างสรรค์ ด้วยการ จัดความรู้หรือความคิดเข้าเป็นระบบใหม่, มีเอกลักษณ์และมีเหตุผล; ความสามารถในการสร้างสรรค์หรือประดิษฐ์; ความนึกคิดในวรรณคดี,ศิลปกรรม,ปรัชญา,วิทยาศาสตร์ และจริยธรรม [2] หากดูจากความหมายของทั้งคาว่า จินตนาการและความรู้ และดูจากประวัติการพัฒนาของอุปกรณ์และ เครื่องมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ก็จะพบว่า จินตนาการมีค่ ามากกว่าความรู้ในยุค IT จริง โดยความเห็นส่วน ตัว แล้วคิดว่าไม่ว่าจะเป็นยุคใด จินตนาการก็จะมีค่ามากกว่าความรู้ เพราะหากไม่มีจินตนาการ ก็จะไม่มีความรู้ใหม่ ใน ที่นี้จะขอยกตัวอย่างจินตนาการที่สาคัญที่ทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนวิวัฒนาการหรือการพัฒนาที่สาคัญในIT 1) การค้นหาข้อมูลโดย Google search engine ในขณะที่คนส่วนใหญ่มองแต่ว่าเว็บนี้ลิงก์ไปที่เว็บอะไรบ้าง Larry Page ต้องการจะทราบด้วยว่าเว็บนี้ถูกลิงก์จาก ที่ไหนบ้าง แล้วเขาเชื่อว่า เว็บแต่ละเว็บมีความสาคัญแตกต่างกัน ในทานองเดียวกับที่บทความวิจัยแต่ละบทความมี ความสาคัญแตกต่างกัน Page จินตนาการว่าเขาสามารถให้ความสาคัญของเว็บเพจที่มีคุณค่าแตกต่างกัน Page และ Serge Brin ซึ่งเป็นเพื่อนที่เก่งคณิตศาสตร์มากของ Page จึงได้ทดลองและพยายามจัดอันดับความสาคัญของเว็บตามอันดับ ความสาคัญของลิงก์ที่มายังเว็บนั้นซึ่งก็จะช่วยทาให้คนที่ต้องการค้นหาข้อมูลพบข้อมูลที่มีคุณภาพหรือมีความสาคัญ ก่อน ซึ่งเป็นที่มาของเซิร์สเอ็นจินที่ฉลาดกว่าเซิร์สเอ็นจินที่มีอยู่แล้วซึ่งพิจารณาแต่ข้อความที่อยู่บนแต่ละเว็บ นอกจากนี้สิ่งที่ Page และ Brin คิดนั้นสามารถจะทางานได้ดีกับจานวนเว็บที่มีอยู่มาก เพราะอัลกอริธึมวิเคราะห์ลิงก์ และ ยิ่งจานวนลิงก์มาก ก็จะยิ่งทาให้คุณภาพของเว็บเพจน่าเชื่อถือมากขึ้น เขาจึงได้ตั้งชื่อเสิรช์เอ็นจินของเขาว่า Google ซึ่งมา จากคาว่า googol ที่เป็นคาที่อ้างอิงถึงตัวเลขที่ขึ้นต้นด้วย 1 แล้วตามด้วยเลขศูนย์จานวน 100 ตัว [3] 2) เครื่องฟังเพลง Apple iPod iPod นั้นในตอนแรกเป็นเพียงจินตนาการของ Tony Fadell ผู้เชี่ยวชาญด้านฮาร์ดแวร์ ซึ่งพัฒนาอุปกรณ์ให้กับ General Magic และ Philips ตอนนั้น ไอเดียของ Fadell คือต้องการมีอุปกรณ์ที่เล่นเพลงไฟล์ MP3 โดยที่มีระบบขายเพลงผ่าน Napster และมีบริษัทที่ขายและให้บริการระบบขายเพลงนั้น Fadell พยายามที่จะเสนอแผนธุรกิจนี้กับหลายบริษัทแต่ก็ไม่มีบริษัท ใดสนใจยกเว้น Apple ซึ่งตกลงจ้าง Fadell พร้อมทั้งให้เป็นหัวหน้าทีมผลิต iPod โดยที่มีสมาชิก 30 คนในทีมนั้น Fadell ได้พูด 1/2
  • 2. กับสมาชิกในทีมว่า "นี่คือโครงการที่จะพลิกอนาคตของ Apple และอีก 10 ปีข้างหน้า Apple จะกลายเป็นบริษัทเพลง ไม่ใช่ บริษัทคอมฯ" [4] ในปี 2001 แต่ภายในไม่ถึง 10ปี Apple iTunes + iPod ทาให้ Apple เป็นบริษัทที่ขายเพลงมากที่สุดในโลก มากกว่าร้านค้าใดๆ ชนะ Wal Mart โดยที่ Apple ขายเพลงผ่านโปรแกรม iTunes และ iPod เป็นอุปกรณ์ฟังเพลงยอดฮิตที่ใช้ โปรแกรม iTunes ได้สะดวกมาก 3) เว็บเครือข่ายสังคม Twitter และ Facebook ในปัจจุบันการใช้อินเทอรเน็ตของคนได้เปลี่ยนไปจากการใช้เข้าไปอ่านข้อมูลที่เว็บไซต์ต่างๆ มาเป็นการ ทักทายเพื่อนรวมทั้งการอัปโหลดรูปหรือวิดีโองของตนเองให้กับเพื่อนดูผ่านเว็บเครือข่ายสังคม จากสถิติที่นาเสนอ โดย compete.com ณ เดือนมีนาคม 2552 พบว่า Twitter มีผู้ใช้งานเพิ่มขึ้น 1202% จากปีที่แล้ว ในขณะที่ Facebook มีจานวน ผู้ใช้งานเพิ่มขึ้น 195% [5] ปัจจุบันมีคนใช้ Facebook มากกว่า 350ล้านคนทั่วโลก [6] ที่มาของ Twitter นั้นมาจากการที่การที่ Jack Dorsey จิตนาการที่จะมีวิธีที่บอกให้เขาทราบว่าเพื่อนเขากาลังทาอะไร [7] ทีม เขาจึงได้พัฒนาโปรแกรม ซึ่งให้คนโพสต์คาตอบสาหรับคาถาม “What are you doing” โดยที่ใช้ตัวอักษรไม่เกิน 140 ตัวอักษร ในคาตอบนั้น Twitter กลายเป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ที่มีประโยชน์มากโดยเฉพาะในแง่ของการเผยแพร่ข่าว หรือข้อมูลในระยะเวลาอะไรรวดเร็ว ส่วนที่มาของ Facebook นั้นมาจากการที่ตอนแรก Mark Zuckerberg ได้สร้างเว็บไซต์ที่ให้คนเข้ามาโหวตว่ารูปผู้หญิง คนไหนสวย ปรากฎว่าเว็บนี้เป็นที่นิยมมาก ต่อมาเขาจึงจินตนาการว่าจริงๆ แล้วมันคงจะดีไม่น้อยถ้าหากจะมีเว็บที่เป็น แหล่งพูดคุยของเพื่อนๆ ที่รู้จักกัน ใครจะเข้าร่วมในเว็บดังกล่าว จะต้องเป็นที่รู้จักหรือยอมรับที่จะเป็นเพื่อนด้วย [8] จากตัวอย่างที่สาคัญข้างต้นนี้เราจะเห็นจินตนาสาคัญมากกว่าความรู้ในยุค IT และจริงๆ แล้วในวงการ IT นั้น จาเป็นที่จะต้องมีนักประดิษฐ์หรือนักพัฒนาที่มีจินตนาการพื่อพัฒนาความรู้ให้มีความก้าวหน้าอย่างต่อเนือง ่ แหล่งอ้างอิง [1] “พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2542” เข้าถึงได้ที่ http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp [2]"จินตนาการ" สู่ความสาเร็จ, เข้าถึงได้ทhttp://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=balanceofsociety&group=5&month=08-2005&date=28 ี่ [3] “The Birth of Google”, available from http://www.wired.com/wired/archive/13.08/battelle.html?pg=2&topic=battelle&topic_set= [4] “Inside Look at Birth of the iPod”, available from http://www.wired.com/gadgets/mac/news/2004/07/64286 [5] “Twitter and FAcebook Post Hugh Growth Numbers in March”, http://mashable.com/2009/04/06/twitter-and-facebook-post-huge-growth- numbers-in-march/ [6] “Facebook | Statistics “, http://www.facebook.com/press/info.php?statistics [7] “Where did the idea for Twitter come from?”, available from http://twitter.com/about#about [8] “Network Envy: The bitter bith of Facebook”, avaialable from http://entertainment.timesonline.co.uk/tol/arts_and_entertainment/books/book_extracts/article6688863.ece?token=null&offset=12 2/2