SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 31
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คําแนะนําในการเรียน

        บทเรียนนี้เปนบทเรียนโปรแกรม จัดทําขึนเพื่อใหนกเรียนศึกษาดวยตนเอง
                                                 ้     ั
โปรดอานคําแนะนํากอนศึกษาบทเรียน ดังตอไปนี้
        ๑. บทเรียนนี้เปนบทเรียนสําเร็จรูปมีทั้งหมด ๑๓ กรอบ ใชเวลาในการเรียน
๑ ชัวโมง
    ่
        ๒. ศึกษาจุดประสงคการเรียนรู แลวนักเรียน
จะทราบวา เมือเรียนจบแลวนักเรียนจะไดความรูอะไร
              ่
        ๓. ทําแบบทดสอบกอนเรียนตามความเขาใจ
ของนักเรียน ตอบผิดไมเปนอะไร เพราะถาศึกษา
เอกสารตอไปจะตอบไดถูกตองในภายหลัง
        ๔. บทเรียนนี้ไมใชขอทดสอบ ไมตองกังวลใจ
ทําไปชา ๆ ทีละกรอบ นักเรียนจะไดรับความรู ไดทํา
แบบฝกหัดและไดทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยตัวเอง
        ๕. ขณะศึกษาบทเรียนและปฏิบัติกิจกรรม
ไมดเฉลย เมื่อตอบผิดใหกลับไปศึกษาเนื้อหาในกรอบ
      ู
เดิมแลวลองตอบคําถามใหม
        ๖. เมื่อศึกษาครบทุกกรอบแลวใหทา   ํ
แบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความเขาใจอีกครั้งหนึ่ง
        ๗. เมื่อเขาใจดีแลวศึกษาบทเรียนไดเลย
๒




             สาระสําคัญ




                 หนังสือในหองสมุด
    มีเปนจํานวนมาก และมีจํานวนเพิ่มขึ้น
     เรื่อย ๆ จึงตองจัดเก็บใหเปนระเบียบ
      โดยการแยกออกเปนหมูตามเนือหา   ้
   หนังสือที่มีเนื้อหาคลายคลึงกันไวดวยกัน
การจัดหมูหนังสือจะทําใหสามารถคนหาหนังสือ
         เลมที่ตองการใชไดอยางรวดเร็ว
       เพราะหนังสือจะอยูเปนหมวดหมู
๓




                         แบบทดสอบกอนเรียน
                         เรื่อง การจัดหมูหนังสือ



 คําชี้แจง ใหนักเรียนใสเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูก
           และเครื่องหมาย X หนาขอความที่เห็นวาผิด

  ………. ๑. ผูที่คิดคนการจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้คือ เมลวิล ดิวอี้
  ………. ๒. การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอีตองใชเลขไทยเปนสัญลักษณจึงถูกตอง
                                                ้ 
  ………. ๓. การจัดหมูหนังสือคือการจัดใหหนังสือที่มีเนื้อหาเหมือนกันไวดวยกัน
                          
  ………. ๔. การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอีแบงเนื้อหาออกเปน ๑๐ หมวดใหญ
                                                 ้
  ………. ๕. หนังสือ “การใชภาษาไทย” จะคนหาไดจากหมวด 300
คําสั่ง ใหนกเรียนใสแผนทีงหมาย จากหมวด 900 ่ถูก และเครื่องหมาย X หนาขอความ
  ………. ๖. หนังสือเครื่อ จะคนหาได หนาขอความที
              ั               ่
        ที่เห็นวาผิด
  ………. ๗. นักเรียนจะหาหนังสือเกียวกับคอมพิวเตอรจะตองไปทีหมวด 000
                                    ่                         ่
………. ๑.๘.ผูเราตองการหนังสือสารนิงเสือระบบทศนิยมของดิวอี้คือเมลวิล ดิ่หมวด 200
  ………. ที่คิดคนการจัดหมูหนั ทศกับหองสมุดเพื่อทํารายงานตองไปหาที วอี้
………. ๒.๙.การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิี่เวอี้ใชยงไดถกตองตามหลักษณ
  ………. 495.911 495.917 495.918 เลขหมูท ห็นเรี เลขไทยเปนสัญลั กเกณฑ
                                                           ู
………. ๓. หอกเรียดโรงเรียนสุธวิทสือเกีดหมูบพระอภัโดยใชะตองไปทีสภาอเมริกัน
  ……… ๑๐. นังสมุ นตองการหาหนัง ยาจั ่ยวกั หนังสือ ยมณีจระบบรัฐ ่หมวด 800
                                 ี
………. ๔. การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้แบงครั้งที่แบงเนื้อหาออกเปน
                ๑๐ หมวดใหญ
………. ๕. หมวด 400 คือหมวดภาษาศาสตร
………. ๖. การแบงครั้งที่ ๒ ใชเลขหลักสิบเปนตัวแบง
………. ๗. การแบงครั้งที่ ๓ ใชเลขหลักหนวยเปนตัวแบง
………. ๘. ตัวเลขที่แทนสัญลักษณนี้ใชตัวเลข ๔ หลัก
………. ๙. ตัวเลขหลังจุดทศนิยมจะใสกี่ตําแหนงก็ได
……… ๑๐. ภาษาไทยจัดอยูในเลข 495
๔




เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน
  เรื่องการจัดหมูหนังสือ




    ขอ         คําตอบ
     ๑
    ๒             X
    ๓
    ๔
    ๕             X
     ๖
    ๗
    ๘             X
    ๙
    ๑๐
๕




  ผลการเรียนรูทคาดหวัง
               ี่



   นักเรียนมีความรูความเขาใจ
      เรื่องการจัดหมูหนังสือ
      ระบบทศนิยมของดิวอี้




 จุดประสงคการเรียนรู



๑. นักเรียนบอกประโยชนของ
   การจัดหมูหนังสือได
๒. นักเรียนบอกวิธีการจัดหมูหนังสือได
๖




                   การจัดหมูหนังสือ
                            

 กรอบที่ ๑


                                       สวัสดีหนูแกละ
                                    กําลังทําอะไรอยูครับ




    กําลังรดน้ําตนไมอยูจะ
                           
มีอะไรหรือเปลา ดูรีบรอนจังเลย




                                          อาว นี่สายแลวนะ
                                       ยังไมไปโรงเรียนอีกหรือ
                                   เราคิดวาจะใหเธอชวยอธิบาย
                                  เรื่อง เลขหมูใหเราฟงหนอยนะ
๗




กรอบที่ ๒



                              ออ ไดสิ เราใสถุงเทากอน
                      เธอก็กลับไปหยิบกระเปานักเรียนมาไดเลย
                            เธอกลับมาเราก็เสร็จพอดีจะ




  มาแลวครับหนูแกละ




                                 เราไปโรงเรียนพรอมกันเลยนะ
                                แลวคาบเรียนที่ ๗ เราจะอธิบาย
                                        ใหเธอฟงนะจะ
๘




กรอบที่ ๓


                           เอาละ เธอตั้งใจฟงใหดีนะ การจัดหมูหนังสือ คือ
                                                                   
                              การจัดหนังสือที่มีเนื้อเรื่องเดียวกันจัดเอาไว
                             ดวยกัน และเนื้อหาใกลเคียงกันจะอยูใกลกัน
                            แลวใชสัญลักษณแทนเนื้อหา ซึงอาจเปนตัวเลข
                                                               ่
                           ตัวอักษร หรือทั้งตัวเลขและตัวอักษรผสมกันก็ได




         อือม ! เนื้อเรื่องเดียวกัน
 เนื้อหาใกลเคียงกัน ใชตวเลข ตัวอักษร
                            ั
            เขาใจนิดหนอยจะ




                                         เพื่อความเขาใจยิ่งขึ้น เธอลองตอบ
                                         คําถามดูนะ การจัดหมูหนังสือ คือ
                                                                  
                                         ……………………………………
                                         เราคิดวาเธอตอบไดแน ๆ จะ
๙




                         เฉลยกรอบที่ ๓



       การจัดหมูหนังสือ คือ การจัดหนังสือ
                      
      ที่มีเนื้อเรื่องเดียวกันจะจัดเอาไวดวยกัน
       และเนื้อหาใกลเคียงกันจะอยูใกลกัน
     แลวใหสัญลักษณแทนเนื้อหา ซึ่งอาจเปน
ตัวเลข ตัวอักษร หรือทังตัวเลขและตัวอักษรผสมกัน
                           ้
   หนูแกละชวยดูคําตอบใหดวยนะวาถูกไหมครับ




                                      โอโฮ ! ถูกตองจะ เธอเกงมากเลยนะ
                                        ตามเราไปกรอบตอไปเลยนะจะ
๑๐




กรอบที่ ๔

                                            เมื่อเธอรูความหมายการจัดหมู
                                                หนังสือแลว แลวรูไหมจะ
ไมรูเลย ชวยบอกเราดวยสิ
                                                  วามีประโยชนอยางไร
          เราอยากรู




ไดสิ ประโยชนของการจัดหมูมีดังนี้จะ
                                     
๑. ชวยใหผูใชสามารถคนหาหนังสือที่ตองการไดสะดวก รวดเร็ว
                                         
๒. ชวยใหผูใชไดมโอกาสเลือกหนังสือ เนื้อเรื่องที่ตองการไดหลายเลม
                    ี                                
๓. ชวยใหผูใชเห็นหนังสือเลมอื่น ๆ สาขาเดียวกันที่หองสมุดมีอยู
๔. ชวยใหผูใชสามารถศึกษาเรื่องราวทีตอเนื่องกันไดสะดวก
                                        ่ 
๕. ชวยใหผูใชทราบวาหองสมุดมีหนังสือแตละสาขาวิชามากนอยเทาใด
๑๑




กรอบที่ ๕



    ตอไปเราจะพูดถึงเรื่อง
  ระบบการจัดหมูหนังสือนะ                          พูดชา ๆ นะ
      ฟงตามใหทันนะจะ                      เรื่องหาความรูใสตัว
                                                              
                                                  เราสูอยูแลว




 ระบบการจัดหมวดหมูหนังสือที่นิยมใชกนอยางแพรหลายมี ๒ ระบบจะ
                                    ั
    ๑. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เรียกยอวา ระบบ L.C.
    ๒. ระบบทศนิยมของดิวอี้ เรียกยอวา ระบบ D.C.
    เธอคิดวาหองสมุดโรงเรียนของเรา ใชระบบไหนจะ
๑๒




                     เฉลยกรอบที่ ๕




                             เอ ! ระบบไหนนะ ระบบทศนิยม
                            ของดิวอี้ครับ ไมทราบวาถูกไหมเอย




ถูกตองจะ เกงมากเลยตอม หองสมุด
  ของเราใชการจัดหมูหนังสือระบบ
ทศนิยมของดิวอี้ เพราะฉะนันเราก็จะ
                           ้
 อธิบายถึงระบบนี้ใหฟง ตามเราไป
        กรอบที่ ๖ เลยนะจะ
๑๓




กรอบที่ ๖


ตั้งใจฟงนะจะตอม
                                         เราพรอมแลว เริ่มไดเลยครับ
                                              นองแกละคนเกง




   การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ ผูคิดคนคือ เมลวิล ดิวอี้
              
    (Melvil Dewey) ชาวอเมริกน เปนระบบทีใชตวเลขทศนิยมแทน
                                ั           ่ ั
     เนื้อหาวิชา โดยเริ่มจากการแบงเนื้อหาอยางกวาง ๆ เปน ๑๐
   หมวดใหญ แลวจึงจําแนกใหเฉพาะเจาะจงลงไปโดยใชเลขอารบิก
                 0 – 9 เปนสัญลักษณ ตลอดทั้งระบบ
    ตอบคําถามเราบางนะ การจัดหมูระบบทศนิยมของดิวอี้ใชอะไร
                           เปนสัญลักษณจะ
๑๔




                 เฉลยกรอบที่ ๖




นองแกละครับ คําถามนี้งายมาก ๆ
                        
  เลยครับ ก็ใชเลขอารบิก สิครับ
      ถูกแน ๆ ใชไหมครับ




                                       ถูกจะ ใชเลขอารบิก
                                  เปนสัญลักษณคะ ตามเราไป
                                  กรอบตอไปนะ เริ่มยากแลวละ
                                   แตสําหรับคนเกงก็ไมยากจะ
๑๕




กรอบที่ ๗


                                         เราเดินไปคุยไปนะ ไมตองเครียด
 ชมกันเกินไปแลวละนองแกละ                       ไมยากหรอกจะ
 จะเปนหมูหรือจาก็ยงไมรูเลย
                   ั                        ตอมเกง รูเรื่องอยูแลวละ
       จะพยายามครับ




     ตองอยางนี้สิ ฟงนะ การแบงหมูครังที่ ๑ แบงหนังสือเปน ๑๐
                                        ้
      หมวดใหญ ดังนี้ 000 เบ็ดเตล็ด 100 ปรัชญาและจิตวิทยา
            200 ศาสนา 300 สังคมศาสตร 400 ภาษา
    500 วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 600 วิทยาศาสตรประยุกต
             700 ศิลปะและนันทนาการ 800 วรรณคดี
         900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร ไมยากใชไหมละ
๑๖




กรอบที่ ๘


                                  เรามาแบงครังที่ ๒ กันเลยไหม
                                              ้




  ดีครับ สมองกําลังจําอะไรไดดี
    ชาเดี๋ยวลืมหมด เริ่มไดเลย




                       เปนการแบงเนื้อหาจาก ๑๐ หมวดใหญ ออกเปน ๑๐
                       หมวดยอย โดยใชเลขหลักสิบ แบงไดดงนี้
                                                         ั
                       400 ภาษา 410 ภาษาศาสตร 420 ภาษาอังกฤษ
                       430 ภาษาเยอรมัน 440 ภาษาฝรังเศส่
                       450 ภาษาอิตาลี 460 ภาษาสเปน
                       470 ภาษาในกลุมอิตาลี 480 ภาษาเฮเลน
                       490 ภาษาอืน ๆ่
                         เรามีคําถามนะ แลวภาษาไทยละตอมคิดวาอยูใน
                            หมวดไหน เพราะไมเห็นมีบอกไวเลย อยากรู
                                 ตองตามเราไปกรอบตอไปเลยจะ
๑๗




กรอบที่ ๙


  ใกลจะรูแลวนะวาภาษาไทยอยูใน
      หมวดไหน เราจะมาดูกน     ั
  ในการแบงหมูครั้งที่ ๓ นี่แหละคะ
                




                                  นองแกละนารักมากเลย ทิงขยะลงถังดวย
                                                             ้
                                  แบงครั้งที่ ๓ นี่ ยากไหมหนอ ตอม สู สูครับ




 ไมยากหรอก ตอมตั้งใจฟงนะจะ เปนการแบงเนื้อหา
หมวดยอยเปนหมูยอย ใชตัวเลขหลักหนวยในการแบง
                    
    เชน 490 ภาษาอื่น ๆ 491 กลุมภาษาตะวันออก
  492 กลุมภาษาแอฟโฟร-เอเชียติก 493 กลุมภาษา
ที่ไมใชเซมิติก 494 กลุมภาษาอัลตา 495 กลุมภาษา
       ตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต ฯลฯ
       แลวตอมรูหรือยังวา ภาษาไทยอยูเลขหมูใด
๑๘




                         เฉลยกรอบที่ ๙




                              เรารูแลว ขอตอบเลยไดไหมจะนองแกละ
                            ภาษาไทยอยูเลขหมู 495 จะ เพราะประเทศไทย
                               อยูในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตครับ




   โอโฮ ! ตอมเกงมากเลยจะ ไหวพริบ
ดีมาก ๆ เลย เพราะประเทศไทยอยูในแถบ
          เอเชียตะวันออกเฉียงใต
 จึงอยูในกลุมภาษาตะวันออกและเอเชีย
    ตะวันออกเฉียงใต คือเลขหมู 495
ถาไหวพริบดีอยางนี้ ตามเราไปกรอบตอไป
                   เลยนะ
๑๙




กรอบที่ ๑๐


                                                 เบื่อหรือยังละตอม
                                               ถาเบื่อพอกอนก็ไดนะ




  ไมเบื่อหรอกครับ กําลังสนุกเลย
 เรื่องก็นาสนใจดี มีแบงอีกหรือไม
          
         ถามีก็ตอไดเลยครับ




                                    มีการแบงครั้งที่ ๔ จะ เปนการแบงโดยใช
                                จุดทศนิยม ดังนั้นสัญลักษณจึงประกอบดวย
                                  เลขสามหลัก และตัวเลขหลังจุดทศนิยมมี
                                จนถึงไมรูจบเลยแหละ เชน 495 กลุมภาษา
                                    ตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต
                                     495.1 ภาษาจีน 495.4 ภาษาทิเบต
                                   495.6 ภาษาญี่ปุน 495.7 ภาษาเกาหลี
                                   495.8 ภาษาพมา 495.9 ภาษาในเอเชีย
                                             ตะวันออกเฉียงใต
๒๐




กรอบที่ ๑๑


      ใกลจบแลวนะจะตอม
      การแบงหมูครั้งที่ ๕ จะ
 เปนการแบงหมูยอยอยางละเอียด
    โดยใชทศนิยมสองตําแหนง




                                       ใกลจบแลวเหรอ กําลังสนุกเลย
                                           แตขอตัวอยางดวยนะ
                                            จะไดเขาใจยิ่งขึ้นจะ




         ไดเลยเพื่อน การแบงหมูครังที่ ๕
                                    ้
 เปนการแบงโดยใชทศนิยมสองตําแหนงจะ
เชน 495.9 ภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต
  495.91 ภาษาไทย 495.92 ภาษาอันนัม
   495.93 ภาษามอญ เขมร ฯลฯ คราวนี้
    ก็รูแลวสินะวา ภาษาไทยอยูเ ลขหมูใด
๒๑




กรอบที่ ๑๒



       ตอมแบงครั้งที่ ๖                        วา ! ทําไมเร็วจัง
       นี่สุดทายแลวละ                      นาเสียดาย เรายังสนุก
                                                       อยูเลย




    การแบงหมูครั้งที่ ๖ เปนการแบงอยางละเอียด โดยใชทศนิยม
               
สามตําแหนง 495.91 ภาษาไทย 495.911 ภาษาพูด ภาษาเขียนของภาษาไทย
495.912 นิรุกติศาสตรภาษาไทย 495.913 พจนานุกรม สารานุกรมภาษาไทย
495.914 ศัพทพอง 495.915 ไวยากรณ วจีวิภาค วากยสัมพันธ 495.916
วิธีแตงคําประพันธ 495.917 ภาษาถินในภาษาไทย 495.918 การใชภาษาไทย
                                     ่
ที่เปนมาตรฐาน 495.919 ภาษาไทยอื่น ๆ
      เราจะทดสอบเธอละนะ ตั้งใจฟงคําถามนะจะ หนังสือหลักภาษาไทย
             ของกําชัย ทองหลอ อยูเลขหมูใดจะ ตอบไดไหมเอย
๒๒




                   เฉลยกรอบที่ ๑๒




ขอนึกสัก ๒ นาทีนะครับ เอ!
หลักภาษาไทย เปนไวยากรณ
 ใชแลว คือ เลขหมู 495.915




                               หัวสมองทําดวยอะไรนี่ อธิบายครั้งเดียว
                                     ก็เขาใจแลว เกงมากเลยตอม
                                  ถูกตองเลยจะ คือ เลขหมู 495.915
๒๓




 กรอบที่ ๑๓

                                                ไดเลย เราก็อยากรูเหมือนกันวา
เรามาทบทวนเนื้อหาทังหมดกันดีกวา
                   ้                                    เราจะทําไดไหม
   ไหม โดยการทําแบบฝกหัดนะ




      ตั้งใจทํานะจะ ๑. หองสมุดของเราใชการจัดหมูระบบใด
                     ๒. การแบงหมูครั้งที่ ๑ แบงไดกหมวด
                                                      ี่
                     ๓. การแบงหมูครั้งที่ ๒ ใชเลขหลักใดเปนตัวแบง
                     ๔. การแบงหมูครั้งที่ ๓ ใชเลขหลักใดเปนตัวแบง
                     ๕. การจัดหมูหนังสือระบบนี้ใชตัวเลขกี่หลัก
                                   
                     ๖. ตัวเลขหลังจุดทศนิยมใชไดสูงสุดกี่ตําแหนง
      ทําไดไหมเอย งายสําหรับตอมเลยละ ดูสิยมใหญเลย
                                                ิ้
๒๔




                       เฉลยกรอบที่ ๑๓


                               คิดวานาจะทําได แตไมมั่นใจนะ
                               เธอตองชวยดูใหเราดวยละคําตอบนะ
                               ๑. ระบบทศนิยมของดิวอี้
                               ๒. ๑๐ หมวดใหญ
                               ๓. เลขหลักสิบ
                               ๔. เลขหลักหนวย
                               ๕. ๓ หลัก
                               ๖. กี่ตาแหนงก็ไดเพราะใสไดไมรูจบ
                                      ํ


     เกงจริง ๆ เลยตอมเพื่อนเรา ถูกหมด
    ทุกขอเลยจะ เดี๋ยวเธอทําแบบทดสอบ
หลังเรียนดวยนะ จะไดทราบผลการพัฒนาของ
ตนเองดวย เสร็จแลวเรากลับบานพรอมกันนะ



                                             ไดเลยจะ เดี๋ยวเรากลับบาน
                                           พรอมกัน เราขอบคุณเธอมากนะ
                                            ที่ชวยอธิบายใหเราฟงจนเรา
                                                 เขาใจดี ขอบคุณครับ
๒๕




                             แบบทดสอบหลังเรียน
                            เรื่อง การจัดหมูหนังสือ


คําชี้แจง ใหนักเรียนใสเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูก
          และเครื่องหมาย X หนาขอความที่เห็นวาผิด

………. ๑. ผูที่คิดคนการจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้คือ เมลวิล ดิวอี้
………. ๒. หนังสือแผนทีจะคนหาไดจากหมวด 900
                          ่
………. ๓. นักเรียนตองการหนังสือสารนิเทศกับหองสมุดเพื่อทํารายงานตองไปหาทีหมวด 200
                                                                           ่
………. ๔. การจัดหมูหนังสือคือการจัดใหหนังสือที่มีเนื้อหาเหมือนกันไวดวยกัน
                      
………. ๕. การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอีแบงเนื้อหาออกเปน ๑๐ หมวดใหญ
                                              ้
………. ๖. นักเรียนตองการหาหนังสือเกี่ยวกับพระอภัยมณีจะตองไปที่หมวด 800
………. ๗. นักเรียนจะหาหนังสือเกียวกับคอมพิวเตอรจะตองไปทีหมวด 000
                                  ่                          ่
………. ๘. 495.111 495.917 495.918 เลขหมูที่เห็น เรียงไดถูกตองตามหลักเกณฑ
                                             
………. ๙. หนังสือ “การใชภาษาไทย” จะคนหาไดจากหมวด 300
………๑๐. การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ตองใชเลขไทยเปนสัญลักษณจึงถูกตอง
                                                
๒๖




เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
  เรื่องการจัดหมูหนังสือ




     ขอ          คําตอบ
      ๑
     ๒              X
     ๓
     ๔
     ๕
      ๖
     ๗              X
     ๘
     ๙              X
     ๑๐             X
๒๗




                                     บรรณานุกรม
กรมวิชาการ. คูมือการดําเนินงานหองสมุดโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษา. พิมพครั้งที่ ๓.
        กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรสภาลาดพราว, ๒๕๔๓.
                              ุ
คณาจารยภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย
        บูรพาชลบุร.ี สารสนเทศและการศึกษาคนควา. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา,
        ๒๕๕๐.
ณรงค ปอมบุปผา. การบํารุงรักษาวัสดุครุภัณฑหองสมุด. พิมพครั้งที่ ๒. มหาสารคาม:
        ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
        มหาสารคาม, ๒๕๒๑.
พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ เรพเพอร และคณะ. การใชหองสมุด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
        รามคําแหง, ๒๕๔๕.
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.
        การใชหองสมุดและทักษะการเรียน. พิมพครั้งที่ ๓. ปตตานี:
        มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, ๒๕๓๘.
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. การคนควาและ
        เขียนรายงาน. พิมพครั้งที่ ๒ แกไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,
        ๒๕๔๐.
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. การคนควาและ
        เขียนรายงาน. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐.
                                                              ุ
แมนมาส ชวลิต. การระวังรักษาและซอมหนังสือ. พิมพครั้งลาสุด. กรุงเทพฯ:
        สุวีริยาสาสน, ๒๕๔๔.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒. กรุงเทพฯ:
        นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖.
ลมุล รัตตากร. การใชหองสมุด. พิมพครั้งที่ ๘ แกไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน, ๒๕๓๙.
                        
สุกัญญา กุลนิติ. หองสมุดและสารนิเทศเพื่อการศึกษาคนควา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร,
        ๒๕๔๙.
๒๘




                             บรรณานุกรม (ตอ)

อาภากร ธาตุโลหะ. ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการคนควา. ชลบุรี: พี.เค.กราฟฟค พริ้นต,
        ๒๕๔๗.
อําไพวรรณ ทัพเปนไทย. การเขียนรายงานและการใชหองสมุด. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร,
        ๒๕๔๙.
เอื้อมพร ทัศนประสิทธิผล. สารนิเทศเพือการศึกษาคนควา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน,
                                    ่
        ๒๕๔๒.
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานwara
 
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านmaipoom
 
หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำในมาตราแม่ก กา กลุ่มสาระการเรีย...
หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำในมาตราแม่ก กา กลุ่มสาระการเรีย...หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำในมาตราแม่ก กา กลุ่มสาระการเรีย...
หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำในมาตราแม่ก กา กลุ่มสาระการเรีย...djanerawan
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกKu'kab Ratthakiat
 
สรรพนาม
สรรพนามสรรพนาม
สรรพนามPornkanok Pkn
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์dadaranee
 

Was ist angesagt? (13)

Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐาน
 
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำในมาตราแม่ก กา กลุ่มสาระการเรีย...
หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำในมาตราแม่ก กา กลุ่มสาระการเรีย...หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำในมาตราแม่ก กา กลุ่มสาระการเรีย...
หนังสือส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำในมาตราแม่ก กา กลุ่มสาระการเรีย...
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึก
 
Add m2-1-chapter3
Add m2-1-chapter3Add m2-1-chapter3
Add m2-1-chapter3
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
สรรพนาม
สรรพนามสรรพนาม
สรรพนาม
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
คณิตศาสตร์กับเพลง
คณิตศาสตร์กับเพลงคณิตศาสตร์กับเพลง
คณิตศาสตร์กับเพลง
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์
 

Andere mochten auch

สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือแบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
เลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1kruruttika
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2kruruttika
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือSupaporn Khiewwan
 

Andere mochten auch (8)

สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือแบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
 
เลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือ
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
ส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือ
 

Ähnlich wie จัดหมู่หนังสือเนื้อหา

1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการkrujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการkrujee
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการkrujee
 
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้Jiraprapa Suwannajak
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5ปวริศา
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5ปวริศา
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวKaembum Soraya
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 

Ähnlich wie จัดหมู่หนังสือเนื้อหา (20)

1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
Valid
ValidValid
Valid
 
Valid
ValidValid
Valid
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 

จัดหมู่หนังสือเนื้อหา

  • 1. คําแนะนําในการเรียน บทเรียนนี้เปนบทเรียนโปรแกรม จัดทําขึนเพื่อใหนกเรียนศึกษาดวยตนเอง ้ ั โปรดอานคําแนะนํากอนศึกษาบทเรียน ดังตอไปนี้ ๑. บทเรียนนี้เปนบทเรียนสําเร็จรูปมีทั้งหมด ๑๓ กรอบ ใชเวลาในการเรียน ๑ ชัวโมง ่ ๒. ศึกษาจุดประสงคการเรียนรู แลวนักเรียน จะทราบวา เมือเรียนจบแลวนักเรียนจะไดความรูอะไร ่ ๓. ทําแบบทดสอบกอนเรียนตามความเขาใจ ของนักเรียน ตอบผิดไมเปนอะไร เพราะถาศึกษา เอกสารตอไปจะตอบไดถูกตองในภายหลัง ๔. บทเรียนนี้ไมใชขอทดสอบ ไมตองกังวลใจ ทําไปชา ๆ ทีละกรอบ นักเรียนจะไดรับความรู ไดทํา แบบฝกหัดและไดทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยตัวเอง ๕. ขณะศึกษาบทเรียนและปฏิบัติกิจกรรม ไมดเฉลย เมื่อตอบผิดใหกลับไปศึกษาเนื้อหาในกรอบ ู เดิมแลวลองตอบคําถามใหม ๖. เมื่อศึกษาครบทุกกรอบแลวใหทา ํ แบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความเขาใจอีกครั้งหนึ่ง ๗. เมื่อเขาใจดีแลวศึกษาบทเรียนไดเลย
  • 2. สาระสําคัญ หนังสือในหองสมุด มีเปนจํานวนมาก และมีจํานวนเพิ่มขึ้น เรื่อย ๆ จึงตองจัดเก็บใหเปนระเบียบ โดยการแยกออกเปนหมูตามเนือหา ้ หนังสือที่มีเนื้อหาคลายคลึงกันไวดวยกัน การจัดหมูหนังสือจะทําใหสามารถคนหาหนังสือ เลมที่ตองการใชไดอยางรวดเร็ว เพราะหนังสือจะอยูเปนหมวดหมู
  • 3. แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง การจัดหมูหนังสือ คําชี้แจง ใหนักเรียนใสเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูก และเครื่องหมาย X หนาขอความที่เห็นวาผิด ………. ๑. ผูที่คิดคนการจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้คือ เมลวิล ดิวอี้ ………. ๒. การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอีตองใชเลขไทยเปนสัญลักษณจึงถูกตอง  ้  ………. ๓. การจัดหมูหนังสือคือการจัดใหหนังสือที่มีเนื้อหาเหมือนกันไวดวยกัน  ………. ๔. การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอีแบงเนื้อหาออกเปน ๑๐ หมวดใหญ  ้ ………. ๕. หนังสือ “การใชภาษาไทย” จะคนหาไดจากหมวด 300 คําสั่ง ใหนกเรียนใสแผนทีงหมาย จากหมวด 900 ่ถูก และเครื่องหมาย X หนาขอความ ………. ๖. หนังสือเครื่อ จะคนหาได หนาขอความที ั ่ ที่เห็นวาผิด ………. ๗. นักเรียนจะหาหนังสือเกียวกับคอมพิวเตอรจะตองไปทีหมวด 000 ่ ่ ………. ๑.๘.ผูเราตองการหนังสือสารนิงเสือระบบทศนิยมของดิวอี้คือเมลวิล ดิ่หมวด 200 ………. ที่คิดคนการจัดหมูหนั ทศกับหองสมุดเพื่อทํารายงานตองไปหาที วอี้ ………. ๒.๙.การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิี่เวอี้ใชยงไดถกตองตามหลักษณ ………. 495.911 495.917 495.918 เลขหมูท ห็นเรี เลขไทยเปนสัญลั กเกณฑ  ู ………. ๓. หอกเรียดโรงเรียนสุธวิทสือเกีดหมูบพระอภัโดยใชะตองไปทีสภาอเมริกัน ……… ๑๐. นังสมุ นตองการหาหนัง ยาจั ่ยวกั หนังสือ ยมณีจระบบรัฐ ่หมวด 800 ี ………. ๔. การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้แบงครั้งที่แบงเนื้อหาออกเปน ๑๐ หมวดใหญ ………. ๕. หมวด 400 คือหมวดภาษาศาสตร ………. ๖. การแบงครั้งที่ ๒ ใชเลขหลักสิบเปนตัวแบง ………. ๗. การแบงครั้งที่ ๓ ใชเลขหลักหนวยเปนตัวแบง ………. ๘. ตัวเลขที่แทนสัญลักษณนี้ใชตัวเลข ๔ หลัก ………. ๙. ตัวเลขหลังจุดทศนิยมจะใสกี่ตําแหนงก็ได ……… ๑๐. ภาษาไทยจัดอยูในเลข 495
  • 5. ๕ ผลการเรียนรูทคาดหวัง  ี่ นักเรียนมีความรูความเขาใจ เรื่องการจัดหมูหนังสือ ระบบทศนิยมของดิวอี้ จุดประสงคการเรียนรู ๑. นักเรียนบอกประโยชนของ การจัดหมูหนังสือได ๒. นักเรียนบอกวิธีการจัดหมูหนังสือได
  • 6. การจัดหมูหนังสือ  กรอบที่ ๑ สวัสดีหนูแกละ กําลังทําอะไรอยูครับ กําลังรดน้ําตนไมอยูจะ  มีอะไรหรือเปลา ดูรีบรอนจังเลย อาว นี่สายแลวนะ ยังไมไปโรงเรียนอีกหรือ เราคิดวาจะใหเธอชวยอธิบาย เรื่อง เลขหมูใหเราฟงหนอยนะ
  • 7. ๗ กรอบที่ ๒ ออ ไดสิ เราใสถุงเทากอน เธอก็กลับไปหยิบกระเปานักเรียนมาไดเลย เธอกลับมาเราก็เสร็จพอดีจะ มาแลวครับหนูแกละ เราไปโรงเรียนพรอมกันเลยนะ แลวคาบเรียนที่ ๗ เราจะอธิบาย ใหเธอฟงนะจะ
  • 8. ๘ กรอบที่ ๓ เอาละ เธอตั้งใจฟงใหดีนะ การจัดหมูหนังสือ คือ  การจัดหนังสือที่มีเนื้อเรื่องเดียวกันจัดเอาไว ดวยกัน และเนื้อหาใกลเคียงกันจะอยูใกลกัน แลวใชสัญลักษณแทนเนื้อหา ซึงอาจเปนตัวเลข ่ ตัวอักษร หรือทั้งตัวเลขและตัวอักษรผสมกันก็ได อือม ! เนื้อเรื่องเดียวกัน เนื้อหาใกลเคียงกัน ใชตวเลข ตัวอักษร ั เขาใจนิดหนอยจะ เพื่อความเขาใจยิ่งขึ้น เธอลองตอบ คําถามดูนะ การจัดหมูหนังสือ คือ  …………………………………… เราคิดวาเธอตอบไดแน ๆ จะ
  • 9. เฉลยกรอบที่ ๓ การจัดหมูหนังสือ คือ การจัดหนังสือ  ที่มีเนื้อเรื่องเดียวกันจะจัดเอาไวดวยกัน และเนื้อหาใกลเคียงกันจะอยูใกลกัน แลวใหสัญลักษณแทนเนื้อหา ซึ่งอาจเปน ตัวเลข ตัวอักษร หรือทังตัวเลขและตัวอักษรผสมกัน ้ หนูแกละชวยดูคําตอบใหดวยนะวาถูกไหมครับ โอโฮ ! ถูกตองจะ เธอเกงมากเลยนะ ตามเราไปกรอบตอไปเลยนะจะ
  • 10. ๑๐ กรอบที่ ๔ เมื่อเธอรูความหมายการจัดหมู หนังสือแลว แลวรูไหมจะ ไมรูเลย ชวยบอกเราดวยสิ วามีประโยชนอยางไร เราอยากรู ไดสิ ประโยชนของการจัดหมูมีดังนี้จะ   ๑. ชวยใหผูใชสามารถคนหาหนังสือที่ตองการไดสะดวก รวดเร็ว  ๒. ชวยใหผูใชไดมโอกาสเลือกหนังสือ เนื้อเรื่องที่ตองการไดหลายเลม ี  ๓. ชวยใหผูใชเห็นหนังสือเลมอื่น ๆ สาขาเดียวกันที่หองสมุดมีอยู ๔. ชวยใหผูใชสามารถศึกษาเรื่องราวทีตอเนื่องกันไดสะดวก ่  ๕. ชวยใหผูใชทราบวาหองสมุดมีหนังสือแตละสาขาวิชามากนอยเทาใด
  • 11. ๑๑ กรอบที่ ๕ ตอไปเราจะพูดถึงเรื่อง ระบบการจัดหมูหนังสือนะ พูดชา ๆ นะ ฟงตามใหทันนะจะ เรื่องหาความรูใสตัว  เราสูอยูแลว ระบบการจัดหมวดหมูหนังสือที่นิยมใชกนอยางแพรหลายมี ๒ ระบบจะ  ั ๑. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เรียกยอวา ระบบ L.C. ๒. ระบบทศนิยมของดิวอี้ เรียกยอวา ระบบ D.C. เธอคิดวาหองสมุดโรงเรียนของเรา ใชระบบไหนจะ
  • 12. ๑๒ เฉลยกรอบที่ ๕ เอ ! ระบบไหนนะ ระบบทศนิยม ของดิวอี้ครับ ไมทราบวาถูกไหมเอย ถูกตองจะ เกงมากเลยตอม หองสมุด ของเราใชการจัดหมูหนังสือระบบ ทศนิยมของดิวอี้ เพราะฉะนันเราก็จะ ้ อธิบายถึงระบบนี้ใหฟง ตามเราไป กรอบที่ ๖ เลยนะจะ
  • 13. ๑๓ กรอบที่ ๖ ตั้งใจฟงนะจะตอม เราพรอมแลว เริ่มไดเลยครับ นองแกละคนเกง การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ ผูคิดคนคือ เมลวิล ดิวอี้  (Melvil Dewey) ชาวอเมริกน เปนระบบทีใชตวเลขทศนิยมแทน ั ่ ั เนื้อหาวิชา โดยเริ่มจากการแบงเนื้อหาอยางกวาง ๆ เปน ๑๐ หมวดใหญ แลวจึงจําแนกใหเฉพาะเจาะจงลงไปโดยใชเลขอารบิก 0 – 9 เปนสัญลักษณ ตลอดทั้งระบบ ตอบคําถามเราบางนะ การจัดหมูระบบทศนิยมของดิวอี้ใชอะไร เปนสัญลักษณจะ
  • 14. ๑๔ เฉลยกรอบที่ ๖ นองแกละครับ คําถามนี้งายมาก ๆ  เลยครับ ก็ใชเลขอารบิก สิครับ ถูกแน ๆ ใชไหมครับ ถูกจะ ใชเลขอารบิก เปนสัญลักษณคะ ตามเราไป กรอบตอไปนะ เริ่มยากแลวละ แตสําหรับคนเกงก็ไมยากจะ
  • 15. ๑๕ กรอบที่ ๗ เราเดินไปคุยไปนะ ไมตองเครียด ชมกันเกินไปแลวละนองแกละ ไมยากหรอกจะ จะเปนหมูหรือจาก็ยงไมรูเลย  ั ตอมเกง รูเรื่องอยูแลวละ จะพยายามครับ ตองอยางนี้สิ ฟงนะ การแบงหมูครังที่ ๑ แบงหนังสือเปน ๑๐ ้ หมวดใหญ ดังนี้ 000 เบ็ดเตล็ด 100 ปรัชญาและจิตวิทยา 200 ศาสนา 300 สังคมศาสตร 400 ภาษา 500 วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 600 วิทยาศาสตรประยุกต 700 ศิลปะและนันทนาการ 800 วรรณคดี 900 ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร ไมยากใชไหมละ
  • 16. ๑๖ กรอบที่ ๘ เรามาแบงครังที่ ๒ กันเลยไหม ้ ดีครับ สมองกําลังจําอะไรไดดี ชาเดี๋ยวลืมหมด เริ่มไดเลย เปนการแบงเนื้อหาจาก ๑๐ หมวดใหญ ออกเปน ๑๐ หมวดยอย โดยใชเลขหลักสิบ แบงไดดงนี้ ั 400 ภาษา 410 ภาษาศาสตร 420 ภาษาอังกฤษ 430 ภาษาเยอรมัน 440 ภาษาฝรังเศส่ 450 ภาษาอิตาลี 460 ภาษาสเปน 470 ภาษาในกลุมอิตาลี 480 ภาษาเฮเลน 490 ภาษาอืน ๆ่ เรามีคําถามนะ แลวภาษาไทยละตอมคิดวาอยูใน หมวดไหน เพราะไมเห็นมีบอกไวเลย อยากรู ตองตามเราไปกรอบตอไปเลยจะ
  • 17. ๑๗ กรอบที่ ๙ ใกลจะรูแลวนะวาภาษาไทยอยูใน หมวดไหน เราจะมาดูกน ั ในการแบงหมูครั้งที่ ๓ นี่แหละคะ  นองแกละนารักมากเลย ทิงขยะลงถังดวย ้ แบงครั้งที่ ๓ นี่ ยากไหมหนอ ตอม สู สูครับ ไมยากหรอก ตอมตั้งใจฟงนะจะ เปนการแบงเนื้อหา หมวดยอยเปนหมูยอย ใชตัวเลขหลักหนวยในการแบง  เชน 490 ภาษาอื่น ๆ 491 กลุมภาษาตะวันออก 492 กลุมภาษาแอฟโฟร-เอเชียติก 493 กลุมภาษา ที่ไมใชเซมิติก 494 กลุมภาษาอัลตา 495 กลุมภาษา ตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต ฯลฯ แลวตอมรูหรือยังวา ภาษาไทยอยูเลขหมูใด
  • 18. ๑๘ เฉลยกรอบที่ ๙ เรารูแลว ขอตอบเลยไดไหมจะนองแกละ ภาษาไทยอยูเลขหมู 495 จะ เพราะประเทศไทย อยูในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตครับ โอโฮ ! ตอมเกงมากเลยจะ ไหวพริบ ดีมาก ๆ เลย เพราะประเทศไทยอยูในแถบ เอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงอยูในกลุมภาษาตะวันออกและเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต คือเลขหมู 495 ถาไหวพริบดีอยางนี้ ตามเราไปกรอบตอไป เลยนะ
  • 19. ๑๙ กรอบที่ ๑๐ เบื่อหรือยังละตอม ถาเบื่อพอกอนก็ไดนะ ไมเบื่อหรอกครับ กําลังสนุกเลย เรื่องก็นาสนใจดี มีแบงอีกหรือไม  ถามีก็ตอไดเลยครับ มีการแบงครั้งที่ ๔ จะ เปนการแบงโดยใช จุดทศนิยม ดังนั้นสัญลักษณจึงประกอบดวย เลขสามหลัก และตัวเลขหลังจุดทศนิยมมี จนถึงไมรูจบเลยแหละ เชน 495 กลุมภาษา ตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต 495.1 ภาษาจีน 495.4 ภาษาทิเบต 495.6 ภาษาญี่ปุน 495.7 ภาษาเกาหลี 495.8 ภาษาพมา 495.9 ภาษาในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต
  • 20. ๒๐ กรอบที่ ๑๑ ใกลจบแลวนะจะตอม การแบงหมูครั้งที่ ๕ จะ เปนการแบงหมูยอยอยางละเอียด โดยใชทศนิยมสองตําแหนง ใกลจบแลวเหรอ กําลังสนุกเลย แตขอตัวอยางดวยนะ จะไดเขาใจยิ่งขึ้นจะ ไดเลยเพื่อน การแบงหมูครังที่ ๕ ้ เปนการแบงโดยใชทศนิยมสองตําแหนงจะ เชน 495.9 ภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 495.91 ภาษาไทย 495.92 ภาษาอันนัม 495.93 ภาษามอญ เขมร ฯลฯ คราวนี้ ก็รูแลวสินะวา ภาษาไทยอยูเ ลขหมูใด
  • 21. ๒๑ กรอบที่ ๑๒ ตอมแบงครั้งที่ ๖ วา ! ทําไมเร็วจัง นี่สุดทายแลวละ นาเสียดาย เรายังสนุก อยูเลย การแบงหมูครั้งที่ ๖ เปนการแบงอยางละเอียด โดยใชทศนิยม  สามตําแหนง 495.91 ภาษาไทย 495.911 ภาษาพูด ภาษาเขียนของภาษาไทย 495.912 นิรุกติศาสตรภาษาไทย 495.913 พจนานุกรม สารานุกรมภาษาไทย 495.914 ศัพทพอง 495.915 ไวยากรณ วจีวิภาค วากยสัมพันธ 495.916 วิธีแตงคําประพันธ 495.917 ภาษาถินในภาษาไทย 495.918 การใชภาษาไทย ่ ที่เปนมาตรฐาน 495.919 ภาษาไทยอื่น ๆ เราจะทดสอบเธอละนะ ตั้งใจฟงคําถามนะจะ หนังสือหลักภาษาไทย ของกําชัย ทองหลอ อยูเลขหมูใดจะ ตอบไดไหมเอย
  • 22. ๒๒ เฉลยกรอบที่ ๑๒ ขอนึกสัก ๒ นาทีนะครับ เอ! หลักภาษาไทย เปนไวยากรณ ใชแลว คือ เลขหมู 495.915 หัวสมองทําดวยอะไรนี่ อธิบายครั้งเดียว ก็เขาใจแลว เกงมากเลยตอม ถูกตองเลยจะ คือ เลขหมู 495.915
  • 23. ๒๓ กรอบที่ ๑๓ ไดเลย เราก็อยากรูเหมือนกันวา เรามาทบทวนเนื้อหาทังหมดกันดีกวา ้ เราจะทําไดไหม ไหม โดยการทําแบบฝกหัดนะ ตั้งใจทํานะจะ ๑. หองสมุดของเราใชการจัดหมูระบบใด ๒. การแบงหมูครั้งที่ ๑ แบงไดกหมวด ี่ ๓. การแบงหมูครั้งที่ ๒ ใชเลขหลักใดเปนตัวแบง ๔. การแบงหมูครั้งที่ ๓ ใชเลขหลักใดเปนตัวแบง ๕. การจัดหมูหนังสือระบบนี้ใชตัวเลขกี่หลัก  ๖. ตัวเลขหลังจุดทศนิยมใชไดสูงสุดกี่ตําแหนง ทําไดไหมเอย งายสําหรับตอมเลยละ ดูสิยมใหญเลย ิ้
  • 24. ๒๔ เฉลยกรอบที่ ๑๓ คิดวานาจะทําได แตไมมั่นใจนะ เธอตองชวยดูใหเราดวยละคําตอบนะ ๑. ระบบทศนิยมของดิวอี้ ๒. ๑๐ หมวดใหญ ๓. เลขหลักสิบ ๔. เลขหลักหนวย ๕. ๓ หลัก ๖. กี่ตาแหนงก็ไดเพราะใสไดไมรูจบ ํ เกงจริง ๆ เลยตอมเพื่อนเรา ถูกหมด ทุกขอเลยจะ เดี๋ยวเธอทําแบบทดสอบ หลังเรียนดวยนะ จะไดทราบผลการพัฒนาของ ตนเองดวย เสร็จแลวเรากลับบานพรอมกันนะ ไดเลยจะ เดี๋ยวเรากลับบาน พรอมกัน เราขอบคุณเธอมากนะ ที่ชวยอธิบายใหเราฟงจนเรา เขาใจดี ขอบคุณครับ
  • 25. ๒๕ แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การจัดหมูหนังสือ คําชี้แจง ใหนักเรียนใสเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูก และเครื่องหมาย X หนาขอความที่เห็นวาผิด ………. ๑. ผูที่คิดคนการจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้คือ เมลวิล ดิวอี้ ………. ๒. หนังสือแผนทีจะคนหาไดจากหมวด 900 ่ ………. ๓. นักเรียนตองการหนังสือสารนิเทศกับหองสมุดเพื่อทํารายงานตองไปหาทีหมวด 200 ่ ………. ๔. การจัดหมูหนังสือคือการจัดใหหนังสือที่มีเนื้อหาเหมือนกันไวดวยกัน  ………. ๕. การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอีแบงเนื้อหาออกเปน ๑๐ หมวดใหญ  ้ ………. ๖. นักเรียนตองการหาหนังสือเกี่ยวกับพระอภัยมณีจะตองไปที่หมวด 800 ………. ๗. นักเรียนจะหาหนังสือเกียวกับคอมพิวเตอรจะตองไปทีหมวด 000 ่ ่ ………. ๘. 495.111 495.917 495.918 เลขหมูที่เห็น เรียงไดถูกตองตามหลักเกณฑ  ………. ๙. หนังสือ “การใชภาษาไทย” จะคนหาไดจากหมวด 300 ………๑๐. การจัดหมูหนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ตองใชเลขไทยเปนสัญลักษณจึงถูกตอง  
  • 27. ๒๗ บรรณานุกรม กรมวิชาการ. คูมือการดําเนินงานหองสมุดโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษา. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรสภาลาดพราว, ๒๕๔๓. ุ คณาจารยภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย บูรพาชลบุร.ี สารสนเทศและการศึกษาคนควา. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา, ๒๕๕๐. ณรงค ปอมบุปผา. การบํารุงรักษาวัสดุครุภัณฑหองสมุด. พิมพครั้งที่ ๒. มหาสารคาม: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, ๒๕๒๑. พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ เรพเพอร และคณะ. การใชหองสมุด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย รามคําแหง, ๒๕๔๕. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. การใชหองสมุดและทักษะการเรียน. พิมพครั้งที่ ๓. ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, ๒๕๓๘. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. การคนควาและ เขียนรายงาน. พิมพครั้งที่ ๒ แกไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๐. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. การคนควาและ เขียนรายงาน. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐. ุ แมนมาส ชวลิต. การระวังรักษาและซอมหนังสือ. พิมพครั้งลาสุด. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน, ๒๕๔๔. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖. ลมุล รัตตากร. การใชหองสมุด. พิมพครั้งที่ ๘ แกไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน, ๒๕๓๙.  สุกัญญา กุลนิติ. หองสมุดและสารนิเทศเพื่อการศึกษาคนควา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, ๒๕๔๙.
  • 28. ๒๘ บรรณานุกรม (ตอ) อาภากร ธาตุโลหะ. ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการคนควา. ชลบุรี: พี.เค.กราฟฟค พริ้นต, ๒๕๔๗. อําไพวรรณ ทัพเปนไทย. การเขียนรายงานและการใชหองสมุด. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร, ๒๕๔๙. เอื้อมพร ทัศนประสิทธิผล. สารนิเทศเพือการศึกษาคนควา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน, ่ ๒๕๔๒.