SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โวหารภาพพจน์

      จัดทําโดย
ครุบัวตูม ออนตะไคร้
ความหมายของโวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์ คือ กลวิธีการนําเสนอสารโดยการพลิกแพลงภาษาที่
ใช้ พูด หรือเขียนให้ แปลกออกไปจากภาษาตามตัวอักษรทําให้ ผ้ ูอ่านเกิด
ภาพในใจเกิดความประทับใจ เกิดความรู้ สึกสะเทือนใจ เป็ นการ
เปรียบเทียบให้ เห็นภาพอย่ างชัดเจน
อุปมาโวหาร
อุปมา ( Simile ) คือ การเปรียบเทียบว่ าสิ่ งหนึ่งเหมือนกับสิ่ งหนึ่ง
โดยใช้ คาเชื่อมทีมความหมายเช่ นเดียวกับ คําว่ า
        ํ        ่ ี
“เหมือน” เช่ น ดุจ ดัง ราว ราวกับ
                        ่
เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ ห์ ปาน ประหนึ่ง
เพียง เพียง พ่าง ปูน ฯลฯ
          ้
ตัวอย่าง อุปมาโวหาร
ปัญญาประดุจดังอาวุธ
ท่ าทางหล่ อนราวกับนางพญา
ปากเธอเหมือนกระจับอ่ อน
ไพเราะกังวานปานเสี ยงนกร้ อง
จมูกเหมือนลูกชมพู่
ตาเหมือนตามฤคมาศ
ใบหูเหมือนทอดมันร้ อนๆ
โทษผู้อนเพียงเมล็ดงา
       ื่ ้
อุปลักษณ์ ( Metaphor )
อุปลักษณ์ ก็คล้ ายกับอุปมาโวหารคือเป็ นการเปรียบเทียบเหมือนกัน แต่
เป็ นการเปรียบเทียบ สิ่ งหนึ่งเป็ นอีกสิ่ งหนึ่ง อุปลักษณ์ จะไม่ กล่ าวโดยตรง
เหมือนอุปมา แต่ ใช้ วธีกล่ าวเป็ นนัยให้ เข้ าใจเอาเองทีสําคัญ อุปลักษณ์ จะ
                       ิ                                ่
ไม่ มคาเชื่อมเหมือนอุปมา อุปลักษณ์ มลกษณะการเปรียบเป็ นจะมีคาว่ า
      ี ํ                                  ีั                            ํ
เป็ น, คือ อยู่ในข้ อความนั้น
ตัวอย่าง โวหารอุปลักษณ์
ขอเป็ นเกือกทองรองบาทา ไปจนกว่าชีวนจะบรรลัยั
ทหารเป็ นรั้วของชาติ
เธอคือดอกฟ้ าแต่ฉนนั้นคือหมาวัด
                   ั
เธอเป็ นดินหรื อเธอเป็ นหญ้าแท้จริ งมีค่ากว่าใครนิรันดร์
ชาวนาเป็ นกระดูกสันหลังของชาติ
ครู คือแม่พิมพ์ของชาติ
                                ํ
ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรู คือยาชูกาลัง
ปฏิพากย์ ( Paradox )
ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใช้ ถ้อยคําทีมความหมายตรงกันข้ าม
                                           ่ ี
หรือขัดแย้ งกันมากล่ าว อย่ างกลมกลืนกันเพือเพิมความหมายให้ มนําหนัก
                                            ่ ่                ี ้
มากยิงขึน
       ่ ้
ตัวอย่ างปฏิพากย์ โวหาร
เลวบริสุทธิ์ บาปบริสุทธิ์ สวยเป็ นบ้ า สวยอย่ างร้ ายกาจ
สนุกฉิบหาย สวรรค์ บนดิน           ยิงรีบยิงช้ า
                                    ่ ่
นําร้ อนปลาเป็ น นําเย็นปลาตาย เสี ยน้ อยเสี ยยาก เสี ยมากเสี ยง่ าย
  ้                   ้
รักยาวให้ บั่น รักสั้ นให้ ต่อ แพ้เป็ นพระ ชนะเป็ นมาร
อติพจน์ (Hyperbole)
อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือโวหารทีกล่ าวเกินความจริง เพือเน้ นความรู้สึก
                                      ่                    ่
ทําให้ ผ้ ูฟังเกิดความรู้สึกทีลกซึ้งภาพพจน์ ชนิดนีนิยมใช้ กนมากแม้ ในภาษาพูด
                              ่ึ                  ้          ั
เพราะเป็ นการกล่ าวทีทาให้ เห็นภาพได้ ง่ายและแสดงความรู้ สึกของกวีได้
                         ่ ํ
อย่ างชัดเจน
  ตัวอย่ างอติพจน์ โวหาร
  คิดถึงใจจะขาด คอแห้ งเป็ นผง ร้ อนตับจะแตก
  หนาวกระดูกจะหลุด การบินไทยรักคุณเท่ าฟา ้
  คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้ าออก
ในกรณีทใช้ โวหารตํากว่ าจริงเรียกว่ า "อวพจน์ "
       ี่         ่
 ตัวอย่ าง อวพจน์ โวหาร
    เล็กเท่ าขีตาแมว
               ้
    เพียงชั่วลัดนิวมือเดียว
                  ้
    รอสั กอึดใจเดียว
บุคลาธิษฐาน (Personification )
 บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต คือการกล่ าวถึงสิ่ งต่ างๆ ทีไม่ มชีวต
                                                                ่ ี ิ
ไม่ มความคิด ไม่ มวญญาณ
      ี               ีิ              เช่ น โต๊ ะ เก้ าอี้ อิฐ ปูน หรือ
สิ่ งมีชีวตทีไม่ ใช่ มนุษย์ เช่ น ต้ นไม้ สั ตว์ โดยให้ สิ่งต่ างๆเหล่ านีแสดงกิริยา
          ิ ่                                                             ้
อาการและความรู้สึกได้ เหมือนมนุษย์

ตัวอย่ าง บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต
มองซิ..มองทะเล         บางครั้งมันบ้ าบิ่น
ทะเลไม่ เคยหลับใหล      บางครั้งยังสะอืน  ้
เห็นลมคลืนเห่ จูบหิน
          ่                     กระแทกหินดังครืนครืน
ใครตอบได้ ไหม                   ไฉนจึงตืนทะเลมันตืนอยู่รํ่าไป
                                            ่     ่
ตัวอย่าง บุคลาธิษฐาน
ฟ้ าหัวเราะเยาะข้า ชะตาหรื อดินนั้นถืออภิสิทธิ์ ชีวิตข้าเองไม่เกรงดินฟ้ า

ไส้เดือนเที่ยวเกี้ยวสาว      ทุกจุลินทรี ยอะมีบา
                                          ์
ชาวอัปสรนอนชั้นฟ้ า                 เชิดหน้าได้ดิบได้ดี

เสี ยงร้องไห้ร่ ําหาเหมือนฟ้ าร้อง พระธรณี ตีอกด้วยตกใจ
พระเสื้ อเมืองเมินมองแล้วร้องไห้ โลกบาลถอนฤทัยไม่อาจมอง
สั ญลักษณ์ (symbol )
สัญลักษณ์ เป็ นการเรียกชื่อสิ่ งๆหนึ่งโดยใช้ คาอืนมาแทน ไม่ เรียกตรงๆ
                                              ํ ่
ส่ วนใหญ่ คาทีนํามาแทนจะเป็ นคําทีเ่ กิดจากการเปรียบเทียบและตีความซึ่ง
           ํ ่
ใช้ กนมานานจนเป็ นทีเ่ ข้ าใจและรู้ จกกันโดยทัวไป
     ั                               ั         ่
ตัวอย่ าง สั ญลักษณ์
เมฆหมอก         แทน             อุปสรรค
สี ดา แทน
    ํ                 ความตาย ความชั่วร้ าย
สี ขาว          แทน             ความบริสุทธิ์
กุหลาบแดง       แทน             ความรัก
หงส์            แทน             คนชั้นสู ง
กา        แทน         คนตําต้ อย
                          ่
ดอกไม้          แทน             ผู้หญิง
แสงสว่ าง       แทน             สติปัญญา
เพชร            แทน             ความแข็งแกร่ ง ความเป็ นเลิศ
แก้ ว           แทน             ความดีงาม ของมีค่า
ลา        แทน         คนโง่ คนน่ าสงสาร คนพาล คนคด
สุ นัขจิงจอก
        ้       แทน             คนเจ้ าเล่ ห์
นามนัย ( Metonymy )
นามนัย คือการใช้ คาหรือวลีซึ่งบ่ งลักษณะหรือคุณสมบัตของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
                      ํ                                   ิ
แทนอีกสิ่ งหนึ่งคล้ ายๆสั ญลักษณ์ แต่ ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้นจะดึง
เอาลักษณะบางส่ วนของสิ่ งหนึ่งมากล่ าว ให้ หมายถึงส่ วนทั้งหมด
ตัวอย่าง นามนัย
เมืองโอ่ ง        หมายถึง           จังหวัดราชบุรี
เมืองย่ าโม       หมายถึง           จังหวัดนครราชสี มา
ทีมเสื อเหลือง    หมายถึง           ทีมมาเลเซีย
ทีมกังหันลม       หมายถึง           เมืองเนเธอร์ แลนด์
ทีมสิ งโตคําราม   หมายถึง           อังกฤษ
ฉัตร              หมายถึง           กษัตริย์
เก้ าอี้          หมายถึง           ตําแหน่ ง
มือทีสาม ่        หมายถึง           ผู้ก่อความเดือดร้ อน
เมืองนําหอม้      หมายถึง           ประเทศฝรั่งเศส
สั ทพจน์ (Onematoboeia )
สั ทพจน์ หมายถึงภาพพจน์ ทเี่ ลียนเสี ยง
ธรรมชาติ
เช่ น เสี ยงดนตรี เสี ยงสั ตว์
เสี ยงคลืน เสี ยงลม เสี ยงฝนตก
          ่
เสี ยงนําไหล ฯลฯ การใช้ ภาพพจน์
        ้
ประเภทนีจะทําให้ เหมือนได้ ยนเสี ยง
            ้                  ิ
นั้นจริง ๆ
ตัวอย่าง สัทพจน์
ลูกหมาร้องบ๊อก ๆ ๆ ลูกนกร้องจิ๊บๆๆ ลูกแมวร้องเหมียว ๆ ๆ
เปรี้ ยง ๆ ดังเสี ยงฟ้ าฟาด
ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก กระเดื่องดังแทรกสํารวลสรวลสันต์
คลื่นซัดครื นครื นซ่ าที่ผาแดง
        ุ่
นํ้าพุพงซ่าไหลมาฉาดฉาน เห็นตระการเสี ยงกังวาน
มันดังจอกโครม จอกโครม มันดังจอก จอก โครม โครม
บัดเดี๋ยวดังหง่างเหง่งวังเวงแว่ว อ้อยอี๋เอียง อ้อยอี๋เอียงส่ งเสี ยงร้อง
เสี ยงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย กระหึ มโหยห้อยไม้น่าใจหาย
ป๊ ะโท่นป๊ ะโท่นป๊ ะโท่นโท่น
สรุ ปโวหารภาพพจน์
๑.   อุปมาโวหาร
๒.   อุปลักษณ์ โวหาร
๓.   ปฏิพากย์ พจน์
๔.   อติพจน์ หรือ อธิพจน์
๕.   อวพจน์
๖.   บุคลาธิษฐาน บุคคลวัต
๗.   สั ญลักษณ์
๘.   นามนัย
๙.   สั ทพจน์
ั                ้             ่
    ให้นกเรี ยนวิเคราะห์ขอความต่อไปนี้วามีโวหารภาพพจน์ชนิดใดบ้าง

 เช้าวันหนึ่งตื่นขึ้นมาด้วยอารมณ์สดใส ท้องฟ้ าใสสด บรรยากาศสวยงามเหมือนได้อยูบน          ่
                      ่
สวรรค์ จิตใจว้าวุนคิดถึงคนไกลที่ไปเป็ นทหารทําหน้าเป็ นรั้วของชาติ คิดถึงปั ญหาภาวะ
เศรษฐกิจ คิดถึงชาวนาที่เป็ นกระดูกสันหลังของชาติ ทันใดนั้น ได้ยนเสี ยงแตรรถยนต์ดง
                                                                          ิ                ั
ปิ๊ น ปิ๊ น เขาจึงตื่นจากภวังค์ และรู ้สึกกระหายนํ้าอย่างมาก มองดูทะเลซัดคลื่นเข้าหาฝั่ง
ซึ่งมีความใหญ่โตราวจะพังถล่มทับบ้านเรื อน นกน้อยกําลังบินออกจากรังเพื่อหากิน
ส่ งเสี ยงจิ๊บๆจ๊าบๆร้องเรี ยกกัน ฟ้ าเริ่ มหลังนํ้าตา ท้องฟ้ ามืดคลึ้ม สายลมโบกพัดอย่างแรง
                                                ่
ต้นมะพร้าวไม่อาจต้านความแรงได้ลมนอนเคลื่อนเต็มท้องถนน ฉันรู ้สึกถึงธรรมชาติ
                                           ้
ธรรมชาติที่พร้อมจะเอาคืนจากมนุษย์ผที่ทาลายธรรมชาติ..
                                             ู้ ํ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 

Was ist angesagt? (20)

แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 

Andere mochten auch

การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์kingkarn somchit
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์Rodchana Pattha
 
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯแบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯAnan Pakhing
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1Vorramon1
 
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตNattapon
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1 Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2Yui Siriwararat
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความหน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจDrsek Sai
 

Andere mochten auch (20)

Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯแบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
 
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความหน่วยที่ 9  การเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 การเขียนเรียงความ
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 

Ähnlich wie โวหารภาพพจน์

โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีSaimai Jitlang
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายคุณานนต์ ทองกรด
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีSantichon Islamic School
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนKroo R WaraSri
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพรNat Ty
 
ป้อมแนนที่รัก
ป้อมแนนที่รักป้อมแนนที่รัก
ป้อมแนนที่รักnanpom1
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีโวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีKornnicha Wonglai
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
คำคมภาษาญี่ปุ่น
คำคมภาษาญี่ปุ่นคำคมภาษาญี่ปุ่น
คำคมภาษาญี่ปุ่นmasha199409
 

Ähnlich wie โวหารภาพพจน์ (20)

โวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดีโวหารในวรรณคดี
โวหารในวรรณคดี
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
โวหาร19 กพ
โวหาร19 กพโวหาร19 กพ
โวหาร19 กพ
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพร
 
ป้อมแนนที่รัก
ป้อมแนนที่รักป้อมแนนที่รัก
ป้อมแนนที่รัก
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีโวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
คำคมภาษาญี่ปุ่น
คำคมภาษาญี่ปุ่นคำคมภาษาญี่ปุ่น
คำคมภาษาญี่ปุ่น
 

โวหารภาพพจน์

  • 1. โวหารภาพพจน์ จัดทําโดย ครุบัวตูม ออนตะไคร้
  • 2. ความหมายของโวหารภาพพจน์ โวหารภาพพจน์ คือ กลวิธีการนําเสนอสารโดยการพลิกแพลงภาษาที่ ใช้ พูด หรือเขียนให้ แปลกออกไปจากภาษาตามตัวอักษรทําให้ ผ้ ูอ่านเกิด ภาพในใจเกิดความประทับใจ เกิดความรู้ สึกสะเทือนใจ เป็ นการ เปรียบเทียบให้ เห็นภาพอย่ างชัดเจน
  • 3. อุปมาโวหาร อุปมา ( Simile ) คือ การเปรียบเทียบว่ าสิ่ งหนึ่งเหมือนกับสิ่ งหนึ่ง โดยใช้ คาเชื่อมทีมความหมายเช่ นเดียวกับ คําว่ า ํ ่ ี “เหมือน” เช่ น ดุจ ดัง ราว ราวกับ ่ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ ห์ ปาน ประหนึ่ง เพียง เพียง พ่าง ปูน ฯลฯ ้
  • 4. ตัวอย่าง อุปมาโวหาร ปัญญาประดุจดังอาวุธ ท่ าทางหล่ อนราวกับนางพญา ปากเธอเหมือนกระจับอ่ อน ไพเราะกังวานปานเสี ยงนกร้ อง จมูกเหมือนลูกชมพู่ ตาเหมือนตามฤคมาศ ใบหูเหมือนทอดมันร้ อนๆ โทษผู้อนเพียงเมล็ดงา ื่ ้
  • 5. อุปลักษณ์ ( Metaphor ) อุปลักษณ์ ก็คล้ ายกับอุปมาโวหารคือเป็ นการเปรียบเทียบเหมือนกัน แต่ เป็ นการเปรียบเทียบ สิ่ งหนึ่งเป็ นอีกสิ่ งหนึ่ง อุปลักษณ์ จะไม่ กล่ าวโดยตรง เหมือนอุปมา แต่ ใช้ วธีกล่ าวเป็ นนัยให้ เข้ าใจเอาเองทีสําคัญ อุปลักษณ์ จะ ิ ่ ไม่ มคาเชื่อมเหมือนอุปมา อุปลักษณ์ มลกษณะการเปรียบเป็ นจะมีคาว่ า ี ํ ีั ํ เป็ น, คือ อยู่ในข้ อความนั้น
  • 6. ตัวอย่าง โวหารอุปลักษณ์ ขอเป็ นเกือกทองรองบาทา ไปจนกว่าชีวนจะบรรลัยั ทหารเป็ นรั้วของชาติ เธอคือดอกฟ้ าแต่ฉนนั้นคือหมาวัด ั เธอเป็ นดินหรื อเธอเป็ นหญ้าแท้จริ งมีค่ากว่าใครนิรันดร์ ชาวนาเป็ นกระดูกสันหลังของชาติ ครู คือแม่พิมพ์ของชาติ ํ ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรู คือยาชูกาลัง
  • 7. ปฏิพากย์ ( Paradox ) ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใช้ ถ้อยคําทีมความหมายตรงกันข้ าม ่ ี หรือขัดแย้ งกันมากล่ าว อย่ างกลมกลืนกันเพือเพิมความหมายให้ มนําหนัก ่ ่ ี ้ มากยิงขึน ่ ้ ตัวอย่ างปฏิพากย์ โวหาร เลวบริสุทธิ์ บาปบริสุทธิ์ สวยเป็ นบ้ า สวยอย่ างร้ ายกาจ สนุกฉิบหาย สวรรค์ บนดิน ยิงรีบยิงช้ า ่ ่ นําร้ อนปลาเป็ น นําเย็นปลาตาย เสี ยน้ อยเสี ยยาก เสี ยมากเสี ยง่ าย ้ ้ รักยาวให้ บั่น รักสั้ นให้ ต่อ แพ้เป็ นพระ ชนะเป็ นมาร
  • 8. อติพจน์ (Hyperbole) อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือโวหารทีกล่ าวเกินความจริง เพือเน้ นความรู้สึก ่ ่ ทําให้ ผ้ ูฟังเกิดความรู้สึกทีลกซึ้งภาพพจน์ ชนิดนีนิยมใช้ กนมากแม้ ในภาษาพูด ่ึ ้ ั เพราะเป็ นการกล่ าวทีทาให้ เห็นภาพได้ ง่ายและแสดงความรู้ สึกของกวีได้ ่ ํ อย่ างชัดเจน ตัวอย่ างอติพจน์ โวหาร คิดถึงใจจะขาด คอแห้ งเป็ นผง ร้ อนตับจะแตก หนาวกระดูกจะหลุด การบินไทยรักคุณเท่ าฟา ้ คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้ าออก
  • 9. ในกรณีทใช้ โวหารตํากว่ าจริงเรียกว่ า "อวพจน์ " ี่ ่ ตัวอย่ าง อวพจน์ โวหาร เล็กเท่ าขีตาแมว ้ เพียงชั่วลัดนิวมือเดียว ้ รอสั กอึดใจเดียว
  • 10. บุคลาธิษฐาน (Personification ) บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต คือการกล่ าวถึงสิ่ งต่ างๆ ทีไม่ มชีวต ่ ี ิ ไม่ มความคิด ไม่ มวญญาณ ี ีิ เช่ น โต๊ ะ เก้ าอี้ อิฐ ปูน หรือ สิ่ งมีชีวตทีไม่ ใช่ มนุษย์ เช่ น ต้ นไม้ สั ตว์ โดยให้ สิ่งต่ างๆเหล่ านีแสดงกิริยา ิ ่ ้ อาการและความรู้สึกได้ เหมือนมนุษย์ ตัวอย่ าง บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต มองซิ..มองทะเล บางครั้งมันบ้ าบิ่น ทะเลไม่ เคยหลับใหล บางครั้งยังสะอืน ้ เห็นลมคลืนเห่ จูบหิน ่ กระแทกหินดังครืนครืน ใครตอบได้ ไหม ไฉนจึงตืนทะเลมันตืนอยู่รํ่าไป ่ ่
  • 11. ตัวอย่าง บุคลาธิษฐาน ฟ้ าหัวเราะเยาะข้า ชะตาหรื อดินนั้นถืออภิสิทธิ์ ชีวิตข้าเองไม่เกรงดินฟ้ า ไส้เดือนเที่ยวเกี้ยวสาว ทุกจุลินทรี ยอะมีบา ์ ชาวอัปสรนอนชั้นฟ้ า เชิดหน้าได้ดิบได้ดี เสี ยงร้องไห้ร่ ําหาเหมือนฟ้ าร้อง พระธรณี ตีอกด้วยตกใจ พระเสื้ อเมืองเมินมองแล้วร้องไห้ โลกบาลถอนฤทัยไม่อาจมอง
  • 12. สั ญลักษณ์ (symbol ) สัญลักษณ์ เป็ นการเรียกชื่อสิ่ งๆหนึ่งโดยใช้ คาอืนมาแทน ไม่ เรียกตรงๆ ํ ่ ส่ วนใหญ่ คาทีนํามาแทนจะเป็ นคําทีเ่ กิดจากการเปรียบเทียบและตีความซึ่ง ํ ่ ใช้ กนมานานจนเป็ นทีเ่ ข้ าใจและรู้ จกกันโดยทัวไป ั ั ่
  • 13. ตัวอย่ าง สั ญลักษณ์ เมฆหมอก แทน อุปสรรค สี ดา แทน ํ ความตาย ความชั่วร้ าย สี ขาว แทน ความบริสุทธิ์ กุหลาบแดง แทน ความรัก หงส์ แทน คนชั้นสู ง กา แทน คนตําต้ อย ่ ดอกไม้ แทน ผู้หญิง แสงสว่ าง แทน สติปัญญา เพชร แทน ความแข็งแกร่ ง ความเป็ นเลิศ แก้ ว แทน ความดีงาม ของมีค่า ลา แทน คนโง่ คนน่ าสงสาร คนพาล คนคด สุ นัขจิงจอก ้ แทน คนเจ้ าเล่ ห์
  • 14. นามนัย ( Metonymy ) นามนัย คือการใช้ คาหรือวลีซึ่งบ่ งลักษณะหรือคุณสมบัตของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ํ ิ แทนอีกสิ่ งหนึ่งคล้ ายๆสั ญลักษณ์ แต่ ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้นจะดึง เอาลักษณะบางส่ วนของสิ่ งหนึ่งมากล่ าว ให้ หมายถึงส่ วนทั้งหมด
  • 15. ตัวอย่าง นามนัย เมืองโอ่ ง หมายถึง จังหวัดราชบุรี เมืองย่ าโม หมายถึง จังหวัดนครราชสี มา ทีมเสื อเหลือง หมายถึง ทีมมาเลเซีย ทีมกังหันลม หมายถึง เมืองเนเธอร์ แลนด์ ทีมสิ งโตคําราม หมายถึง อังกฤษ ฉัตร หมายถึง กษัตริย์ เก้ าอี้ หมายถึง ตําแหน่ ง มือทีสาม ่ หมายถึง ผู้ก่อความเดือดร้ อน เมืองนําหอม้ หมายถึง ประเทศฝรั่งเศส
  • 16. สั ทพจน์ (Onematoboeia ) สั ทพจน์ หมายถึงภาพพจน์ ทเี่ ลียนเสี ยง ธรรมชาติ เช่ น เสี ยงดนตรี เสี ยงสั ตว์ เสี ยงคลืน เสี ยงลม เสี ยงฝนตก ่ เสี ยงนําไหล ฯลฯ การใช้ ภาพพจน์ ้ ประเภทนีจะทําให้ เหมือนได้ ยนเสี ยง ้ ิ นั้นจริง ๆ
  • 17. ตัวอย่าง สัทพจน์ ลูกหมาร้องบ๊อก ๆ ๆ ลูกนกร้องจิ๊บๆๆ ลูกแมวร้องเหมียว ๆ ๆ เปรี้ ยง ๆ ดังเสี ยงฟ้ าฟาด ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก กระเดื่องดังแทรกสํารวลสรวลสันต์ คลื่นซัดครื นครื นซ่ าที่ผาแดง ุ่ นํ้าพุพงซ่าไหลมาฉาดฉาน เห็นตระการเสี ยงกังวาน มันดังจอกโครม จอกโครม มันดังจอก จอก โครม โครม บัดเดี๋ยวดังหง่างเหง่งวังเวงแว่ว อ้อยอี๋เอียง อ้อยอี๋เอียงส่ งเสี ยงร้อง เสี ยงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย กระหึ มโหยห้อยไม้น่าใจหาย ป๊ ะโท่นป๊ ะโท่นป๊ ะโท่นโท่น
  • 18. สรุ ปโวหารภาพพจน์ ๑. อุปมาโวหาร ๒. อุปลักษณ์ โวหาร ๓. ปฏิพากย์ พจน์ ๔. อติพจน์ หรือ อธิพจน์ ๕. อวพจน์ ๖. บุคลาธิษฐาน บุคคลวัต ๗. สั ญลักษณ์ ๘. นามนัย ๙. สั ทพจน์
  • 19. ้ ่ ให้นกเรี ยนวิเคราะห์ขอความต่อไปนี้วามีโวหารภาพพจน์ชนิดใดบ้าง เช้าวันหนึ่งตื่นขึ้นมาด้วยอารมณ์สดใส ท้องฟ้ าใสสด บรรยากาศสวยงามเหมือนได้อยูบน ่ ่ สวรรค์ จิตใจว้าวุนคิดถึงคนไกลที่ไปเป็ นทหารทําหน้าเป็ นรั้วของชาติ คิดถึงปั ญหาภาวะ เศรษฐกิจ คิดถึงชาวนาที่เป็ นกระดูกสันหลังของชาติ ทันใดนั้น ได้ยนเสี ยงแตรรถยนต์ดง ิ ั ปิ๊ น ปิ๊ น เขาจึงตื่นจากภวังค์ และรู ้สึกกระหายนํ้าอย่างมาก มองดูทะเลซัดคลื่นเข้าหาฝั่ง ซึ่งมีความใหญ่โตราวจะพังถล่มทับบ้านเรื อน นกน้อยกําลังบินออกจากรังเพื่อหากิน ส่ งเสี ยงจิ๊บๆจ๊าบๆร้องเรี ยกกัน ฟ้ าเริ่ มหลังนํ้าตา ท้องฟ้ ามืดคลึ้ม สายลมโบกพัดอย่างแรง ่ ต้นมะพร้าวไม่อาจต้านความแรงได้ลมนอนเคลื่อนเต็มท้องถนน ฉันรู ้สึกถึงธรรมชาติ ้ ธรรมชาติที่พร้อมจะเอาคืนจากมนุษย์ผที่ทาลายธรรมชาติ.. ู้ ํ