SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
หลักการพื้นฐานในการสราง Animation

หลักการของ Animation
        ภาพเคลื่อนไหวหรือที่เราเรียกวา Animation คือ การเปลี่ยนแปลงวัตถุโดยมีความสัมพันธกับเวลา
เชน ภาพยนตรการตูนที่มการเคลือนที่ การเดิน การวิ่ง เปนตนสําหรับ Flash นั้นจะมีการเคลื่อนที่อยู
                        ี      ่
ลักษณะคือ
        1. การเคลื่อนยายแบบยายสถานที่ (Motion) เชน วัตถุเคลื่อนที่จากจุด A ไปจุด B




        2. การเคลื่อนที่โดยการเปลี่ยนแปลงลักษณะ (Transform)


ประเภทของภาพเคลื่อนไหว
การเคลือนไหวชนิดภาพตอภาพ (Frame By Frame Animation)
       ่

        เปนการเคลื่อนไหวชนิด ภาพที่ 1 ไปภาพที่ 2 ไปภาพที่ 3 … ไป ภาพสุดทาย หรือเปนลักษณะการ
เคลื่อนไหวของการตูนนันเอง
                      ่




        การเปลี่ยนแปลงของภาพแตละภาพที่เรียงอยางตอเนื่องในลักษณะนี้ เหมาะสําหรับการทํา
Animation ที่ซับซอน เชน Animation ที่มีการเคลื่อนไหวลักษณะทาทางมาก เปนตนซึ่งจะใชภาพจํานวน
มากโดยที่แตละFrame จะใสภาพในลักษณะทาทางตาง ๆ 1 ภาพทําใหเสียเวลา แตจะทําใหภาพมีการ
เคลื่อนไหวที่เหมือนจริง

การเคลือนไหวชนิดกําหนดจุดเริ่มตนและจุดสินสุด (Tweened Animation)
       ่                                 ้
การเคลื่อนไหวของAnimation ลักษณะนี้จะมีการกําหนดจุดเริ่มตนในการแสดงภาพเคลื่อนไหว
และใชวิธีการคํานวณของ Flash ในการแสดงภาพตาง ๆโดยทีเ่ ราไมตองไปหาภาพมาเรียงตอกันเราสามารถ
แบงลักษณะการเคลื่อนไหวออกเปน 2 ลักษณะดวยกัน คือ

        1. เปลียนแปลงสถานที่ (Motion Tween)
               ่
        เปนการเคลื่อนไหวที่มการยายสถานทีโดยไมมการเปลี่ยนแปลงรูปรางของวัตถุ แตสามารถเปลี่ยน
                             ี            ่      ี
สีหรือขนาดได คือ การเปลี่ยนแปลงจากจุด A ไป จุด B นั่นเองโดยที่ระหวางการเคลื่อนที่จาก A ไป B
สามารถมีการเปลี่ยนแปลงขนาด เปลียนสี หรือ คอย ๆ จางหายไปแตไมสามารถเปลี่ยนจากรูปหนึ่งไปยังอีก
                               ่
รูปหนึ่งไดการทํา Animation ลักษณะนี้ Flash Movie จะมีขนาดเล็กกวาการเคลื่อนไหวชนิดภาพตอภาพ
เพราะใชการคํานวณการเคลื่อนไหวแทนการใชภาพจริงหลาย ๆ มาแสดงตอกัน

        2. เปลียนแปลงลักษณะเดิม (Shape Tween)
               ่
   เปนการเคลื่อนไหวโดยมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางหรือเปลี่ยนจากวัตถุหนึ่งไปเปนอีกวัตถุหนึ่ง

Frame
        Frame มีลักษณะเปนชองเล็ก ๆ ที่เรียงกันเปนแถวยาว ทําหนาที่บรรจุภาพและเสียงที่จัดวางบน
Stage เราจึงตองจัดเรียงเรื่องราวบน Frame เพื่อแสดงออกมาเปนFlash Movieโดยแตละ Frame จะถูกแสดง
เมื่อมีการผานของ Playhead ซึ่ง Playhead ตัวนี้เองจะเปนตัววิ่งผาน Frame แตละ Frame เพื่อแสดงภาพและ
เสียงที่บรรจุอยูใน Frame นั้น




การเพิ่ม Frame

        เลือก Insert  Frame หรือคลิกเมาสปุมขวาที่ชอง Frame เลือก Insert Frame
การลบ Frame

        เลือก Insert  Remove Frames หรือคลิกเมาสปุมขวาที่ชองFrame เลือก Frame ที่เราตองการ
                                                             
Remove Frames




ปรับการแสดง Frame

        เราสามารถปรับรูปแบบการแสดง Frame บนหนาจอใหเหมาะกับลักษณะงานที่เราทําได โดยคลิก
เมาสปุม ซึ่งอยูทางขวามือของ Frame ดังนี้
Tiny คือ การปรับแตงใหชอง Frame มีขนาดบางที่สุด




Small คือ การปรับใหชอง Frame มีขนาดบาง




Normal คือ การปรับใหชอง Frame มีขนาดปกติ




Medium คือ การปรับใหชอง Frame มีขนาดปานกลาง
Large คือ การปรับใหชอง Frame มีขนาดใหญที่สุด




Short คือ การปรับใหชอง Frame มีขนาดสั้น




Tinted Frame เปนการใชสีเพื่อบอกลักษณะของ Frame เชน

        Motion Tween จะแสดงเปน จุดแรกกับลูกศรเปนสีแดงและจุดสุดทายเปนสีฟา

       Shape Tween จะแสดงเปนจุดแรกกับลูกศรเปนสีเขียวและจุดสุดทายเปนสีฟา

Preview เปนการแสดงภาพในแตละ Frame วาแตละ Frame มีภาพที่แสดงอะไรบาง




Preview In Context คือ การแสดงผลในแตละ Frame เหมือนกับ Preview แตจะเปนการแสดงทั้ง Stage
Keyframe
        Keyframe คือ Frame ที่มีวัตถุหรือมีการเปลี่ยนแปลงเราสามารถสังเกตไดโดยจะมีจดใน Fram
                                                                                   ุ
หรือจะมีจุดที่จดเริ่มตนของ Frameในการสรางงาน Animation เราจะตองกําหนด Keyframe ในตําแหนงตาง
               ุ
ๆ และกําหนดรายละเอียดของแตละ Keyframe ไดอยางเหมาะสม งานAnimation ที่ไดจึงจะมีผลลัพธตามที่
ตองการ




การเพิ่ม Keyframe

        เปนการเพิ่ม Frame โดยมีภาพหรือวัตถุของ Frame ที่อยูกอนหนาติดมาดวย หาก Frame กอนหนา
เปน Frame วาง ๆ เราก็จะได Frame เปลามาเราสามารถเพิ่ม Keyframe ไดโดยเลือก Insert  Keyframe
หรือคลิกเมาสที่ปุมขวา Frame เลือก Insert เลือก Keyframe




การลบ Keyframe

        ใหเราทําการคลิกเมาสที่ Frame ที่เราตองการลบออก เลือก Insert  Clear Keyframe หรือคลิก
เมาสที่ปุมขวา เลือก Clear Keyframe
Blank Keyframe
       เปน Keyframe ที่วางอยูยงไมมีการใชงานไมมีวัตถุหรือ Instance ใด ๆ เปนKeyframe เปลา ๆ
                                 ั

การเพิ่ม Blank Keyframe
         การเพิ่ม Frame เปลา ๆ ขึ้นมาโดยไมขึ้นอยูวา Frame กอนหนาจะมีวัตถุอยูหรือไม โดยเลือก
Insert  Blank Keyframe หรือคลิกเมาสปุมขวาที่ Frame เลือก Insert Blank Keyframe




Document Properties
      เปนการกําหนดคุณสมบัติตาง ๆ ใหกับ Flash Movie ของเรา โดยการกําหนดคุณสมบัตินี้จะมีผลตอ
Flash Movie ทั้งหมดเพราะเปนการกําหนดภาพรวม เชน เราเปลี่ยนสีพื้นหลังก็จะเปนการเปลี่ยนสีพื้นหลัง
ทุก ๆ Frame ไปดวยเปนตน ดังนั้น จึงถือวา Document Properties เปนตัวกําหนดคุณสมบัติของภาพรวม
ของ Flash Movie ก็ได เราสามารถเปด Document Properties ไดโดยเลือก Modify  Document หรือ เรา
จะเปด Document Properties โดย ดับเบิ้ลคลิกที่ Frame Rate บน Timeline ก็ได




การทํางานใน Scene & Edit Symbol

       การสรางภาพเคลื่อนไหวใน Flash ก็เหมือนกับเรากํากับละครเรื่องหนึง ซึ่งคงจะตองแบงออกเปน
                                                                       ่
แตละฉาก เพือใหงายตอการควบคุมดูแล ซึ่ง Scene เองก็เปรียบเสมือนกับฉากหนึ่งฉากที่เราสามารถนํามา
            ่
ประกอบเปน Flash Movie ได
ปกติแลว Scene จะถูกเรียกขึ้นมาพรอมกับการเปด Flash ซึ่งเราสามารถสังเกตไดจากมุมลางซาย
ของหนาตาง Timeline เขียนวา Scene 1




หนาตาง Scene
         ในแตละ Stage จะมีมากกวา 1 Scene ก็ไดเพราะในการสราง Flash Movie ที่ยาว ๆ หากเรา
เรียงลําดับไมดีอาจทําใหเราสับสนจึงตองแบงเปนแตละฉากเหมือนกับเราสรางภาพยนตรขึ้นมาเรื่องหนึ่ง
เราสามารถที่จะจัดการกับฉากเหลานีไดโดยเรียก Panel Scene ขึ้นมา โดยเลือก Windows  Scene
                                    ้




การแกไขซีน (Edit Scene)

          ปุม Edit Scene ปุมนี้มีหนาที่ในการเปลี่ยน Scene หรือเปลี่ยนฉากใน Stage เพื่อทําใหเราทําการ
แกไขคาหรือเปลี่ยนแปลงวัตถุตาง ๆ ใน Stage โดยใหเราคลิกเมาสที่ปุม Edit Scene แลวเลือก Scene ที่เรา
ตองการ
การแกไขวัตถุที่อยูใน Scene (Edit Symbol)

        เราสามารถแกไขวัตถุที่อยูใน Scene ได โดยการ คลิกเมาสที่ปุม Edit Symbol จะแสดงรายการของ
Symbol ที่เราไดสรางไว ซึ่งสามารถนําไปแกไขได โดยเลือก Symbol ที่ตองการ




เสนเวลา Timeline

        Timeline เปนเครื่องมือหนึ่งของ Flash ที่ชวยในการกํากับเวลาในการแสดงภาพเคลื่อนไหว โดยมี
Playhead เปนตัววิ่งผานแตละ Frame ที่วางอยู โดยไมมีการกระทําอะไรภายใน Frame เราจะเรียกวา Empty
Frame




การแสดงสถานะเกี่ยวกับภาพเคลื่อนไหวบน Timeline
การแสดงภาพ Animation จะมีการใชความสัมพันธของเวลาเขามาชวยในการแสดงวัตถุในแตละ
Frame ดวย เชน แสดง Animation ดวยความเร็ว 12 Frame ตอวินาที เปนตนซึ่งเราสามารถรูขอมูลเหลานี้ได
จาก StatusBar ดานลางของ Timeline ซึ่งจะแสดงสถานะของภาพเคลื่อนไหว

             Status                                          คําอธิบาย

        Current Frame      เปนชองที่บอกวาขณะนี้ Playhead แสดง Frame อยูที่ชองที่เทาไหร
        Frame Rate         เปนชองที่บอกวาขณะนี้ Playhead วิ่งดวยความเร็วกี่ Frame ตอวินาที
        Elapsed time       เปนชองที่บอกวาเมื่อ Playhead วิ่งมาถึง Frame นี้จะใชเวลาเทาไหร
                           (หนวยเปนวินาที)



                                

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่7
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่7พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่7
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่7Thanawat Boontan
 
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashการสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashmathawee wattana
 
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3Thanawat Boontan
 
เทคนิคการใช้ photo shop
เทคนิคการใช้ photo shopเทคนิคการใช้ photo shop
เทคนิคการใช้ photo shopviparatudomrak
 
เทคนิคการทำภาพวาดสีน้ำมัน
เทคนิคการทำภาพวาดสีน้ำมันเทคนิคการทำภาพวาดสีน้ำมัน
เทคนิคการทำภาพวาดสีน้ำมันTawaschai
 

Was ist angesagt? (9)

Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Symbol instance timeline
Symbol instance timelineSymbol instance timeline
Symbol instance timeline
 
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่7
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่7พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่7
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่7
 
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashการสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
 
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3
 
Manual swish max
Manual swish maxManual swish max
Manual swish max
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
เทคนิคการใช้ photo shop
เทคนิคการใช้ photo shopเทคนิคการใช้ photo shop
เทคนิคการใช้ photo shop
 
เทคนิคการทำภาพวาดสีน้ำมัน
เทคนิคการทำภาพวาดสีน้ำมันเทคนิคการทำภาพวาดสีน้ำมัน
เทคนิคการทำภาพวาดสีน้ำมัน
 

Andere mochten auch

Knownleage38
Knownleage38Knownleage38
Knownleage38krubeenan
 
Knownleage18
Knownleage18Knownleage18
Knownleage18krubeenan
 
PHOENIX CV Applications
PHOENIX CV ApplicationsPHOENIX CV Applications
PHOENIX CV Applicationsvinayshripad
 
รายงาน การศึกษาดูงานสถานพยาบาล
รายงาน การศึกษาดูงานสถานพยาบาลรายงาน การศึกษาดูงานสถานพยาบาล
รายงาน การศึกษาดูงานสถานพยาบาลRut Maneeratch
 

Andere mochten auch (6)

Knownleage38
Knownleage38Knownleage38
Knownleage38
 
Knownleage18
Knownleage18Knownleage18
Knownleage18
 
PHOENIX CV Applications
PHOENIX CV ApplicationsPHOENIX CV Applications
PHOENIX CV Applications
 
Problem solving
Problem solvingProblem solving
Problem solving
 
รายงาน การศึกษาดูงานสถานพยาบาล
รายงาน การศึกษาดูงานสถานพยาบาลรายงาน การศึกษาดูงานสถานพยาบาล
รายงาน การศึกษาดูงานสถานพยาบาล
 
Animation
AnimationAnimation
Animation
 

Ähnlich wie Animation

Ähnlich wie Animation (20)

Flash6
Flash6Flash6
Flash6
 
Flash6
Flash6Flash6
Flash6
 
animation-gif-by-firework
animation-gif-by-fireworkanimation-gif-by-firework
animation-gif-by-firework
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
week5
week5week5
week5
 
คู่มือFlash
คู่มือFlashคู่มือFlash
คู่มือFlash
 
swishmax2
swishmax2swishmax2
swishmax2
 
Manual Swish max3
Manual Swish max3Manual Swish max3
Manual Swish max3
 
575050188 3 open learning environment
575050188 3 open learning environment575050188 3 open learning environment
575050188 3 open learning environment
 
การสร้าง Animation จาก image ready
การสร้าง Animation จาก image readyการสร้าง Animation จาก image ready
การสร้าง Animation จาก image ready
 
ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)
ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)
ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)
 
Animation
AnimationAnimation
Animation
 
Flash
FlashFlash
Flash
 
P3
P3P3
P3
 
Handbook flash8
Handbook flash8Handbook flash8
Handbook flash8
 
Docflash8
Docflash8Docflash8
Docflash8
 
Hanfbookflash8
Hanfbookflash8Hanfbookflash8
Hanfbookflash8
 
เรื่องเทคนิคการใช้Photoshop
เรื่องเทคนิคการใช้Photoshopเรื่องเทคนิคการใช้Photoshop
เรื่องเทคนิคการใช้Photoshop
 
การใส่ลูกเล่นในแผ่นสไลด์
การใส่ลูกเล่นในแผ่นสไลด์ การใส่ลูกเล่นในแผ่นสไลด์
การใส่ลูกเล่นในแผ่นสไลด์
 

Animation

  • 1. หลักการพื้นฐานในการสราง Animation หลักการของ Animation ภาพเคลื่อนไหวหรือที่เราเรียกวา Animation คือ การเปลี่ยนแปลงวัตถุโดยมีความสัมพันธกับเวลา เชน ภาพยนตรการตูนที่มการเคลือนที่ การเดิน การวิ่ง เปนตนสําหรับ Flash นั้นจะมีการเคลื่อนที่อยู ี ่ ลักษณะคือ 1. การเคลื่อนยายแบบยายสถานที่ (Motion) เชน วัตถุเคลื่อนที่จากจุด A ไปจุด B 2. การเคลื่อนที่โดยการเปลี่ยนแปลงลักษณะ (Transform) ประเภทของภาพเคลื่อนไหว การเคลือนไหวชนิดภาพตอภาพ (Frame By Frame Animation) ่ เปนการเคลื่อนไหวชนิด ภาพที่ 1 ไปภาพที่ 2 ไปภาพที่ 3 … ไป ภาพสุดทาย หรือเปนลักษณะการ เคลื่อนไหวของการตูนนันเอง ่ การเปลี่ยนแปลงของภาพแตละภาพที่เรียงอยางตอเนื่องในลักษณะนี้ เหมาะสําหรับการทํา Animation ที่ซับซอน เชน Animation ที่มีการเคลื่อนไหวลักษณะทาทางมาก เปนตนซึ่งจะใชภาพจํานวน มากโดยที่แตละFrame จะใสภาพในลักษณะทาทางตาง ๆ 1 ภาพทําใหเสียเวลา แตจะทําใหภาพมีการ เคลื่อนไหวที่เหมือนจริง การเคลือนไหวชนิดกําหนดจุดเริ่มตนและจุดสินสุด (Tweened Animation) ่ ้
  • 2. การเคลื่อนไหวของAnimation ลักษณะนี้จะมีการกําหนดจุดเริ่มตนในการแสดงภาพเคลื่อนไหว และใชวิธีการคํานวณของ Flash ในการแสดงภาพตาง ๆโดยทีเ่ ราไมตองไปหาภาพมาเรียงตอกันเราสามารถ แบงลักษณะการเคลื่อนไหวออกเปน 2 ลักษณะดวยกัน คือ 1. เปลียนแปลงสถานที่ (Motion Tween) ่ เปนการเคลื่อนไหวที่มการยายสถานทีโดยไมมการเปลี่ยนแปลงรูปรางของวัตถุ แตสามารถเปลี่ยน ี ่ ี สีหรือขนาดได คือ การเปลี่ยนแปลงจากจุด A ไป จุด B นั่นเองโดยที่ระหวางการเคลื่อนที่จาก A ไป B สามารถมีการเปลี่ยนแปลงขนาด เปลียนสี หรือ คอย ๆ จางหายไปแตไมสามารถเปลี่ยนจากรูปหนึ่งไปยังอีก ่ รูปหนึ่งไดการทํา Animation ลักษณะนี้ Flash Movie จะมีขนาดเล็กกวาการเคลื่อนไหวชนิดภาพตอภาพ เพราะใชการคํานวณการเคลื่อนไหวแทนการใชภาพจริงหลาย ๆ มาแสดงตอกัน 2. เปลียนแปลงลักษณะเดิม (Shape Tween) ่ เปนการเคลื่อนไหวโดยมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางหรือเปลี่ยนจากวัตถุหนึ่งไปเปนอีกวัตถุหนึ่ง Frame Frame มีลักษณะเปนชองเล็ก ๆ ที่เรียงกันเปนแถวยาว ทําหนาที่บรรจุภาพและเสียงที่จัดวางบน Stage เราจึงตองจัดเรียงเรื่องราวบน Frame เพื่อแสดงออกมาเปนFlash Movieโดยแตละ Frame จะถูกแสดง เมื่อมีการผานของ Playhead ซึ่ง Playhead ตัวนี้เองจะเปนตัววิ่งผาน Frame แตละ Frame เพื่อแสดงภาพและ เสียงที่บรรจุอยูใน Frame นั้น การเพิ่ม Frame เลือก Insert  Frame หรือคลิกเมาสปุมขวาที่ชอง Frame เลือก Insert Frame
  • 3. การลบ Frame เลือก Insert  Remove Frames หรือคลิกเมาสปุมขวาที่ชองFrame เลือก Frame ที่เราตองการ  Remove Frames ปรับการแสดง Frame เราสามารถปรับรูปแบบการแสดง Frame บนหนาจอใหเหมาะกับลักษณะงานที่เราทําได โดยคลิก เมาสปุม ซึ่งอยูทางขวามือของ Frame ดังนี้
  • 4. Tiny คือ การปรับแตงใหชอง Frame มีขนาดบางที่สุด Small คือ การปรับใหชอง Frame มีขนาดบาง Normal คือ การปรับใหชอง Frame มีขนาดปกติ Medium คือ การปรับใหชอง Frame มีขนาดปานกลาง
  • 5. Large คือ การปรับใหชอง Frame มีขนาดใหญที่สุด Short คือ การปรับใหชอง Frame มีขนาดสั้น Tinted Frame เปนการใชสีเพื่อบอกลักษณะของ Frame เชน Motion Tween จะแสดงเปน จุดแรกกับลูกศรเปนสีแดงและจุดสุดทายเปนสีฟา Shape Tween จะแสดงเปนจุดแรกกับลูกศรเปนสีเขียวและจุดสุดทายเปนสีฟา Preview เปนการแสดงภาพในแตละ Frame วาแตละ Frame มีภาพที่แสดงอะไรบาง Preview In Context คือ การแสดงผลในแตละ Frame เหมือนกับ Preview แตจะเปนการแสดงทั้ง Stage
  • 6. Keyframe Keyframe คือ Frame ที่มีวัตถุหรือมีการเปลี่ยนแปลงเราสามารถสังเกตไดโดยจะมีจดใน Fram ุ หรือจะมีจุดที่จดเริ่มตนของ Frameในการสรางงาน Animation เราจะตองกําหนด Keyframe ในตําแหนงตาง ุ ๆ และกําหนดรายละเอียดของแตละ Keyframe ไดอยางเหมาะสม งานAnimation ที่ไดจึงจะมีผลลัพธตามที่ ตองการ การเพิ่ม Keyframe เปนการเพิ่ม Frame โดยมีภาพหรือวัตถุของ Frame ที่อยูกอนหนาติดมาดวย หาก Frame กอนหนา เปน Frame วาง ๆ เราก็จะได Frame เปลามาเราสามารถเพิ่ม Keyframe ไดโดยเลือก Insert  Keyframe หรือคลิกเมาสที่ปุมขวา Frame เลือก Insert เลือก Keyframe การลบ Keyframe ใหเราทําการคลิกเมาสที่ Frame ที่เราตองการลบออก เลือก Insert  Clear Keyframe หรือคลิก เมาสที่ปุมขวา เลือก Clear Keyframe
  • 7. Blank Keyframe เปน Keyframe ที่วางอยูยงไมมีการใชงานไมมีวัตถุหรือ Instance ใด ๆ เปนKeyframe เปลา ๆ ั การเพิ่ม Blank Keyframe การเพิ่ม Frame เปลา ๆ ขึ้นมาโดยไมขึ้นอยูวา Frame กอนหนาจะมีวัตถุอยูหรือไม โดยเลือก Insert  Blank Keyframe หรือคลิกเมาสปุมขวาที่ Frame เลือก Insert Blank Keyframe Document Properties เปนการกําหนดคุณสมบัติตาง ๆ ใหกับ Flash Movie ของเรา โดยการกําหนดคุณสมบัตินี้จะมีผลตอ Flash Movie ทั้งหมดเพราะเปนการกําหนดภาพรวม เชน เราเปลี่ยนสีพื้นหลังก็จะเปนการเปลี่ยนสีพื้นหลัง ทุก ๆ Frame ไปดวยเปนตน ดังนั้น จึงถือวา Document Properties เปนตัวกําหนดคุณสมบัติของภาพรวม
  • 8. ของ Flash Movie ก็ได เราสามารถเปด Document Properties ไดโดยเลือก Modify  Document หรือ เรา จะเปด Document Properties โดย ดับเบิ้ลคลิกที่ Frame Rate บน Timeline ก็ได การทํางานใน Scene & Edit Symbol การสรางภาพเคลื่อนไหวใน Flash ก็เหมือนกับเรากํากับละครเรื่องหนึง ซึ่งคงจะตองแบงออกเปน ่ แตละฉาก เพือใหงายตอการควบคุมดูแล ซึ่ง Scene เองก็เปรียบเสมือนกับฉากหนึ่งฉากที่เราสามารถนํามา ่ ประกอบเปน Flash Movie ได
  • 9. ปกติแลว Scene จะถูกเรียกขึ้นมาพรอมกับการเปด Flash ซึ่งเราสามารถสังเกตไดจากมุมลางซาย ของหนาตาง Timeline เขียนวา Scene 1 หนาตาง Scene ในแตละ Stage จะมีมากกวา 1 Scene ก็ไดเพราะในการสราง Flash Movie ที่ยาว ๆ หากเรา เรียงลําดับไมดีอาจทําใหเราสับสนจึงตองแบงเปนแตละฉากเหมือนกับเราสรางภาพยนตรขึ้นมาเรื่องหนึ่ง เราสามารถที่จะจัดการกับฉากเหลานีไดโดยเรียก Panel Scene ขึ้นมา โดยเลือก Windows  Scene ้ การแกไขซีน (Edit Scene) ปุม Edit Scene ปุมนี้มีหนาที่ในการเปลี่ยน Scene หรือเปลี่ยนฉากใน Stage เพื่อทําใหเราทําการ แกไขคาหรือเปลี่ยนแปลงวัตถุตาง ๆ ใน Stage โดยใหเราคลิกเมาสที่ปุม Edit Scene แลวเลือก Scene ที่เรา ตองการ
  • 10. การแกไขวัตถุที่อยูใน Scene (Edit Symbol) เราสามารถแกไขวัตถุที่อยูใน Scene ได โดยการ คลิกเมาสที่ปุม Edit Symbol จะแสดงรายการของ Symbol ที่เราไดสรางไว ซึ่งสามารถนําไปแกไขได โดยเลือก Symbol ที่ตองการ เสนเวลา Timeline Timeline เปนเครื่องมือหนึ่งของ Flash ที่ชวยในการกํากับเวลาในการแสดงภาพเคลื่อนไหว โดยมี Playhead เปนตัววิ่งผานแตละ Frame ที่วางอยู โดยไมมีการกระทําอะไรภายใน Frame เราจะเรียกวา Empty Frame การแสดงสถานะเกี่ยวกับภาพเคลื่อนไหวบน Timeline
  • 11. การแสดงภาพ Animation จะมีการใชความสัมพันธของเวลาเขามาชวยในการแสดงวัตถุในแตละ Frame ดวย เชน แสดง Animation ดวยความเร็ว 12 Frame ตอวินาที เปนตนซึ่งเราสามารถรูขอมูลเหลานี้ได จาก StatusBar ดานลางของ Timeline ซึ่งจะแสดงสถานะของภาพเคลื่อนไหว Status คําอธิบาย Current Frame เปนชองที่บอกวาขณะนี้ Playhead แสดง Frame อยูที่ชองที่เทาไหร Frame Rate เปนชองที่บอกวาขณะนี้ Playhead วิ่งดวยความเร็วกี่ Frame ตอวินาที Elapsed time เปนชองที่บอกวาเมื่อ Playhead วิ่งมาถึง Frame นี้จะใชเวลาเทาไหร (หนวยเปนวินาที) 