SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
J.V. Dempsey
University of South Alabama
        Richard N. Van. Eck
 University of North Dakota
Intro
ประเด็นคําถาม วานักออกแบบการเรียนการสอนจะ
 มีบทบาทที่สําคัญในการชี้นําการพัฒนาโปรแกรม
 ออนไลนที่มีคุณภาพ
 มุงศึกษาจาก การเรียนรูออนไลน เปน การเรียนรู
 แบบกระจาย เปน e-learning
ประเด็นคําถาม
 กระบวนทัศนในแนวทางของการเรียนรูใน
  ศตวรรษที่ 21
 เรามีการจัดการที่ดีเกี่ยวกับแนวคิดและฟงกชันของ
  e-learning ที่มีอยูในปจจุบันอยางไร?
 เกี่ยวกับนักออกแบบการเรียนการสอน เรากําลัง
  เดินไปขางหนาหรือยังคงลาสมัย?
อะไรคือ E-learning
 E-learning คือ
     การนําเทคโนโลยีมารวมกับการเรียนรู
     สรางความหลากหลายในการเรียนรู
การแบงประเภทของ E-learning
ตามสมัยนิยม (คอมพิวเตอรชวยสอน, มัลติมีเดีย,
 การผสมผสานกับการเรียนรูออนไลน)
ตามภูมิศาสตร (การศึกษาทางไกลและการเรียน
 แบบ face-to face)
ตามเวลา (การเรียนแบบเวลาเดียวกันและการเรียน
 แบบคนละเวลา)
Online?
Hybrid (Synchronous and Asynchronous in
 the same course)
Blended (face-to-face mix with distance
 student)
Blended Hybrid
 Hybrid, Blended, distance learning ผูเรียน
  สามารถปฏิสัมพันธกับการเรียนในเวลาเดียวกับและ
  คนละเวลา หรือทั้งสองอยางในรายวิชาเดียวกัน
 สิ่งชวยในการจัดการเรียนการสอน อาทิเชน โทรศัพท
  iPods เครื่อขยายสัญญาณภาพและเสียง คอมพิวเตอร
  หรือเว็บไซต เปนตน
เนื่องจากเทคโนโลยีเปนสิ่งที่สามารถใชงาย และมี
 ความหลากหลาย ดังนั้น จึงสามารถผสมผสานกับ
 เนื้อหา และวิธีสอน
การเรียนในเวลาเดียวกัน และคนละเวลา และ
 face to face เริ่มหมดความนิยม
การวิเคราะหผลการเรียนรู
Merrill(1997) และคนอื่น ๆ ไดแนะนําวา
 สารสนเทศไมใชการสอน แต เปนสิ่งที่เปนกรอบ
 แนวคิดในการออกแบบการเรียนการสอน
เชน การเรียนการสอนโดยใช 9 สถานการณของ
 Gagne และรูปแบบ ARCs ของ Keller
โดยทั่วไปงานของนักออกแบบการเรียนการสอน คือ
 การจัดการที่มุงเนนผลการเรียนรู โดยใชทฤษฎีของ
 Bloom นั่นคือ Taxonomies
 การวิเคราะหผลสําเร็จในการเรียนรูของ Gagne
 วิธีการในการแบงผลการเรียนรูและการวิเคราะห
 การเรียนการสอน คือ ทักษะพื้นฐาน
 นักออกแบบการเรียนการสอนใชแนวคิด ทฤษฎี
 การสรางองคความรูดวยตนเอง หรือการเรียนรูดวย
 สถานการณ
แนวคิดของ Gagne เรื่องของ Neobehaviorist
 Taxonomical
ปจจัยการเรียนรูของ Dempsey คือ การบูรณาการ
 ทางเลือกในการใช Taxomonies แบบทางการ
 สําหรับการออกแบบกับการประเมินผลการเรียนรู
โครงสรางสถาปตยกรรม
เราใชการออกแบบการเรียนการสอนสรางสิ่งแวดลอม
 ในการเรียนรูและสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอยางรวดเร็วจึงทําให
 เกิดผลกระทบตอการรับรูของมนุษยและการปฏิสัมพันธ
แนวคิดใหมและสิ่งที่เปลี่ยนแปลงครั้งใหญในสังคม คือ
 การใชเทคโนโลยีสังคมการเรียนรูในกิจกรรมการเรียน
 การสอน
การเปลี่ยนแปลง
การใชเทคโนโลยีสังคมการเรียนรูในกิจกรรมการ
 เรียนการสอน
การออกแบบการเรียนการสอนในกลุมคน หรือการ
 ออกแบบรวมกันเพื่อใหเรียนรูไดดีในสภาพแวดลอม
 ออนไลน
เทคนิค
โครงสรางการทํางานของ e-Learning ทําใหเรา
 ตองเปลี่ยนแนวความคิดที่วาเทคโนโลยีการเรียนรู
 เปนเพียง “สื่อ” ที่เปนสวนประกอบของหลักสูตร
เทคนิคการเรียนการสอน
ควรจะรวมถึง
การบรรยาย               การอภิปราย
การฝกอบรมคอมพิวเตอร   VDO
สัมมนาออนไลน           conference
การอางอิงเว็บไซต      เว็บบล็อก
e-book                  การจําลองสถานการณ
DVD                     ระบบสนับสนุนการทํางาน
e-Learning เปนไดทั้ง synchronous และ
 asynchronous หรือทั้งสองอยาง
เทคนิค ชวยใหเราสามารถสรางกรอบความคิดการ
 เรียนการสอนจากผลลัพธการเรียนรู ลักษณะการ
 รับรูของสื่อ ประเภทของผูเรียน สภาพแวดลอม
การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในระบบ e-learning
 เปรียบไดกับยุคหนังใบ
ซึ่งเสียงเปนสิ่งที่ขาดไมไดในภาพยนตร
rich media จะทํางานไดอยางราบรื่นกับระบบการจัดสง
 ที่มีแบนดวิดธนอย
สิ่งนี้จึงกลายมาเปนแกนของระบบ e-learning
และเปลี่ยนจากยุคหนังใบเปนยุคการสื่อสารหรือกาว
 กระโดดเปนภาพยนต 3 มิติ
เทคนิค กับ รถบรรทุก
สามสิบปกอน Clark (1983) โตแยงวาสื่อ ไมไดทํา
 ใหนักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดมากไปกวา
 รถบรรทุกที่สงของใหรานขายของชําซึ่งทําใหเกิด
 การเปลี่ยนแปลงในดานโภชนาการของเรา
เหตุผลนี้เปนเรื่องยากที่จะเปรียบเทียบในทางสถิติ
Clark(1983) สรางความแตกแยก ระหวาง
 ตัวกลาง กับ วิธีการ
ตัวกลางและวิธีการมีความเกี่ยวพันกัน ทั้งสองอยางเปน
 สวนหนึ่งของการออกแบบ
ตัวกลาง เปน ขอจํากัดของวิธีการ
วิธีการ เปน การดึงและยกตัวอยางความสามารถของ
 ตัวกลางกลาง
การออกแบบการเรียนการสอนที่ดีที่สุดคือสรางอยู
 ในความรูสึกของสภาพแวดลอมที่หลากหลายที่
 สงผลใหเกิดการเรียนรู
การออกแบบที่ดีไมสอถึงวิธีการการควบคุมเชิง
 ปริมาณที่สามารถวัดไดในผลการเรียนรูระยะสั้น
สถาปตยกรรมการทํางาน, เทคนิค และ
การเรียนรูขั้นพื้นฐาน
เราตองออกแบบสภาพแวดลอมที่สนับสนุนการ
 เชื่อมตอแบบไรรอยตอกับโลกภายนอก
IDT ไมใชผูใหบริการเครื่องมือเทคโนโลยี แตเปน
 ผูออกแบบสภาพแวดลอมที่ชวยใหการใชงานของ
 เทคโนโลยีในรูปแบบที่ไมไดตั้งใจและตั้งใจ
 รวมทั้งฟงกชั่นที่สําคัญของการประเมินและการ
 จัดเก็บเอกสารหลักฐานของการเรียน
ควรจะเลือกเทคนิคในการสรางที่อุดมไปดวย
 สภาพแวดลอมที่มีความยืดหยุนที่จะสะทอนถึง
 ผลลัพธ ผลการสังเคราะห และใหการเชื่อมตอกับ
 สิ่งแวดลอม e-learning ภายนอก
สายงานของการออกแบบ
การเรียนการสอนและ E-learning
คุณเคยรูหรือไมวา การที่ผูสอนใช PowerPoint ใน
 การเรียนการสอน
ไมไดกอใหเกิดการเรียนรูอะไรเลย และมีเพียง link
 เพื่อใชเชื่อมโยงบทเรียน online
เพียงแค 2-3 link แลวก็เรียกสิ่งที่แสดงนั้นวา
 บทเรียน
คุณเคยรูหรือไม วิดีโอ YouTube ของผูสอนที่ใช
 เขียนในกระดานจากดานหลังหอง
รายวิชาการในมหาวิทยาลัย หรือบทเรียนฝกอบรม
 เทคนิคที่ใชขอสอบแบบตัวเลือก
หากเปนนักออกแบบการเรียนการสอนสวนใหญจะ
 ตอบวา “ใช”
มหาวิทยาลัยแบบเดิม ๆ และศูนยการฝกอบรมตาม
 ทองถิ่น ไมสามารถแขงขันกับคูแขงในอุตสาหกรรม
 เอกชนในรูปแบบของการหวังผลกําไรได
การจัดการขอมูลและกระบวนการดําเนินงาน
 กลายเปนสิ่งจําเปนในการผลิตหรือการออกแบบการ
 เรียนการสอน
นักออกแบบการเรียนการสอนตอง
ประสบกับวิกฤต
เหตุผล เชน หลักสูตรบัณฑิตศึกษา มีความตองการที่จะ
 สอนในเนื้อหาคลายกัน แตมีหลายชื่อ เชน
 การออกแบบการเรียนการสอนและการพัฒนา,
 ระบบการเรียนการสอน, เทคโนโลยีการเรียนการสอน,
 จิตวิทยาการสอน, เทคโนโลยีการศึกษา, เทคโนโลยีการ
 เรียนรู และอื่น ๆ อีกมากมาย
ซึ่งคําศัพทที่กลาวมา ลวนแตเขาใจวา คือ “เทคโนโลยี
 และการออกแบบการเรียนการสอน”
นอกจากนี้ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ยังมุงออกแบบ
 การเรียนการสอนจากพื้นฐานทางวิทยาศาสตร ซึ่ง
 เนนไปในสวนของ การรับรูทางวิทยาศาสตร การ
 เรียนรูทางวิทยาลัยศาสตร และการพัฒนาองคกร
Boiling & Smith ไดมีการโตเถียงวา การออกแบบ
 การเรียนการสอนไมใชวิทยาศาสตรและไม
 จําเปนตองใชกฎทางวิทยาศาสตรมาใช
การออกแบบการเรียนการสอนที่เปนหลักการ
 ออกแบบดั้งเดิมของเราเองและเปนการออกแบบบน
 พื้นฐานของหลักและกระบวนการทางวิทยาศาสตร
ทําไมหลักสูตรการออกแบบการเรียนการสอนจึงมี
 การฝกอบรมในหลักสูตรบัณฑิตศึกษาและทําไมไมมี
 ในหลักสูตรอุดมศึกษา
อธิบายแนวคิดของ “The Guild” และ “The
 Marketplace”
วา The Marketplace ตองการ นักบริการทางการ
 ออกแบบการเรียนการสอน ในสายงานอยาง
 e-learning
และในขณะ “The Guild” (คือ ตัวแทนสมาชิกในการ
 ออกแบบการเรียนการสอนที่มหาวิทยาลัย) ตองการการ
 บริการที่มีคุณคาเทาที่เปนไปได
ยิ่งมีระบบการเรียนการสอน e-learning ที่ซับซอนมาก
 ขึ้นเทาไหร ก็จะยิ่งมีระดับสิ่งที่คาดไมถึงเกิดขึ้นมากขึ้น
 เทานั้น
องคกรควรจะตองชวยนักออกแบบการเรียนการสอนให
 มีพื้นฐานทฤษฎีที่ดี
นักออกแบบการเรียนการสอนเองก็ตองมีความเขาใจใน
 การใชเทคโนโลยีเปนอยางดี
สรุปหลักการที่สําคัญ
1. E-learning ไดกลายเปนคํากวางๆที่ครอบคลุมการ
 เรียนรูที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีทั้งหมด
ความแตกตาง เชน การเรียนรูแบบผสม (hybrid), การ
 เรียนรูแบบผสมผสาน (blended), และการศึกษา
 ทางไกล (distance learning) เกี่ยวของโดยสวนใหญ
 จากความกาวหนาในเทคโนโลยี ไมใชแคความพลังของ
 มันเทานั้น แตเปนการงายตอการใชงานดวย
สรุปหลักการที่สําคัญ
2. E-learning เปนลักษณะของสองปรากฏการณ :
(a) สถาปตยกรรมการทํางาน มีการรวมกันทํางาน
 หรือ หนวยหรือองคประกอบที่การทํางานแบบ
 โตตอบ และ
(b) เทคนิคที่ใชเทคโนโลยีที่ออกแบบหรือเลือกการ
 เขาถึงผลการเรียนรู
สรุปหลักการที่สําคัญ
3. มุงเนนสงเสริมผลลัพธของสวนประกอบการเรียนรู
 แบบงาย แบบบูรณาการ และกลาวย้ําวิธีการวิเคราะห
 และการประเมินการเรียนรู ที่จะชวยใหคําแนะนําการใช
 สื่อ, แพลตฟอรม, สถานที่, และเวลา
 ในขณะที่มันเปนสิ่งสําคัญมากในการวิเคราะหผลการ
 เรียนรูของการเรียนรูที่เจตนาและไมเจตนา ซึ่งเทคนิค
 การวิเคราะหการเรียนการสอนแบบดั้งเดิมดูเหมือนจะ
 ยุงยาก
สรุปหลักการที่สําคัญ
4. ไมแตสื่อหรือวิธีการ (การสง, การสราง หรือ
 เกิดขึ้นระหวางการ) มีอิทธิพลตอการเรียนรูในระยะ
 ยาว กับสภาพแวดลอม e-learning ถูกออกแบบมา
 อยางดี การออกแบบการเรียนการสอน เหมือนกับ
 การออกแบบโดยทั่วไป ที่ตองใชขั้นตอนของการ
 ออกแบบ
สรุปหลักการที่สําคัญ
5. การสรางมาตรฐานรูปแบบผูเชี่ยวชาญ หรือ การ
 รับรองการออกแบบการเรียนการสอน และ e-
 learning สามารถเสริมสรางความสามารถ วินัยและให
 ความนาเชื่อถือที่เพิ่มขึ้น,
เราคาดการณการเติบโตของโปรแกรมการสอนวิชาการ
 ออกแบบการสอนทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับ
 ประกาศนียบัตร ที่จะตองมีการสนับสนุนมากยิ่งขึ้นเพื่อ
 รักษาความรักษาความมั่นคงของสาขาการสอนของเรา
ขอบคุณคะ/ครับ

More Related Content

What's hot

บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
janepi49
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
sinarack
 

What's hot (11)

Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 1
การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 1การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 1
การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ชุดที่ 1
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Mindmap1
Mindmap1Mindmap1
Mindmap1
 
Ugp new role610507
Ugp new role610507Ugp new role610507
Ugp new role610507
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 

Similar to 10 chapter29-e-learning and instructional design

หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอน
Krookhuean Moonwan
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
Changnoi Etc
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
pui003
 
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
Wilaiporn7
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
decnun
 
สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6
Tanatchapan Jakmanee
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
Changnoi Etc
 

Similar to 10 chapter29-e-learning and instructional design (20)

Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอน
 
2
22
2
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
E Learning Concept El Yru
E Learning Concept El YruE Learning Concept El Yru
E Learning Concept El Yru
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
 
E learning
E learningE learning
E learning
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
 

More from KruBeeKa

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
KruBeeKa
 

More from KruBeeKa (19)

Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning12 chapter33-games … and … learning
12 chapter33-games … and … learning
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models08 chapter2-characteristics of instructional design models
08 chapter2-characteristics of instructional design models
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
 

10 chapter29-e-learning and instructional design