SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ 1
รหัสวิชา ว40285                            รายวิชา วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม                        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6ชื่อ
หน่วย ความหลากหลายทางชีวภาพ                                                                   เวลา 5 ชั่วโมง 100
คะแนน
รายวิชาที่นามาบูรณาการ                ท 43101 , ท 43102 , ง 43101 , ง 43101
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. มาตรฐานการเรียนรู้
      ว 1.2 มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 4 ข้อ 1 : สืบค้นข้อมูล อภิปรายและอธิบายกระบวนการ
ถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน และการเกิดความหลากหลายทาง
ชีวภาพ
       ว 8.1 มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 4 ข้อ 5 : เก็บรวบรวมข้อมูลและบันทึกการสารวจตรวจสอบ
อย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความ
เหมาะสม หรือความผิดพลาดของข้อมูล
       ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ
เขียนรายงานข้อมูลสาระสนเทศและรายงานศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
2. สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
              2.1 สาระแกนกลาง
                   2.1.1 สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
                   2.1.2 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
              2.2 สาระท้องถิ่น สิ่งมีชีวิตที่พบในท้องถิ่น
3. สาระสาคัญ
              3.1 ความคิดรวบยอด/หลักการ
                    โลกของเรามีระบบนิเวศที่มีลักษณะแตกต่างกันตั้งแต่ใต้ทะเลลึกจนถึงยอดเขาสูง กล่าวได้
ว่าโลกของเรามีความหลากหลายของนิเวศวิทยา ระบบนิเวศแต่ละแห่งมีความแตกต่างกันของชนิดและ
จานวนของสิ่งมีชีวิต รวมไปถึงลักษณะและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่อยู่ร่วมกัน เมื่อพิจารณาชนิด
ของสิ่งมีชีวิตทั้งหลายบนโลก จะพบว่ามีสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ มากมายมหาศาล คาดคะเนว่ามีราว 10-50 ล้าน
ชนิด นับเป็นความหลากหลายของสปีชีส์ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่เราสังเกตเห็น สะท้อนถึงการมี
ลักษณะทางพันธุกรรมเฉพาะที่แตกต่างกัน แม้กระทั่งประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ก็มีความ
หลากหลายทางพันธุกรรมที่ทาให้สิ่งมีชีวิตบางกลุ่มอยู่รอดได้ แม้สิ่งแวดล้อมจะเปลี่ยนแปลงไป
              3.2 ทักษะ/กระบวนการ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การ
อธิบาย การสารวจ กระบวนการทางานร่วมกัน ทักษะการเก็บรวบรวมข้อมูล ทักษะกระบวนการคิด (การ
วิเคราะห์ การสังเคราะห์ การแก้ปัญหา การวางแผน) ทักษะการนาเสนอ
3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์
4. ชุดคาถามที่สาคัญ
               4.1 เราจะรู้จักสิ่งมีชีวิตที่อยู่รอบตัวเราได้อย่างไร
               4.2 สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตเป็นอย่างไร
               4.3 สิ่งมีชีวิตมีความหลากหลายและจาแนกเป็นกลุ่มย่อยได้อย่างไร
               4.4 เราจะรวบรวบและสรุปรายชื่อสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอาณาจักรต่าง ๆ ด้วยวิธีใด
5. หลักฐาน/ผลงาน/การปฏิบัติงานรวบยอด
               โครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ
               นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต และได้รับมอบหมายให้ศึกษา
สิ่งมีชีวิตในท้องถินของนักเรียนโดยการทาโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ ผลงาน
                   ่
ของนักเรียนจะนามาเสนอต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน โดยมีเพื่อนและครูเป็นผู้ประเมินโครงงาน
ของนักเรียน ต้องลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนการดาเนินโครงงานเชิงสารวจให้ได้รายละเอียด
ของสิ่งมีชีวิตนามาจัดเป็นกลุ่มต่าง ๆ โดยมีข้อมูลสนับสนุนอย่างเต็มที่ มีความชัดเจนและสมบูรณ์ครบถ้วน
6. แนวทางการให้คะแนน โครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจประเมินโดยใช้เกณฑ์ ดังนี้
ประเมินโดยใช้เกณฑ์ดังนี้ (40 คะแนน)
 ประเด็นการ                                   ระดับคุณภาพ
                                                                                    น้าหนัก    รวม
    ประเมิน              4                  3               2           1
1. การใช้     สะกดคา เขียน     สะกดคา          สะกดคา เขียน    สะกดคาผิด          3
ภาษา          สื่อความหมาย     เขียน สื่อ      สื่อความหมาย    ส่วนมากเขียน
              ได้ถูกต้อง       ความหมาย        ได้ถูกต้อง      สื่อความหมาย
              ครบถ้วน          ได้ถูกต้อง      ครบถ้วนชัดเจน   ไม่ชัดเจน
              ชัดเจน ตรง       ครบถ้วนชัดเจน   บางส่วน         ไม่ตรงประเด็น
              ประเด็น          ส่วนใหญ่
แนวทางการให้คะแนน โครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ (ต่อ)
 ประเด็นการ                         ระดับคุณภาพ
                                                                            น้าหนัก   รวม
   ประเมิน         4              3              2                1
2. ทักษะ -มีทักษะ          -มีทักษะ       -มีทักษะ         -มีทักษะ           3
            การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา         การตั้งปัญหา
กระบวนการ ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน           ตั้งสมมติฐาน
            การออกแบบ การออกแบบ การออกแบบ                  การออกแบบ
            การทดลอง       การทดลอง การทดลอง               การทดลอง
            ดาเนินการ      ดาเนินการ ดาเนินการ             ดาเนินการ
            ทดลอง          ทดลอง          ทดลอง            ทดลอง
            การบันทึกผล การบันทึกผล การบันทึกผล             การบันทึกผล
            การทดลองและ การทดลอง การทดลองและ               การทดลองและ
            สรุปผลการ      และสรุปผล สรุปผลการ               สรุปผลการ
            ทดลอง ได้      การทดลอง ทดลอง ได้                 ทดลอง ไม่
            ถูกต้องครบถ้วน ได้ถูกต้อง     ถูกต้องบางส่วน    ถูกต้องและไม่
            สมบูรณ์        ครบถ้วน แต่                         ครบถ้วน
                           ไม่สมบูรณ์
3. รายงาน -การเขียน        -การเขียน -การเขียน             -การเขียน          2
   โครงงาน รายงานมี        รายงานมี       รายงานมี         รายงานมี
            องค์ประกอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบ               องค์ประกอบ
            ครบถ้วน        ครบถ้วน        ครบถ้วน          ครบถ้วน
            มีความ         มีความ         มีความ           มีความ
            สอดคล้องกัน สอดคล้องกัน สอดคล้องกัน            สอดคล้องกัน
            และการ         และการ         และการ           และการ
            เรียงลาดับได้ เรียงลาดับได้ เรียงลาดับได้      เรียงลาดับได้
            ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็น ถูกต้องเป็น         ไม่ถูกต้อง
                           ส่วนใหญ่       บางส่วน

4. การ         -นาเสนอได้    -นาเสนอได้   -นาเสนอได้       -นาเสนอได้         2
นาเสนอ         ถูกต้อง       ถูกต้อง      ถูกต้อง          ถูกต้อง
   โครงงาน     ตามลาดับ      ตามลาดับ     ตามลาดับ         ตามลาดับ
 วิทยาศาสตร์   ขั้นตอน       ขั้นตอน      ขั้นตอน          ขั้นตอน
ประเด็นการ                          ระดับคุณภาพ
                                                                             น้าหนัก   รวม
   ประเมิน         4               3              2                1
2. ทักษะ -มีทักษะ           -มีทักษะ       -มีทักษะ         -มีทักษะ           3
            การตั้งปัญหา    การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา       การตั้งปัญหา
กระบวนการ ตั้งสมมติฐาน      ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน       ตั้งสมมติฐาน
            การออกแบบ       การออกแบบ การออกแบบ             การออกแบบ
            การทดลอง        การทดลอง การทดลอง               การทดลอง
            ดาเนินการ       ดาเนินการ ดาเนินการ             ดาเนินการ
            ทดลอง           ทดลอง          ทดลอง            ทดลอง
            การบันทึกผล     การบันทึกผล การบันทึกผล          การบันทึกผล
            การทดลองและ     การทดลอง การทดลองและ            การทดลองและ
            สรุปผลการ       และสรุปผล สรุปผลการ               สรุปผลการ
            ทดลอง ได้       การทดลอง ทดลอง ได้                 ทดลอง ไม่
            ถูกต้องครบถ้วน  ได้ถูกต้อง     ถูกต้องบางส่วน    ถูกต้องและไม่
            สมบูรณ์         ครบถ้วน แต่                         ครบถ้วน
                            ไม่สมบูรณ์
             บรรยาย         บรรยาย         บรรยาย           บรรยาย
             เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ            เปรียบเทียบ
             ตอบคาถามได้ ตอบคาถาม ตอบคาถามได้               ตอบคาถามไม่
             ถูกต้องครบถ้วน ได้ถูกต้อง ถูกต้องครบถ้วน       ถูกต้อง
             ชัดเจน         ครบถ้วน        ชัดเจนเป็น
                            ชัดเจน เป็น บางส่วน
                            ส่วนใหญ่

เกณฑ์การให้คะแนน (การคิดคะแนนนาคะแนนที่ได้มาหารด้วย 10)
0.00– 16.00            คะแนน          ปรับปรุง 26.00 – 33.00 คะแนน            ดี
17.00 – 25.00 คะแนน           พอใช้            34.00 – 40.00 คะแนน            ดีมาก
เกณฑ์การประเมินตัดสิน
ได้คะแนนตั้งแต่ 26.00 (ระดับคุณภาพดี) ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
7. แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล สื่อ/แหล่งเรียนรู้
       7.1 แนวทางการเขียนแผนการจัดเรียนรู้ที่ 1 การกระตุ้นความสนใจ เวลา 1 ชั่วโมง 10
คะแนน
             7.1.1 เป้าหมายการเรียนรู้
                       สารวจ และบันทึกข้อมูลของสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความรู้พื้นฐาน และความเข้าใจ
ทางวิทยาศาสตร์
              7.1.2 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ
                    แบบฝึกการตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจในใบงานที่ 1.1 (10 คะแนน)
          7.1.3 วิธีการตรวจให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
                   ประเมินการตั้งชื่อเรื่องและการออกแบบการสารวจ โดยใช้รูบริค (Rubrics)
              7.1.4 กิจกรรมการเรียนรู้
                     1) นักเรียนศึกษาภาพระบบนิเวศในทะเลจากหนังสือเรียนชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับ
กระบวนการดารงชีวิต อภิปรายถึงสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระบบนิเวศนั้น รวมถึงระบบนิเวศในโรงเรียน
               2) นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน แบ่งหน้าที่กันทางาน แต่ละกลุ่มฝึกตั้งชื่อเรื่องที่
นาไปสู่การสารวจสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ และฝึกออกแบบการสารวจสิ่งมีชีวิต ตามใบงานที่ 1.1 เรื่อง แบบ
ฝึกการตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจ
                    3) นักเรียนสรุปร่วมกันเกี่ยวกับวิธีการตั้งชื่อและการออกแบบการสารวจสิ่งมีชีวิต
              7.1.5 สือ/แหล่งเรียนรู้
                        ่
                       1) หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการ
ดารงชีวิต หน้า 145
                    2) ใบงานที่ 1.1 แบบฝึกการตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจ
    7.2 กิจกรรมแผนการเรียนรู้ที่ 2 เวลา 2 ชั่วโมง 30 คะแนน
          7.2.1 เป้าหมายการเรียนรู้
               สืบค้นข้อมูล และอธิบายความหมายของสปีชีส์ ความหลากหลายของสปีชีส์ และกลไกการเกิดส
ปีส์ใหม่
          7.2.2 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ
                    - แบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูลใบงาน
ที่ 2.1 (10 คะแนน)
               - เค้าโครงของโครงงาน (20 คะแนน)
         7.2.3 วิธีการตรวจให้คะแนน
                    1) ประเมินแบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้รูบริค (Rubrics)
               2) ฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล และเค้าโครงของโครงงาน โดยใช้รูบริค (Rubrics)
             7.2.4 กิจกรรมการเรียนรู้
1) นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้า สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสปีชีส์ของสิงมีชีวิตจาก ใบความรู้ที่
                                                                                       ่
2.1 เรื่อง สปีชส์ของสิ่งมีชีวิต จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิงมีชีวิตกับกระบวนการ
               ี                                                                           ่
ดารงชีวิต และ www.ipst.ac.th
                   2) นักเรียนนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าหน้าชั้นเรียน อภิปรายและอธิบายร่วมกัน
                   3) นักเรียนฝึกเก็บรวบรวมข้อมูลของชนิดและตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่พบในระบบนิเวศภายใน
โรงเรียน และฝึกจัดกระทากับข้อมูล วิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล ในใบงานที่ 2.1 เรื่อง แบบฝึกการเก็บ
รวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล
               4) นักเรียนสรุปร่วมกันเกี่ยวกับความหมายของสปีชีส์ ความหลากหลายของสปีชีส์ และกลไก
การเกิดสปีส์ใหม่
               5) นักเรียนร่วมกันศึกษาจากใบความรู้ที่ 2.2 เรื่อง การเขียนเค้าโครงของโครงงานและฝึก
เขียนเค้าโครงของโครงงาน ในใบงานที่ 2.2 การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
            7.2.5 สือ/แหล่งเรียนรู้
                     ่
                     1) หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการ
ดารงชีวิต หน้า 146-151
                 2) ใบความรู้ที่ 2.1 สปีชีสของสิ่งมีชีวิต
                                             ์
                 3) ใบความรู้ที่ 2.2 เรื่อง การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
                 4) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง แบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจาก
ข้อมูล
                 5) ใบงานที่ 2.2 การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
                 6) www.ipst.ac.th
 7.3 กิจกรรมแผนการเรียนรู้ที่ 3 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต เวลา 2 ชั่วโมง 30 คะแนน
            7.3.1 เป้าหมายการเรียนรู้
                    สืบค้นข้อมูล สารวจ อธิบายและสรุปความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
            7.3.2 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ
                    1) ผังมโนทัศน์ของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรต่าง ๆ

             7.3.3 วิธีการตรวจให้คะแนน
                    1) ประเมินผังมโนทัศน์ของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรต่าง ๆ โดยใช้รูบริค (Rubrics)
                 2) ประเมิน                                         โดยใช้รูบริค (Rubrics)
            7.3.4 กิจกรรมการเรียนรู้
                    1 นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต หน้า 151-156 และศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหลากหลายของ
สิ่งมีชีวิต และจาก www.ipst.ac.th
2. นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
         3. นักเรียนฝึกการเขียนผังมโนทัศน์ เรื่อง ของสิ่งมีชีวิตในอนาจักรต่างๆ
         4. อภิปรายสรุปร่วมกันเกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
         5. นักเรียนดาเนินการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจเกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ภายในโรงเรียน
        7.3.5 สือ/หล่งเรียนรู้
                 ่
         1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
หน้า 151-156
         2. ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
            3. www.ipst.ac.th
7.4 กิจกรรมแผนการเรียนรู้ที่ 4 การประเมินผลรวบยอดประจาหน่วยการเรียนรู้ เวลา 3 ชัวโมง 30 ่
คะแนน
              7.4.1 เป้าหมายการเรียนรู้
                   - รวบรวม สรุปและนาเสนอความหลากหลายสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอาณาจักรต่าง ๆ โดยใช้
โครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ
              7.4.2 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ
                      - โครงงานงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ (40 คะแนน)
              7.4.3 วิธีการตรวจให้คะแนน
                     1) โครงงานงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ ประเมินโดยใช้เกณฑ์ดังนี้ (40 คะแนน)

 ประเด็นการ                                         ระดับคุณภาพ
                                                                                                               น้าหนัก   รวม
  ประเมิน                   4                     3            2                                1
1. การใช้ภาษา    สะกดคา เขียนสื่อ      สะกดคา เขียน สื่อ สะกดคา เขียน สื่อ      สะกดคาผิดส่วนมากเขียน            3
                 ความหมายได้ถูกต้อง    ความหมายได้ถูกต้อง ความหมายได้ถูกต้อง    สื่อความหมายไม่ชัดเจน
                 ครบถ้วน ชัดเจน ตรง    ครบถ้วนชัดเจน      ครบถ้วนชัดเจน บางส่วน ไม่ตรงประเด็น
                 ประเด็น               ส่วนใหญ่



2.   ทักษะ       -มีทักษะ              -มีทักษะ                -มีทักษะ              -มีทักษะ                    3
     กระบวนการ   การตั้งปัญหา          การตั้งปัญหา            การตั้งปัญหา          การตั้งปัญหา
                 ตั้งสมมติฐาน          ตั้งสมมติฐาน            ตั้งสมมติฐาน          ตั้งสมมติฐาน
                 การออกแบบ             การออกแบบ               การออกแบบ             การออกแบบ
                 การทดลอง              การทดลอง                การทดลอง              การทดลอง
                 ดาเนินการทดลอง        ดาเนินการทดลอง          ดาเนินการทดลอง        ดาเนินการทดลอง
                 การบันทึกผลการทดลอง   การบันทึกผลการ          การบันทึกผลการทดลอง
                                                                                     การบันทึกผลการทดลอง
                 และสรุปผลการทดลอง     ทดลองและสรุปผล          และสรุปผลการทดลอง
                                                                                      และสรุปผลการทดลอง
                 ได้ถูกต้องครบถ้วน     การทดลอง ได้ถูกต้อง     ได้ถูกต้องบางส่วน
                                                                                     ไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน
                 สมบูรณ์               ครบถ้วน แต่ไม่สมบูรณ์
แนวทางการให้คะแนน โครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ (ต่อ)

 ประเด็นการ                             ระดับคุณภาพ
                                                                               น้าหนัก   รวม
   ประเมิน         4                  3              2                 1
3. รายงาน -การเขียน             -การเขียน -การเขียน            -การเขียน         2
   โครงงาน รายงานมี             รายงานมี      รายงานมี         รายงานมี
            องค์ประกอบ          องค์ประกอบ องค์ประกอบ          องค์ประกอบ
            ครบถ้วน             ครบถ้วน       ครบถ้วน          ครบถ้วน
            มีความ              มีความ        มีความ           มีความ
            สอดคล้องกัน         สอดคล้องกัน สอดคล้องกัน        สอดคล้องกัน
            และการ              และการ        และการ           และการ
            เรียงลาดับได้       เรียงลาดับได้ เรียงลาดับได้    เรียงลาดับได้
            ถูกต้องครบถ้วน      ถูกต้องเป็น ถูกต้องเป็น        ไม่ถูกต้อง
                                ส่วนใหญ่      บางส่วน

4. การ         -นาเสนอได้       -นาเสนอได้    -นาเสนอได้       -นาเสนอได้        2
   นาเสนอ      ถูกต้อง          ถูกต้อง       ถูกต้อง          ถูกต้อง
  โครงงาน      ตามลาดับ         ตามลาดับ      ตามลาดับ         ตามลาดับ
 วิทยาศาสตร์   ขั้นตอน          ขั้นตอน       ขั้นตอน          ขั้นตอน
               บรรยาย           บรรยาย        บรรยาย           บรรยาย
               เปรียบเทียบ      เปรียบเทียบ   เปรียบเทียบ      เปรียบเทียบ
               ตอบคาถามได้      ตอบคาถาม      ตอบคาถามได้      ตอบคาถามไม่
               ถูกต้องครบถ้วน   ได้ถูกต้อง    ถูกต้องครบถ้วน   ถูกต้อง
               ชัดเจน           ครบถ้วน       ชัดเจนเป็น
                                ชัดเจน เป็น   บางส่วน
                                ส่วนใหญ่

เกณฑ์การให้คะแนน (การคิดคะแนนนาคะแนนที่ได้มาหารด้วย 10)
0.00– 16.00            คะแนน          ปรับปรุง 26.00 – 33.00 คะแนน              ดี
17.00 – 25.00 คะแนน           พอใช้            34.00 – 40.00 คะแนน              ดีมาก
เกณฑ์การประเมินตัดสิน
ได้คะแนนตั้งแต่ 26.00 (ระดับคุณภาพดี) ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
7.4.4 กิจกรรมการเรียนรู้
                       1. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจเกี่ยวกับความหลากหลาย
ของสิ่งมีชีวิตในชั้นเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
                       2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
                       3. ทดสอบรวบยอดประจาหน่วยการเรียนรู้
             7.4.5 สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
                   หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
         หน้า 145-156
8. แผนการจัดการเรียนรู้
                                                แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง การกระตุ้นความสนใจ                                                                     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เวลา 1 ชั่วโมง                                                                                 10 คะแนน
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. เป้าหมายการเรียนรู้
         สารวจ และบันทึกข้อมูลของสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความรู้พื้นฐาน และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์

2. สาระสาคัญ
          การสารวจข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ต้องมีความละเอียดรอบคอบ บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบ
ถูกต้อง และครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ

3. สาระการเรียนรู้
         การสารวจและบันทึกข้อมูลของสิ่งมีชีวิต

4. หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ
         - แบบฝึกการตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจในใบงานที่ 1.1

5. แนวทางการตรวจให้คะแนน
               การตั้งชื่อเรื่องและออกแบบการสารวจ ประเมินโดยใช้เกณฑ์การประเมิน(10 คะแนน)
 ประเด็นการ                               ระดับคุณภาพ
                                                                                    น้าหนัก รวม
  ประเมิน               4               3               2                1
1. การตั้ง - ตั้งชื่อเรื่องมี - ตั้งชื่อเรื่อง - ตั้งชื่อเรื่อง - ตั้งชื่อเรื่องไม่    5
     ชื่อเรื่อง แนวทางการ มีแนว                 มีแนวทางการ มีแนวทางการ
                นาไปสู่การ        ทางการ        นาไปสู่การ      นาไปสู่การ
                สารวจชัดเจน นาไปสู่การ สารวจชัดเจน สารวจชัดเจน
                ถูกต้อง           สารวจชัดเจน
                ครบถ้วน           ถูกต้อง

2. การ     - มีวิธีการ                - มีวิธีการ - มีวิธีการ               -มีวิธีการ                 5
    ออกแบบ สารวจข้อมูล                สารวจข้อมูล สารวจข้อมูล               สารวจข้อมูล
   การ     และออกแบบ                  และ         และออกแบบ                 และออกแบบ
ประเด็นการ                                 ระดับคุณภาพ
                                                                                    น้าหนัก        รวม
  ประเมิน             4                 3               2                  1
     สารวจ ตารางบันทึก           ออกแบบ           ตารางบันทึก    ตารางบันทึก
            ผลได้เหมาะสม         ตารางบันทึก ผลได้เหมาะสม        ผลได้เหมาะสม
            สอดคล้องกับ          ผลได้            สอดคล้องกับ    สอดคล้องกับ
            ชื่อเรื่อง เกิน      เหมาะสม ชื่อเรื่อง 50-          ชื่อเรื่อง ต่า
            กว่า 80 %            สอดคล้อง 60 %                   กว่า 50 %
                                 กับชื่อเรื่อง
                                 60-79 %


เกณฑ์การให้คะแนน (การคิดคะแนนนาคะแนนรวมได้มาหารด้วย 4)
01.00– 03.00 คะแนน            ปรับปรุง 07.00 – 08.00 คะแนน         ดี
05.00 – 6.00 คะแนน                     พอใช้          09.00 – 10.00 คะแนน                     ดีมาก
เกณฑ์การประเมินตัดสิน
ได้คะแนนตั้งแต่ 05.00 (ระดับคุณภาพพอใช้) ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์

6. กิจกรรมการเรียนรู้
       6.1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
                 นักเรียนศึกษาภาพระบบนิเวศในทะเลจากหนังสือเรียนชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับ
กระบวนการดารงชีวิต หน้า 145 อภิปรายถึงสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระบบนิเวศนั้น รวมถึงระบบนิเวศในโรงเรียน
       6.2 ขั้นกิจกรรม
               6.2.1 แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 9-12 กลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน และแบ่งหน้าที่กันทางานดังนี้
1) ประธานกลุ่ม
                     2) เลขานุการ
                     3) กรรมการกลุ่ม
             6.2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มฝึกตั้งชื่อเรื่องที่นาไปสู่การสารวจสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศภายในโรงเรียน
                6.2.3 นักเรียนฝึกออกแบบการสารวจสิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียน ตามใบงานที่ 1 เรื่อง แบบฝึกการ
ตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจ และออกแบบตารางบันทึกผลข้อมูลที่ได้จากการสารวจ
       6.3 ขั้นสรุป
                นักเรียนและครูอธิบาย และสรุปร่วมกันเกี่ยวกับการตั้งชื่อเรื่องที่นาไปสู่การสารวจสิ่งมีชีวิตใน
ระบบนิเวศภายในโรงเรียนและการออกแบบการสารวจสิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียน และออกแบบตารางบันทึกผล
ข้อมูลที่ได้จากการสารวจ
7. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
   1. หนังสือเรียนชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต หน้า 145
   2. ใบงานที่ 1 เรื่อง แบบฝึกการตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจ

8. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
                               และกระตือรือร้นที่จะลงสารวจสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในระบบนิเวศภายในโรงเรียน
นักเรียนจัดกระทาข้อมูลยังไม่เป็นระบบ จึงจัดให้มีการอภิปรายร่วมกันในการวางแผนการจัดกระทากับข้อมูล
และบันทึกข้อมูลอย่างมีระบบ

   ข้อเสนอแนะ
       ควรมีตัวอย่างข้อมูลในสถานการณ์หลาย ๆ แบบ เพื่อให้นักเรียนฝึกจัดกระทากับข้อมูล
ใบงานที่ 1.1
รายวิชา ว 40285 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม                                                                                               แผนการจัดการ
เรียนรู้ที่ 1
                    เรื่อง แบบฝึกการตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจ
………………………………………………………………………………………………………
คาสั่ง ให้นักเรียนตั้งชื่อเรื่องและออกแบบการสารวจ

1. ชื่อเรื่อง........................................................................................................................................... สถานที่
ออกสารวจ........................................................................................................................ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้
ในการสารวจ




4. วิธีการสารวจ




5. ตารางบันทึกผลการสารวจ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
เรื่อง สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต                                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที 6
เวลา 2 ชั่วโมง                                                                                             30 คะแนน
       --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. เป้าหมายการเรียนรู้
         สืบค้นข้อมูล และอธิบายความหมายของสปีชีส์ ความหลากหลายของสปีชีส์ และกลไกการเกิดสปีส์
ใหม่

2. สาระสาคัญ (concept/ทักษะ/กระบวนการ)
             สิ่งมีชีวิตมีความแตกต่างหลากหลาย จึงมีการจัดแบ่งออกเป็นกลุ่ม ๆ เพื่อความสะดวกในการศึกษา
โดยในแต่ละกลุ่มก็มีการจัดกลุ่มย่อยที่เล็กลงไปอีก กลุ่มย่อยพื้นฐานที่สุดในระบบจาแนกสิ่งมีชีวิตเรียกว่า สปี
ชีส์
             สปีชีส์ คือกลุ่มประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ผสมพันธุ์กันแล้วได้ลูกหลานสืบทอดต่อไป แม้
สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันจะมีลักษณะเฉพาะที่ต่างไปจากสปีชีส์อื่น แต่ความหลากหลายภายในสปีชีส์เดียวกันก็
ยังมีอยู่
             เมื่อสิ่งมีชีวิตมีการผสมพันธุ์เฉพาะภายในกลุ่ม กลุ่มประชากรแต่ละกลุ่มนี้มีสิ่งแวดล้อม ทาง
กายภาพและชีวภาพที่แตกต่างกัน การคัดเลือกตามธรรมชาติจะนาพาให้ลักษณะพันธุกรรมของประชากรใน
กลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มแตกต่างกันไปทุกทีจนกลายเป็นสปีชีส์ใหม่
3. สาระการเรียนรู้
      3.1 ความหมายของสปีชีส์
      3.2 ความหลาหหลายของสปีชีส์
      3.3 กลไกการเกิดสปีชีส์ใหม่

4. หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ
   4.1 แบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล
   4.2 ผลการทดสอบ
5. แนวทางการตรวจให้คะแนน
      5.1 ประเมินการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูลในใบงานที่ 2.1
ประเมินโดยใช้เกณฑ์ดังนี้ (10 คะแนน)
                             รายการประเมิน                               ระดับคุณภาพ
นักเรียนบันทึกข้อมูลจากการสารวจได้และนาผลข้อมูลมาวิเคราะห์มาสรุปผลได้ไม่
                                                                              4
สอดคล้องจากข้อมูล
นักเรียนบันทึกข้อมูลจากการสารวจได้และนาผลข้อมูลมาวิเคราะห์ได้สอดคล้อง
                                                                              3
จากข้อมูล และสามารถนาผลวิเคราะห์มาสรุปผลได้เป็นบางส่วน
นักเรียนบันทึกข้อมูลจากการสารวจและนาผลข้อมูลมาวิเคราะห์ให้สอดคล้องจาก
                                                                              2
ข้อมูล และสามารถนาผลวิเคราะห์มาสรุปผลได้อย่างถูกต้อง
นักเรียนบันทึกข้อมูลจากการสารวจและนาผลข้อมูลมาวิเคราะห์ให้สอดคล้องจาก
                                                                              1
ข้อมูล และสามารถนาผลวิเคราะห์มาสรุปผลได้อย่างถูกต้องครบถ้วน

เกณฑ์การให้คะแนน (การคิดคะแนนนาระดับคุณภาพที่ได้มาคูณด้วย 10 แล้วหารด้วย 4)
01.00– 03.00 คะแนน            ปรับปรุง 07.00 – 08.00 คะแนน         ดี
05.00 – 6.00 คะแนน                     พอใช้          09.00 – 10.00 คะแนน                      ดีมาก
เกณฑ์การประเมินตัดสิน
ได้คะแนนตั้งแต่ 05.00 (ระดับคุณภาพพอใช้) ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
     5.2 เค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจและการดาเนินงานตามขั้นตอน
ประเมินโดยใช้เกณฑ์ดังนี้ (20 คะแนน)

                                 รายการประเมิน                                        ระดับคะแนน
- นักเรียนเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์ได้ครบองค์ประกอบของการเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์
                                                                                           4
  และมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้อย่างถูกต้องครบถ้วนและนาไป
  ดาเนินการได้อย่างถูกต้อง
- นักเรียนเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์ได้ครบองค์ประกอบของการเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์
                                                                                           3
  และมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้อย่างถูกต้องและนาไปดาเนินการได้
  อย่างถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
- นักเรียนเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์ได้ครบองค์ประกอบของการเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์           2
  และมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้เป็นบางส่วนและนาไปดาเนินการได้
- นักเรียนเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์ได้ครบองค์ประกอบของการเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์แต่        1
  ละส่วนไม่มีความสอดคล้องสัมพันธ์กันและไม่สามารถนาไปดาเนินการตามขั้นตอนได้

เกณฑ์การให้คะแนน (การคิดคะแนนนาระดับคุณภาพที่ได้คูณด้วย 5)
0.00– 06.00          คะแนน       ปรับปรุง 11.00 – 16.00 คะแนน                         ดี
07.00 – 10.00 คะแนน           พอใช้           17.00 – 20.00              คะแนน           ดีมาก
เกณฑ์การประเมินตัดสิน
ได้คะแนนตั้งแต่ 11.00 (ระดับคุณภาพดี) ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์

6. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
      5.1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
             นักเรียนและครูสนทนาเกี่ยวกับระบบนิเวศต่าง ๆ ในท้องถิ่น ยกตัวอย่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่พบในระบบ
นิเวศ และอภิปรายในประเด็นต่อไปนี้
                       - ระบบนิเวศแต่ละแห่งมีลักษณะเฉพาะทางกายภาพและชีวภาพที่เหมือนหรือแตกต่าง
กันอย่างไร
                       - สิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ที่อยู่ในแต่ละระบบนิเวศมีลักษณะที่เหมือนหรือแตกต่างกัน
อย่างไร
                       - สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีลักษณะที่เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
    6.2 ขั้นกิจกรรม
             6.2.1 ให้นักเรียนยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่นักเรียนรู้จัก จะเป็นสัตว์หรือพืชก็ได้ เช่น สุนัข เต่า แมว
นก กุหลาบ มะขามหวาน รวมทั้งให้ศึกษาตัวอย่างสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตจากภาพในหนังสือเรียนหน้า 146-149
และจากอินเตอร์เน็ต โดยเชื่อมโยงความรู้เรื่องการสืบพันธุ์กับลักษณะทางพันธุกรรมและนาการอภิปรายเพื่อ
ตอบคาถามดังต่อไปนี้
                     - สิ่งมีชีวตชนิดเดียวกัน เช่น สุนัขพันธุ์ต่าง ๆ จะผสมพันธุ์กันได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
                                ิ
 - สิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน เช่น ม้ากับลา แมวบ้านกับเสือโคร่ง ผสมพันธุ์กันได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
                  - อะไรคือปัจจัยที่ทาให้สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดดารงพันธุ์และสืบทอดลักษณะไปสู่ลูกหลานได้ไม่
สูญพันธุ์
                  - สาเหตุใดที่ทาให้เกิดสปีชีส์ใหม่
             6.2.2 นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้า สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต จากหนังสือเรียน
สาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต หน้า 146-150 และ
www.ipst.ac.th
               6.2.3 ให้นักเรียนศึกษาแผนภาพ 5.8 ในหนังสือเรียนหน้า 151 เพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับการ
เกิดสปีชีส์ใหม่
             6.2.4 นักเรียนนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าหน้าชั้นเรียน อภิปรายและอธิบายร่วมกัน
               6.2.5 นักเรียนฝึกเก็บรวบรวมข้อมูลของชนิดและตัวอย่างสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่พบใน
สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียน และฝึกจัดกระทากับข้อมูล วิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล ตาม
กิจกรรมใน ใบงานที่ 2.1 เรื่อง แบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล
             6.2.6 นักเรียนนาเสนอผลการสารวจสิ่งมีชีวิตที่พบในระบบนิเวศภายในโรงเรียนหน้า
ชั้นเรียน และอภิปรายเปรียบเทียบความคล้ายคลึงและความแตกต่างของสิ่งมีชีวิตในแต่ละระบบนิเวศ
           6.2.7 นักเรียนร่วมกันศึกษาใบความรู้ที่ 2.2 เรื่อง องค์ประกอบของโครงงานและ
การเขียนเค้าโครงของโครงงาน แล้วดาเนินการฝึกการเขียนเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ
เกียวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียนตามใบงานที่ 2.2 เรื่องการเขียน
   ่
เค้าโครงของโครงงาน

    6.3 ขั้นสรุป
           นักเรียนอภิปรายและสรุปร่วมกันเกี่ยวกับความหมายของสปีชีส์ ความหลากหลาย
ของสปีชีส์ และกลไกการเกิดสปีส์ใหม่

7. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
    7.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต หน้า
146-151
    7.2 ใบงานที่ 2.2 เรื่อง แบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล
   7.3. www.ipst.ac.th

8. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
                                                          พบภายในสวนพฤกศาสตร์ในโรงเรียน มีการจัด
กระทาข้อมูล และสรุปการสารวจได้

   สิ่งมีชีวิตในแต่ละระบบของสิ่งมีชีวิตได้เป็นอย่างดี
ใบความรู้ที่ 2.1
รายวิชา ว 40285 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม                                              แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
                                            เรื่อง สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
               สปีชีส์ หมายถึง กลุ่มของประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ผสมพันธุ์กันแล้วได้ลูกหลานสืบ
ทอดต่อไป (ไม่เป็นหมัน) เหตุที่สิ่งมีชีวิตในสปีชีส์เดียวกันสามารถผสมพันธุ์กันแล้ว ให้ลูกหลานที่สมารถสืบ
ทอดลักษณะของสปีชีส์ต่อไปได้ เป็นผลมาจากความคล้ายคลึงกันในระดับโครโมโซม เมื่อโครโมโซมในเซลล์
สืบพันธุ์ของพ่อและแม่สามารถเข้าคู่กันได้ จะทาให้มีข้อมูลทางพันธุกรรมครบถ้วนส่งผลต่อให้ชีวิตใหม่
เจริญเติบโตขึ้นได้
               สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์จะมีลักษณะเด่นเฉพาะซึ่งแตกต่างไปจากสปีชีส์อื่น สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกัน
ดาเนินชีวิตในแบบแผนเดียวกน เช่น พฤติกรรมการหาอาหาร หรือพฤติกรรมการสืบพันธุ์ ที่คล้ายคลึงกัน
เป็นต้น
               แม้สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์จะมีลักษณะเฉพาะที่ต่างไปจากสปีชีส์อื่น แต่ความหลากหลายภายในสปี
ชีส์เดียวกันก็ยังมีอยู่ เป็นต้นว่า ความแตกต่างระหว่างสายพันธุ์ ความแตกต่างระหว่างเพศผู้กับเพศเมีย หรือ
ความแตกต่างของลักษณะต่าง ๆ ระหว่างวัยที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่กับช่วงวัยที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้ว
               ความหลากหลายของสปีชีส์
               สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะภายนอกคล้ายคลึงกัน อาจมีความแตกต่างทางพฤติกรรม และทางพันธุกรรม
มากจนจัดเป็นสปีชีส์เดียวกันไม่ได้ เช่น นกจับแมลง 3 สปีส์ ที่ชาลส์ ดาร์วิน พบซึ่งมีความคล้ายคลึงกันมาก
แต่จะมีการผสมพันธุ์แยกเฉพาะในแต่ละสปีชีส์ การแลกเปลี่ยนยีนจึงเกิดเฉพาะในกลุ่ม ทั้งนี้เนื่องจากแต่ละสปี
ชีส์มีพฤติกรรมและเสียงร้องที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวในฤดูผสมพันธุ์
               โลกเรามีสิ่งมีชีวิตที่ได้รับการระบุสปีชีส์แล้วมากกว่า 1 ล้าน 5 แสนสปีชีส์ โดยสิ่งมีชีวิตกลุ่มที่มี
จานวนสปีชีส์มากที่สุดคือแมลง ซึ่งมีถึงประมาณ 750,000 สปีชีส์
               การเกิดสปีชีส์ใหม่
               เมื่อใดก็ตามที่สิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยๆ และมีการผสมพันธุ์เฉพาะภายในกลุ่ม กลุ่ม
ประชากรแต่ละกลุ่มนี้มีสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพที่แตกต่างกัน การคัดเลือกตามธรรมชาติจะนาพาให้
ลักษณะพันธุกรรมของประชากรในกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มแตกต่างกันไปทุกทีจนกลายเป็นสปีชีส์ใหม่ที่เมื่อกลับมา
รวมกันอีกครั้งก็ไม่ผสมพันธุ์กันหรือเมื่อผสมพันธุ์กันก็ได้ลูกที่เป็นหมันไม่สามารถสืบลูกหลานร่วมกันได้อีก
               สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันอาจไม่ผสมพันธุ์กัน มีสาเหตุหลายประการ เช่น มีสิ่งกีดขวางทาง
ภูมิศาสตร์ ซึ่งอาจเกิดจากแม่น้าเปลี่ยนทิศทางแบ่งประชากรออกเป็น 2 ส่วนที่ไม่อาจข้ามไปมาได้ หรือกรณี
การอพยพย้ายถิ่นโดยไม่กลับมาสืบพันธุ์กันในบริเวณเดิม
                     การที่สิ่งมีชีวิตไม่ผสมพันธุ์ข้ามกลุ่มกันยังอาจเป็นผลมาจากการแปรผันทางพฤติกรรม เช่น
ความแตกต่างของพฤติกรรมการหาอาหาร ที่ทาให้ประชากรย่อย ๆ ใช้เวลาส่วนใหญ่หาอาหารอยู่ต่างบริเวณ
กัน หรือพฤติกรรมการสืบพันธุ์ที่กลุ่มประชากรที่อาศัยอยู่ร่วมกันเลือกผสมพันธุ์กันในกลุ่มย่อยเท่านั้น ในกรณี
ต่าง ๆ เหล่านี้ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในประชากรแต่ละกลุ่มจะเปลี่ยนแปลงไปจนเกิดเป็นสปีชีส์ใหม่ขึ้นมาได้
ใบความรู้ที่ 2.2
รายวิชา ว40285 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม                                   แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

                   เรื่อง องค์ ประกอบของโครงงานและการเขียนเค้ าโครง
                                      ของโครงงาน

องค์ประกอบของโครงงานประกอบด้วย

1. ชื่อโครงงาน
2. ผู้ทาโครงงาน หรือคณะผู้ทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5. วัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน
6. สมมติฐานของการศึกษา
7. ขอบเขตของการทาโครงงาน
8. วิธีดาเนินการ
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
10. แผนการ/กาหนดเวลาปฎิบัติงาน
เค้าโครงของโครงงาน
การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
          ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาและรายละเอียดที่เกี่ยวกับการเขียนเค้าโครงของโครงงาน
ที่มีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ เพื่อนาไปใช้ในการประกอบกับการเขียนเค้าโครงของโครงงาน
ในใบงานที่ 6
          1. ชื่อเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน
               ชื่อเรื่องการทาโครงงานเรื่อง “………..” นั้นเป็นสิ่งสาคัญประการแรก เพราะ
ชื่อโครงงานจะช่วยโยงความคิดไปถึงวัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน ฯ และ ควรกาหนดชื่อโครงงานให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักและสื่อความหมายถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องการจะศึกษาด้วย
          2. ผู้ทาโครงงานหรือคณะผู้ทาโครงงาน
               เขียนชื่อผู้รับผิดชอบโครงงานฯ เพื่อจะได้ทราบว่าโครงงานนั้นอยู่ในความรับผิดชอบของใครและ
สามารถติดตามได้ที่ไหน
          3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
               การเขียนชื่อผู้ให้คาปรึกษาควรให้เกียรติยกย่องและเผยแพร่ รวมทั้งขอบคุณที่ได้แนะนาการทา
โครงงานจนบรรลุเป้าหมาย
          4. ที่มาและความสาคัญ
                การเขียนที่มาและความสาคัญของโครงงาน คือ การอธิบายให้กระจ่างชัดว่าทาไม
ต้องทา ทาแล้วได้อะไร หากไม่ทาจะเกิดผลเสียอย่างไร ซึ่งมีหลักการเขียนคล้ายการเขียนเรียงความทั่ว ๆ
ไป คือ มีคานา เนื้อเรื่อง และสรุป
               ส่วนที่ 1 คานา : เป็นการบรรยายถึงนโยบาย เกณฑ์ สภาพทั่ว ๆ ไป หรือปัญหาที่มีส่วน
สนับสนุนริเริ่มทาโครงงานฯ
             ส่วนที่ 2 เนื้อเรื่อง : อธิบายถึงรายละเอียดเชื่อมโยงให้เห็นประโยชน์ของการทาโครงงาน โดยมี
หลักการ ทฤษฎีสนับสนุนเรื่องที่ศึกษา หรือการบรรยาย ผลกระทบ ถ้าไม่ทาโครงงานฯ เรื่องนี้
             ส่วนที่ 3 สรุป : สรุปถึงความจาเป็นที่ต้องดาเนินการตามส่วนที่ 2 เพื่อแก้ไขปัญหา
ค้นข้อความรู้ใหม่ ค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ให้เป็นไปตามเหตุผลส่วนที่ 1
          5. วัตถุประสงค์
               วัตถุประสงค์ คือ กาหนดจุดมุ่งหมายปลายทางที่ต้องการให้เกิดจากการทาโครงงานฯ ในการ
เขียนวัตถุประสงค์ต้องเขียนให้ชัดเจน อ่านเข้าใจง่ายสอดคล้องกับชื่อเรื่องของโครงงาน
หากวัตถุประสงค์หลายประเด็นให้ระบุเป็นข้อ ๆ
          6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
               ผลที่คาดว่าจะได้รับ คือ การคาดหวังถึงผลการดาเนินการตามโครงการ ในการเขียนต้อง
คาดคะเนเหตุการณ์ว่าเมื่อได้ทาโครงงานสิ้นสุดลง ใครเป็นผู้ได้รับประโยชน์อย่างไรและได้รับมากน้อย
เพียงใด ผลที่ได้รับสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ศึกษา6. สมมติฐานการศึกษา (ถ้ามี)
สมมติฐานการศึกษา เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ผู้ทาโครงงานต้องให้ความสาคัญ เพราะ
จะทาให้เป็นการกาหนดแนวทางในการออกแบบการทดลองได้ชัดเจนและรอบคอบ ซึ่งสมมติฐานก็คือ การ
คาดคะเนคาตอบของปัญหาอย่างมีหลักและเหตุผล ตามหลักการทฤษฎี รวมทั้งผลของการศึกษาของ
โครงงานที่ได้ทามาแล้ว
           7. ขอบเขตของการศึกษา
               การกาหนดขอบเขตของการทาโครงงานก็เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่น่าเชื่อถือ ซึ่งได้แก่ การ
กาหนดประชากร กลุ่มตัวอย่าง ตลอดจนตัวแปรที่ศึกษา
               1) การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือการกาหนดประชากรที่ศึกษา
อาจเป็นคนหรือสัตว์หรือพืช ชื่อใด กลุ่มใด ประเภทใด อยู่ที่ใด เมื่อเวลาใด รวมทั้งกาหนดกลุ่มตัวอย่างที่มี
ขนาดเหมาะสมเป็นตัวแทนของประชากรที่สนใจศึกษา
               2) ตัวแปรที่ศึกษา ส่วนมากมักเป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล หรือความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวแปรขึ้นไป ผู้ทาโครงงานต้องเข้าใจว่า ตัวแปรใด
เป็นตัวแปรต้น ตัวแปรใดเป็นตัวแปรตาม และตัวแปรใดที่เป็นตัวแปรควบคุม เพื่อเป็นแนวทางการออกแบบ
การทดลอง ตลอดจนมีผลต่อการเขียนรายงานการทาโครงงานที่ถูกต้อง สื่อความหมายให้ผู้ฟังและผู้อ่านให้
เข้าใจตรงกัน
           8. วิธีดาเนินการ
               วิธีดาเนินการ หมายถึง วิธีการที่จะช่วยให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน
ตั้งแต่เริ่มต้นนาเสนอโครงการ จนกระทั่งสิ้นสุดโครงการ ซึ่งประกอบด้วย
                1) การกาหนดประชากร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา
                2) การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
                3) การเก็บรวบรวมข้อมูล
                4) การวิเคราะห์ข้อมูล
                ในการเขียนวิธีดาเนินการให้ระบุกิจกรรมที่ต้องทาให้ชัดเจนว่าจะทาอะไรบ้าง เรียงลาดับ
กิจกรรมก่อนและหลังให้ชัดเจน เพื่อสามารถนาโครงการไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและถูกต้อง
           9. แผนการกาหนดเวลาปฏิบัติงาน
                 การทาโครงงานฯ ต้องกาหนดตารางเวลาดาเนินการทุกขั้นตอน เพราะการทาตารางเวลาจะ
เป็นประโยชน์ให้ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง เป็นประโยชน์ต่อการติดตามประเมินผล
การดาเนินงานแต่ละขั้นตอน จนสิ้นสุดการทาโครงงานฯ นั้น
           10. เอกสารอ้างอิง
           เอกสาอ้างอิง คือ รายการเอกสารที่นามาอ้างอิงเพื่อประกอบการทาโครงงานตลอดจน
การเขียนรายงานการทาโครงงานและควรเขียนตามหลักการที่นิยมกัน
ใบงานที่ 2.1
รายวิชา ว 40285 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม                                     แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
              เรื่อง แบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล
                    ………………………………………………………………………………………………………
คาสั่ง ให้นักเรียนฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล จากการสารวจระบบ
นิเวศภายในโรงเรียน
1. ชือเรื่อง…………………………………………………………………………………………
      ่
2. สถานที่ออกสารวจ………………………………………………………………………………
3. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจ




4. วิธีดาเนินการ




5. ตารางบันทึกผลการสารวจ




6. อภิปรายผลการสารวจ




7. สรุปผลการสารวจ
ใบงานที่ 2.2
รายวิชา ว 40285 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม                           แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
                             เรื่อง การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
              ……………………………………………………………………………………………………
1. ชื่อโครงงาน .................................................................................................................................
2. ผู้ทาโครงงาน หรือคณะผู้ทาโครงงาน




3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา

4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน




5. วัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน




6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ




7. สมมติฐานของการศึกษา (ถ้ามี)




      ตัวแปรที่ศึกษา
      - ตัวแปรต้น
      - ตัวแปรตาม
8. ขอบเขตของการทาโครงงาน




9. วิธีดาเนินการ




10. แผนการ/กาหนดเวลาปฎิบัติงาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3
                                                             ้
เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6เวลา 6 ชั่วโมง                                             30 คะแนน
        --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. เป้าหมายการเรียนรู้
              สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับการจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่ม ๆ ลักษณะสาคัญของ
สิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่ม และความสัมพันธ์ระหว่างความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มในระบบนิเวศกับการ
อนุรักษ์ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตเหล่านั้น
2. สาระสาคัญ (concept/ทักษะ/กระบวนการ)
              นักชีววิทยาจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ โดยพิจารณาจากข้อมูลหลายด้าน เกณฑ์ทาง
กายภาพได้แก่ ความคล้ายคลึงในทางโครงสร้าง ออร์แกเนลล์ และสารเคมีภายในเซลล์ สิ่งมีชีวิตที่มีความ
ใกล้ชิดกันทางพันธุกรรมมากจะมีความคล้ายคลึงกันมาก นกชีววิทยาจาแนกสิ่งมีชีวิตออกได้เป็น 5 กลุ่มใหญ่
หรือ 5 อาณาจักร คือ อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรเห็ดราและยีสต์ อาณาจักรพืช
และอาณาจักรสัตว์
3. สาระสาระการเรียนรู้

   3.2 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
        3.2.1 อาณาจักรมอเนอรา
        3.2.2 อาณาจักรโพรทิสตา
        3.2.3 อาณาจักรพืช
        3.2.4 อาณาจักรสัตว์
4. หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ
   แผนผังมโนทัศน์ของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรต่าง ๆ
5. แนวทางการตรวจให้คะแนน
   5.1 แผนผังมโนทัศน์ ประเมินโดยใช้เกณฑ์ดังนี้ (10 คะแนน)
                               รายการประเมิน                                                     ระดับคุณภาพ
- เขียนผังมโนทัศน์ได้ครอบคลุมทุกอาณาจักร มีรายละเอียดครบถ้วน มี                                         4
  ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตถูกต้อง ครบถ้วน
- เขียนผังมโนทัศน์ได้ครอบคลุมทุกอาณาจักร มีรายละเอียดครบถ้วน มี                                         3
  ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตถูกต้องไม่ครบถ้วน
- เขียนผังมโนทัศน์ได้ครอบคลุมทุกอาณาจักร มีรายละเอียดไม่ครบถ้วน                                         2
  มีตัวอย่างสิ่งมีชีวิตถูกต้อง
- เขียนผังมโนทัศน์ไม่ครอบคลุมทุกอาณาจักร มีรายละเอียดไม่ครบถ้วน                                         1
  มีตัวอย่างสิ่งมีชีวิตไม่ถูกต้อง
เกณฑ์การให้คะแนน (การคิดคะแนนระดับคุณภาพที่ได้คูณด้วย 10 แล้วหารด้วย 4)
01.00– 03.00 คะแนน                   ปรับปรุง 07.00 – 08.00 คะแนน              ดี
05.00 – 6.00 คะแนน                              พอใช้         09.00 – 10.00 คะแนน             ดีมาก
เกณฑ์การประเมินตัดสิน
ได้คะแนนตั้งแต่ 05.00 (ระดับคุณภาพพอใช้) ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
      5.1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
              นักเรียนและครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางสปีชีส์ ซึ่งมีผลทาให้สิ่งมีชีวิตมีความ
หลากหลายมากขึ้น จึงได้มีนักวิทยาศาสตร์จัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่ม ๆ
      5.2 ขั้นกิจกรรม
             5.2.1 นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิต
กับกระบวนการดารงชีวิต หน้า 151-156 และศึกษาใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
และจาก www.ipst.ac.th
              5.2.2 นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต และความหลากหลายของ
สิ่งมีชีวิต และอภิปรายตามประเด็นต่อไปนี้
                        - ระบุลักษณะเด่นของสิ่งมีชีวิตในแต่ละอาณาจักร
                        - ระบุตัวอย่างสิ่งมีชีวิตแต่ละอาณาจักรที่พบในท้องถิ่นของนักเรียน
                        - อธิบายคุณค่าและความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ
                        - อภิปรายวิธีการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น
            5.2.3 นักเรียนนาข้อมูลที่ได้ดาเนินงานตามขั้นตอนของโครงงานเชิงสารวจมาจัดทาเป็นรูปเล่ม ตาม
ใบความรู้ที่ 3.2 เรื่องการเขียนรายงานโครงงาน
            5.2.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจเกี่ยวกับความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิต
                5.2.5 นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาโครงงานของกลุ่มอื่น ๆ และมีการแลกเปลี่ยนรู้ และอภิปราย
ร่วมกัน
    5.3 ขั้นสรุป
            5.3.1 นักเรียนและครูอภิปราย และสรุปร่วมกันเกี่ยวกับ
                     1) เกณฑ์ในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต
                     2) ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
            5.3.2 นักเรียนเขียนผังมโนทัศน์เกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
6. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
     6.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต หน้า
151-156
     6.2 ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
     6.3 ใบความรู้ที่ 3.2 เรื่องการเขียนรายงานโครงงาน
     6.4 www.ipst.ac.th
7. บันทึกผลสรุปการจัดการเรียนการสอน
             นักเรียนสามารถระบุลักษณะเด่นของสิ่งมีชีวิต และแยกแยะสิ่งมีชีวิตที่ไปสารวจออกเป็น
หมวดหมู่ได้ และดาเนินการทาโครงงานตามขั้นตอนที่ได้กาหนดไว้
     ข้อเสนอแนะ
             ควรกาหนดให้นักเรียนออกสารวจบริเวณท้องถิ่นของนักเรียนเอง โดยใช้เวลาหลังเลิกเรียน หรือ
วันเสาร์-อาทิตย์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design

More Related Content

What's hot

แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
Wann Rattiya
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
Kobwit Piriyawat
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
teerachon
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
sariya25
 

What's hot (20)

เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 

Viewers also liked

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทยใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
Mam Chongruk
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
ณัฐพล แสงทวี
 

Viewers also liked (8)

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
 
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทยใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
ใบความรู้ที่ 005 ความขัดแย้งในสังคมไทย
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 

Similar to ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Meaw Sukee
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
wongsrida
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
wongsrida
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
Meaw Sukee
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
parichat441
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Meaw Sukee
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
parichat441
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
Meaw Sukee
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
kruannchem
 
Plan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศPlan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศ
pummath
 

Similar to ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
Assessment
AssessmentAssessment
Assessment
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Plan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศPlan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศ
 

More from คุณครูพี่อั๋น

สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
คุณครูพี่อั๋น
 
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
คุณครูพี่อั๋น
 
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkแยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
คุณครูพี่อั๋น
 

More from คุณครูพี่อั๋น (20)

Tangram
TangramTangram
Tangram
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabus
 
02 roman numeral
02 roman numeral02 roman numeral
02 roman numeral
 
01 history of numbers and numerals
01 history of numbers and numerals01 history of numbers and numerals
01 history of numbers and numerals
 
เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2
 
เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1
 
I30201 1-ส่วนหน้า
I30201 1-ส่วนหน้าI30201 1-ส่วนหน้า
I30201 1-ส่วนหน้า
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูลการตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
Complex Number Practice
Complex Number PracticeComplex Number Practice
Complex Number Practice
 
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
 
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
 
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งสองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkแยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
Ans_TME54_jh1
Ans_TME54_jh1Ans_TME54_jh1
Ans_TME54_jh1
 

ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ 1 รหัสวิชา ว40285 รายวิชา วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6ชื่อ หน่วย ความหลากหลายทางชีวภาพ เวลา 5 ชั่วโมง 100 คะแนน รายวิชาที่นามาบูรณาการ ท 43101 , ท 43102 , ง 43101 , ง 43101 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.2 มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 4 ข้อ 1 : สืบค้นข้อมูล อภิปรายและอธิบายกระบวนการ ถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน และการเกิดความหลากหลายทาง ชีวภาพ ว 8.1 มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 4 ข้อ 5 : เก็บรวบรวมข้อมูลและบันทึกการสารวจตรวจสอบ อย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความ เหมาะสม หรือความผิดพลาดของข้อมูล ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสาระสนเทศและรายงานศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ 2. สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2.1 สาระแกนกลาง 2.1.1 สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต 2.1.2 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 2.2 สาระท้องถิ่น สิ่งมีชีวิตที่พบในท้องถิ่น 3. สาระสาคัญ 3.1 ความคิดรวบยอด/หลักการ โลกของเรามีระบบนิเวศที่มีลักษณะแตกต่างกันตั้งแต่ใต้ทะเลลึกจนถึงยอดเขาสูง กล่าวได้ ว่าโลกของเรามีความหลากหลายของนิเวศวิทยา ระบบนิเวศแต่ละแห่งมีความแตกต่างกันของชนิดและ จานวนของสิ่งมีชีวิต รวมไปถึงลักษณะและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่อยู่ร่วมกัน เมื่อพิจารณาชนิด ของสิ่งมีชีวิตทั้งหลายบนโลก จะพบว่ามีสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ มากมายมหาศาล คาดคะเนว่ามีราว 10-50 ล้าน ชนิด นับเป็นความหลากหลายของสปีชีส์ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตที่เราสังเกตเห็น สะท้อนถึงการมี ลักษณะทางพันธุกรรมเฉพาะที่แตกต่างกัน แม้กระทั่งประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ก็มีความ หลากหลายทางพันธุกรรมที่ทาให้สิ่งมีชีวิตบางกลุ่มอยู่รอดได้ แม้สิ่งแวดล้อมจะเปลี่ยนแปลงไป 3.2 ทักษะ/กระบวนการ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การ อธิบาย การสารวจ กระบวนการทางานร่วมกัน ทักษะการเก็บรวบรวมข้อมูล ทักษะกระบวนการคิด (การ วิเคราะห์ การสังเคราะห์ การแก้ปัญหา การวางแผน) ทักษะการนาเสนอ
  • 2. 3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ 4. ชุดคาถามที่สาคัญ 4.1 เราจะรู้จักสิ่งมีชีวิตที่อยู่รอบตัวเราได้อย่างไร 4.2 สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตเป็นอย่างไร 4.3 สิ่งมีชีวิตมีความหลากหลายและจาแนกเป็นกลุ่มย่อยได้อย่างไร 4.4 เราจะรวบรวบและสรุปรายชื่อสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอาณาจักรต่าง ๆ ด้วยวิธีใด 5. หลักฐาน/ผลงาน/การปฏิบัติงานรวบยอด โครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต และได้รับมอบหมายให้ศึกษา สิ่งมีชีวิตในท้องถินของนักเรียนโดยการทาโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ ผลงาน ่ ของนักเรียนจะนามาเสนอต่อเพื่อนร่วมชั้นเรียน โดยมีเพื่อนและครูเป็นผู้ประเมินโครงงาน ของนักเรียน ต้องลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนการดาเนินโครงงานเชิงสารวจให้ได้รายละเอียด ของสิ่งมีชีวิตนามาจัดเป็นกลุ่มต่าง ๆ โดยมีข้อมูลสนับสนุนอย่างเต็มที่ มีความชัดเจนและสมบูรณ์ครบถ้วน 6. แนวทางการให้คะแนน โครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจประเมินโดยใช้เกณฑ์ ดังนี้ ประเมินโดยใช้เกณฑ์ดังนี้ (40 คะแนน) ประเด็นการ ระดับคุณภาพ น้าหนัก รวม ประเมิน 4 3 2 1 1. การใช้ สะกดคา เขียน สะกดคา สะกดคา เขียน สะกดคาผิด 3 ภาษา สื่อความหมาย เขียน สื่อ สื่อความหมาย ส่วนมากเขียน ได้ถูกต้อง ความหมาย ได้ถูกต้อง สื่อความหมาย ครบถ้วน ได้ถูกต้อง ครบถ้วนชัดเจน ไม่ชัดเจน ชัดเจน ตรง ครบถ้วนชัดเจน บางส่วน ไม่ตรงประเด็น ประเด็น ส่วนใหญ่
  • 3. แนวทางการให้คะแนน โครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ (ต่อ) ประเด็นการ ระดับคุณภาพ น้าหนัก รวม ประเมิน 4 3 2 1 2. ทักษะ -มีทักษะ -มีทักษะ -มีทักษะ -มีทักษะ 3 การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา กระบวนการ ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน การออกแบบ การออกแบบ การออกแบบ การออกแบบ การทดลอง การทดลอง การทดลอง การทดลอง ดาเนินการ ดาเนินการ ดาเนินการ ดาเนินการ ทดลอง ทดลอง ทดลอง ทดลอง การบันทึกผล การบันทึกผล การบันทึกผล การบันทึกผล การทดลองและ การทดลอง การทดลองและ การทดลองและ สรุปผลการ และสรุปผล สรุปผลการ สรุปผลการ ทดลอง ได้ การทดลอง ทดลอง ได้ ทดลอง ไม่ ถูกต้องครบถ้วน ได้ถูกต้อง ถูกต้องบางส่วน ถูกต้องและไม่ สมบูรณ์ ครบถ้วน แต่ ครบถ้วน ไม่สมบูรณ์ 3. รายงาน -การเขียน -การเขียน -การเขียน -การเขียน 2 โครงงาน รายงานมี รายงานมี รายงานมี รายงานมี องค์ประกอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบ ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน มีความ มีความ มีความ มีความ สอดคล้องกัน สอดคล้องกัน สอดคล้องกัน สอดคล้องกัน และการ และการ และการ และการ เรียงลาดับได้ เรียงลาดับได้ เรียงลาดับได้ เรียงลาดับได้ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็น ถูกต้องเป็น ไม่ถูกต้อง ส่วนใหญ่ บางส่วน 4. การ -นาเสนอได้ -นาเสนอได้ -นาเสนอได้ -นาเสนอได้ 2 นาเสนอ ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง โครงงาน ตามลาดับ ตามลาดับ ตามลาดับ ตามลาดับ วิทยาศาสตร์ ขั้นตอน ขั้นตอน ขั้นตอน ขั้นตอน
  • 4. ประเด็นการ ระดับคุณภาพ น้าหนัก รวม ประเมิน 4 3 2 1 2. ทักษะ -มีทักษะ -มีทักษะ -มีทักษะ -มีทักษะ 3 การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา กระบวนการ ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน การออกแบบ การออกแบบ การออกแบบ การออกแบบ การทดลอง การทดลอง การทดลอง การทดลอง ดาเนินการ ดาเนินการ ดาเนินการ ดาเนินการ ทดลอง ทดลอง ทดลอง ทดลอง การบันทึกผล การบันทึกผล การบันทึกผล การบันทึกผล การทดลองและ การทดลอง การทดลองและ การทดลองและ สรุปผลการ และสรุปผล สรุปผลการ สรุปผลการ ทดลอง ได้ การทดลอง ทดลอง ได้ ทดลอง ไม่ ถูกต้องครบถ้วน ได้ถูกต้อง ถูกต้องบางส่วน ถูกต้องและไม่ สมบูรณ์ ครบถ้วน แต่ ครบถ้วน ไม่สมบูรณ์ บรรยาย บรรยาย บรรยาย บรรยาย เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ ตอบคาถามได้ ตอบคาถาม ตอบคาถามได้ ตอบคาถามไม่ ถูกต้องครบถ้วน ได้ถูกต้อง ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน ชัดเจนเป็น ชัดเจน เป็น บางส่วน ส่วนใหญ่ เกณฑ์การให้คะแนน (การคิดคะแนนนาคะแนนที่ได้มาหารด้วย 10) 0.00– 16.00 คะแนน ปรับปรุง 26.00 – 33.00 คะแนน ดี 17.00 – 25.00 คะแนน พอใช้ 34.00 – 40.00 คะแนน ดีมาก เกณฑ์การประเมินตัดสิน ได้คะแนนตั้งแต่ 26.00 (ระดับคุณภาพดี) ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
  • 5. 7. แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 7.1 แนวทางการเขียนแผนการจัดเรียนรู้ที่ 1 การกระตุ้นความสนใจ เวลา 1 ชั่วโมง 10 คะแนน 7.1.1 เป้าหมายการเรียนรู้ สารวจ และบันทึกข้อมูลของสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความรู้พื้นฐาน และความเข้าใจ ทางวิทยาศาสตร์ 7.1.2 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ แบบฝึกการตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจในใบงานที่ 1.1 (10 คะแนน) 7.1.3 วิธีการตรวจให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ประเมินการตั้งชื่อเรื่องและการออกแบบการสารวจ โดยใช้รูบริค (Rubrics) 7.1.4 กิจกรรมการเรียนรู้ 1) นักเรียนศึกษาภาพระบบนิเวศในทะเลจากหนังสือเรียนชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับ กระบวนการดารงชีวิต อภิปรายถึงสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระบบนิเวศนั้น รวมถึงระบบนิเวศในโรงเรียน 2) นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน แบ่งหน้าที่กันทางาน แต่ละกลุ่มฝึกตั้งชื่อเรื่องที่ นาไปสู่การสารวจสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ และฝึกออกแบบการสารวจสิ่งมีชีวิต ตามใบงานที่ 1.1 เรื่อง แบบ ฝึกการตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจ 3) นักเรียนสรุปร่วมกันเกี่ยวกับวิธีการตั้งชื่อและการออกแบบการสารวจสิ่งมีชีวิต 7.1.5 สือ/แหล่งเรียนรู้ ่ 1) หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการ ดารงชีวิต หน้า 145 2) ใบงานที่ 1.1 แบบฝึกการตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจ 7.2 กิจกรรมแผนการเรียนรู้ที่ 2 เวลา 2 ชั่วโมง 30 คะแนน 7.2.1 เป้าหมายการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล และอธิบายความหมายของสปีชีส์ ความหลากหลายของสปีชีส์ และกลไกการเกิดส ปีส์ใหม่ 7.2.2 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ - แบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูลใบงาน ที่ 2.1 (10 คะแนน) - เค้าโครงของโครงงาน (20 คะแนน) 7.2.3 วิธีการตรวจให้คะแนน 1) ประเมินแบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้รูบริค (Rubrics) 2) ฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล และเค้าโครงของโครงงาน โดยใช้รูบริค (Rubrics) 7.2.4 กิจกรรมการเรียนรู้
  • 6. 1) นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้า สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสปีชีส์ของสิงมีชีวิตจาก ใบความรู้ที่ ่ 2.1 เรื่อง สปีชส์ของสิ่งมีชีวิต จากหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิงมีชีวิตกับกระบวนการ ี ่ ดารงชีวิต และ www.ipst.ac.th 2) นักเรียนนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าหน้าชั้นเรียน อภิปรายและอธิบายร่วมกัน 3) นักเรียนฝึกเก็บรวบรวมข้อมูลของชนิดและตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่พบในระบบนิเวศภายใน โรงเรียน และฝึกจัดกระทากับข้อมูล วิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล ในใบงานที่ 2.1 เรื่อง แบบฝึกการเก็บ รวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล 4) นักเรียนสรุปร่วมกันเกี่ยวกับความหมายของสปีชีส์ ความหลากหลายของสปีชีส์ และกลไก การเกิดสปีส์ใหม่ 5) นักเรียนร่วมกันศึกษาจากใบความรู้ที่ 2.2 เรื่อง การเขียนเค้าโครงของโครงงานและฝึก เขียนเค้าโครงของโครงงาน ในใบงานที่ 2.2 การเขียนเค้าโครงของโครงงาน 7.2.5 สือ/แหล่งเรียนรู้ ่ 1) หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการ ดารงชีวิต หน้า 146-151 2) ใบความรู้ที่ 2.1 สปีชีสของสิ่งมีชีวิต ์ 3) ใบความรู้ที่ 2.2 เรื่อง การเขียนเค้าโครงของโครงงาน 4) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง แบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจาก ข้อมูล 5) ใบงานที่ 2.2 การเขียนเค้าโครงของโครงงาน 6) www.ipst.ac.th 7.3 กิจกรรมแผนการเรียนรู้ที่ 3 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต เวลา 2 ชั่วโมง 30 คะแนน 7.3.1 เป้าหมายการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล สารวจ อธิบายและสรุปความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 7.3.2 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ 1) ผังมโนทัศน์ของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรต่าง ๆ 7.3.3 วิธีการตรวจให้คะแนน 1) ประเมินผังมโนทัศน์ของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรต่าง ๆ โดยใช้รูบริค (Rubrics) 2) ประเมิน โดยใช้รูบริค (Rubrics) 7.3.4 กิจกรรมการเรียนรู้ 1 นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต หน้า 151-156 และศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิต และจาก www.ipst.ac.th
  • 7. 2. นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 3. นักเรียนฝึกการเขียนผังมโนทัศน์ เรื่อง ของสิ่งมีชีวิตในอนาจักรต่างๆ 4. อภิปรายสรุปร่วมกันเกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 5. นักเรียนดาเนินการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจเกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ภายในโรงเรียน 7.3.5 สือ/หล่งเรียนรู้ ่ 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต หน้า 151-156 2. ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 3. www.ipst.ac.th 7.4 กิจกรรมแผนการเรียนรู้ที่ 4 การประเมินผลรวบยอดประจาหน่วยการเรียนรู้ เวลา 3 ชัวโมง 30 ่ คะแนน 7.4.1 เป้าหมายการเรียนรู้ - รวบรวม สรุปและนาเสนอความหลากหลายสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอาณาจักรต่าง ๆ โดยใช้ โครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ 7.4.2 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ - โครงงานงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ (40 คะแนน) 7.4.3 วิธีการตรวจให้คะแนน 1) โครงงานงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ ประเมินโดยใช้เกณฑ์ดังนี้ (40 คะแนน) ประเด็นการ ระดับคุณภาพ น้าหนัก รวม ประเมิน 4 3 2 1 1. การใช้ภาษา สะกดคา เขียนสื่อ สะกดคา เขียน สื่อ สะกดคา เขียน สื่อ สะกดคาผิดส่วนมากเขียน 3 ความหมายได้ถูกต้อง ความหมายได้ถูกต้อง ความหมายได้ถูกต้อง สื่อความหมายไม่ชัดเจน ครบถ้วน ชัดเจน ตรง ครบถ้วนชัดเจน ครบถ้วนชัดเจน บางส่วน ไม่ตรงประเด็น ประเด็น ส่วนใหญ่ 2. ทักษะ -มีทักษะ -มีทักษะ -มีทักษะ -มีทักษะ 3 กระบวนการ การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา การตั้งปัญหา ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน การออกแบบ การออกแบบ การออกแบบ การออกแบบ การทดลอง การทดลอง การทดลอง การทดลอง ดาเนินการทดลอง ดาเนินการทดลอง ดาเนินการทดลอง ดาเนินการทดลอง การบันทึกผลการทดลอง การบันทึกผลการ การบันทึกผลการทดลอง การบันทึกผลการทดลอง และสรุปผลการทดลอง ทดลองและสรุปผล และสรุปผลการทดลอง และสรุปผลการทดลอง ได้ถูกต้องครบถ้วน การทดลอง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้องบางส่วน ไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ ครบถ้วน แต่ไม่สมบูรณ์
  • 8. แนวทางการให้คะแนน โครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ (ต่อ) ประเด็นการ ระดับคุณภาพ น้าหนัก รวม ประเมิน 4 3 2 1 3. รายงาน -การเขียน -การเขียน -การเขียน -การเขียน 2 โครงงาน รายงานมี รายงานมี รายงานมี รายงานมี องค์ประกอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบ ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน มีความ มีความ มีความ มีความ สอดคล้องกัน สอดคล้องกัน สอดคล้องกัน สอดคล้องกัน และการ และการ และการ และการ เรียงลาดับได้ เรียงลาดับได้ เรียงลาดับได้ เรียงลาดับได้ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็น ถูกต้องเป็น ไม่ถูกต้อง ส่วนใหญ่ บางส่วน 4. การ -นาเสนอได้ -นาเสนอได้ -นาเสนอได้ -นาเสนอได้ 2 นาเสนอ ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง โครงงาน ตามลาดับ ตามลาดับ ตามลาดับ ตามลาดับ วิทยาศาสตร์ ขั้นตอน ขั้นตอน ขั้นตอน ขั้นตอน บรรยาย บรรยาย บรรยาย บรรยาย เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ ตอบคาถามได้ ตอบคาถาม ตอบคาถามได้ ตอบคาถามไม่ ถูกต้องครบถ้วน ได้ถูกต้อง ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน ชัดเจนเป็น ชัดเจน เป็น บางส่วน ส่วนใหญ่ เกณฑ์การให้คะแนน (การคิดคะแนนนาคะแนนที่ได้มาหารด้วย 10) 0.00– 16.00 คะแนน ปรับปรุง 26.00 – 33.00 คะแนน ดี 17.00 – 25.00 คะแนน พอใช้ 34.00 – 40.00 คะแนน ดีมาก เกณฑ์การประเมินตัดสิน ได้คะแนนตั้งแต่ 26.00 (ระดับคุณภาพดี) ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
  • 9. 7.4.4 กิจกรรมการเรียนรู้ 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจเกี่ยวกับความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิตในชั้นเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 3. ทดสอบรวบยอดประจาหน่วยการเรียนรู้ 7.4.5 สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต หน้า 145-156
  • 10. 8. แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การกระตุ้นความสนใจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลา 1 ชั่วโมง 10 คะแนน -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. เป้าหมายการเรียนรู้ สารวจ และบันทึกข้อมูลของสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความรู้พื้นฐาน และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ 2. สาระสาคัญ การสารวจข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ต้องมีความละเอียดรอบคอบ บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบ ถูกต้อง และครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ 3. สาระการเรียนรู้ การสารวจและบันทึกข้อมูลของสิ่งมีชีวิต 4. หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ - แบบฝึกการตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจในใบงานที่ 1.1 5. แนวทางการตรวจให้คะแนน การตั้งชื่อเรื่องและออกแบบการสารวจ ประเมินโดยใช้เกณฑ์การประเมิน(10 คะแนน) ประเด็นการ ระดับคุณภาพ น้าหนัก รวม ประเมิน 4 3 2 1 1. การตั้ง - ตั้งชื่อเรื่องมี - ตั้งชื่อเรื่อง - ตั้งชื่อเรื่อง - ตั้งชื่อเรื่องไม่ 5 ชื่อเรื่อง แนวทางการ มีแนว มีแนวทางการ มีแนวทางการ นาไปสู่การ ทางการ นาไปสู่การ นาไปสู่การ สารวจชัดเจน นาไปสู่การ สารวจชัดเจน สารวจชัดเจน ถูกต้อง สารวจชัดเจน ครบถ้วน ถูกต้อง 2. การ - มีวิธีการ - มีวิธีการ - มีวิธีการ -มีวิธีการ 5 ออกแบบ สารวจข้อมูล สารวจข้อมูล สารวจข้อมูล สารวจข้อมูล การ และออกแบบ และ และออกแบบ และออกแบบ
  • 11. ประเด็นการ ระดับคุณภาพ น้าหนัก รวม ประเมิน 4 3 2 1 สารวจ ตารางบันทึก ออกแบบ ตารางบันทึก ตารางบันทึก ผลได้เหมาะสม ตารางบันทึก ผลได้เหมาะสม ผลได้เหมาะสม สอดคล้องกับ ผลได้ สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ ชื่อเรื่อง เกิน เหมาะสม ชื่อเรื่อง 50- ชื่อเรื่อง ต่า กว่า 80 % สอดคล้อง 60 % กว่า 50 % กับชื่อเรื่อง 60-79 % เกณฑ์การให้คะแนน (การคิดคะแนนนาคะแนนรวมได้มาหารด้วย 4) 01.00– 03.00 คะแนน ปรับปรุง 07.00 – 08.00 คะแนน ดี 05.00 – 6.00 คะแนน พอใช้ 09.00 – 10.00 คะแนน ดีมาก เกณฑ์การประเมินตัดสิน ได้คะแนนตั้งแต่ 05.00 (ระดับคุณภาพพอใช้) ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ 6. กิจกรรมการเรียนรู้ 6.1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน นักเรียนศึกษาภาพระบบนิเวศในทะเลจากหนังสือเรียนชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับ กระบวนการดารงชีวิต หน้า 145 อภิปรายถึงสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระบบนิเวศนั้น รวมถึงระบบนิเวศในโรงเรียน 6.2 ขั้นกิจกรรม 6.2.1 แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 9-12 กลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน และแบ่งหน้าที่กันทางานดังนี้ 1) ประธานกลุ่ม 2) เลขานุการ 3) กรรมการกลุ่ม 6.2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มฝึกตั้งชื่อเรื่องที่นาไปสู่การสารวจสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศภายในโรงเรียน 6.2.3 นักเรียนฝึกออกแบบการสารวจสิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียน ตามใบงานที่ 1 เรื่อง แบบฝึกการ ตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจ และออกแบบตารางบันทึกผลข้อมูลที่ได้จากการสารวจ 6.3 ขั้นสรุป นักเรียนและครูอธิบาย และสรุปร่วมกันเกี่ยวกับการตั้งชื่อเรื่องที่นาไปสู่การสารวจสิ่งมีชีวิตใน ระบบนิเวศภายในโรงเรียนและการออกแบบการสารวจสิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียน และออกแบบตารางบันทึกผล ข้อมูลที่ได้จากการสารวจ
  • 12. 7. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต หน้า 145 2. ใบงานที่ 1 เรื่อง แบบฝึกการตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจ 8. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ และกระตือรือร้นที่จะลงสารวจสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในระบบนิเวศภายในโรงเรียน นักเรียนจัดกระทาข้อมูลยังไม่เป็นระบบ จึงจัดให้มีการอภิปรายร่วมกันในการวางแผนการจัดกระทากับข้อมูล และบันทึกข้อมูลอย่างมีระบบ ข้อเสนอแนะ ควรมีตัวอย่างข้อมูลในสถานการณ์หลาย ๆ แบบ เพื่อให้นักเรียนฝึกจัดกระทากับข้อมูล
  • 13. ใบงานที่ 1.1 รายวิชา ว 40285 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แบบฝึกการตั้งชื่อเรื่อง และการออกแบบการสารวจ ……………………………………………………………………………………………………… คาสั่ง ให้นักเรียนตั้งชื่อเรื่องและออกแบบการสารวจ 1. ชื่อเรื่อง........................................................................................................................................... สถานที่ ออกสารวจ........................................................................................................................ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ในการสารวจ 4. วิธีการสารวจ 5. ตารางบันทึกผลการสารวจ
  • 14. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที 6 เวลา 2 ชั่วโมง 30 คะแนน -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. เป้าหมายการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล และอธิบายความหมายของสปีชีส์ ความหลากหลายของสปีชีส์ และกลไกการเกิดสปีส์ ใหม่ 2. สาระสาคัญ (concept/ทักษะ/กระบวนการ) สิ่งมีชีวิตมีความแตกต่างหลากหลาย จึงมีการจัดแบ่งออกเป็นกลุ่ม ๆ เพื่อความสะดวกในการศึกษา โดยในแต่ละกลุ่มก็มีการจัดกลุ่มย่อยที่เล็กลงไปอีก กลุ่มย่อยพื้นฐานที่สุดในระบบจาแนกสิ่งมีชีวิตเรียกว่า สปี ชีส์ สปีชีส์ คือกลุ่มประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ผสมพันธุ์กันแล้วได้ลูกหลานสืบทอดต่อไป แม้ สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันจะมีลักษณะเฉพาะที่ต่างไปจากสปีชีส์อื่น แต่ความหลากหลายภายในสปีชีส์เดียวกันก็ ยังมีอยู่ เมื่อสิ่งมีชีวิตมีการผสมพันธุ์เฉพาะภายในกลุ่ม กลุ่มประชากรแต่ละกลุ่มนี้มีสิ่งแวดล้อม ทาง กายภาพและชีวภาพที่แตกต่างกัน การคัดเลือกตามธรรมชาติจะนาพาให้ลักษณะพันธุกรรมของประชากรใน กลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มแตกต่างกันไปทุกทีจนกลายเป็นสปีชีส์ใหม่ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความหมายของสปีชีส์ 3.2 ความหลาหหลายของสปีชีส์ 3.3 กลไกการเกิดสปีชีส์ใหม่ 4. หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ 4.1 แบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล 4.2 ผลการทดสอบ
  • 15. 5. แนวทางการตรวจให้คะแนน 5.1 ประเมินการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูลในใบงานที่ 2.1 ประเมินโดยใช้เกณฑ์ดังนี้ (10 คะแนน) รายการประเมิน ระดับคุณภาพ นักเรียนบันทึกข้อมูลจากการสารวจได้และนาผลข้อมูลมาวิเคราะห์มาสรุปผลได้ไม่ 4 สอดคล้องจากข้อมูล นักเรียนบันทึกข้อมูลจากการสารวจได้และนาผลข้อมูลมาวิเคราะห์ได้สอดคล้อง 3 จากข้อมูล และสามารถนาผลวิเคราะห์มาสรุปผลได้เป็นบางส่วน นักเรียนบันทึกข้อมูลจากการสารวจและนาผลข้อมูลมาวิเคราะห์ให้สอดคล้องจาก 2 ข้อมูล และสามารถนาผลวิเคราะห์มาสรุปผลได้อย่างถูกต้อง นักเรียนบันทึกข้อมูลจากการสารวจและนาผลข้อมูลมาวิเคราะห์ให้สอดคล้องจาก 1 ข้อมูล และสามารถนาผลวิเคราะห์มาสรุปผลได้อย่างถูกต้องครบถ้วน เกณฑ์การให้คะแนน (การคิดคะแนนนาระดับคุณภาพที่ได้มาคูณด้วย 10 แล้วหารด้วย 4) 01.00– 03.00 คะแนน ปรับปรุง 07.00 – 08.00 คะแนน ดี 05.00 – 6.00 คะแนน พอใช้ 09.00 – 10.00 คะแนน ดีมาก เกณฑ์การประเมินตัดสิน ได้คะแนนตั้งแต่ 05.00 (ระดับคุณภาพพอใช้) ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ 5.2 เค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจและการดาเนินงานตามขั้นตอน ประเมินโดยใช้เกณฑ์ดังนี้ (20 คะแนน) รายการประเมิน ระดับคะแนน - นักเรียนเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์ได้ครบองค์ประกอบของการเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์ 4 และมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้อย่างถูกต้องครบถ้วนและนาไป ดาเนินการได้อย่างถูกต้อง - นักเรียนเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์ได้ครบองค์ประกอบของการเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์ 3 และมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้อย่างถูกต้องและนาไปดาเนินการได้ อย่างถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ - นักเรียนเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์ได้ครบองค์ประกอบของการเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์ 2 และมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้เป็นบางส่วนและนาไปดาเนินการได้ - นักเรียนเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์ได้ครบองค์ประกอบของการเขียนเค้าโครงวิทยาศาสตร์แต่ 1 ละส่วนไม่มีความสอดคล้องสัมพันธ์กันและไม่สามารถนาไปดาเนินการตามขั้นตอนได้ เกณฑ์การให้คะแนน (การคิดคะแนนนาระดับคุณภาพที่ได้คูณด้วย 5) 0.00– 06.00 คะแนน ปรับปรุง 11.00 – 16.00 คะแนน ดี
  • 16. 07.00 – 10.00 คะแนน พอใช้ 17.00 – 20.00 คะแนน ดีมาก เกณฑ์การประเมินตัดสิน ได้คะแนนตั้งแต่ 11.00 (ระดับคุณภาพดี) ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ 6. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้ 5.1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน นักเรียนและครูสนทนาเกี่ยวกับระบบนิเวศต่าง ๆ ในท้องถิ่น ยกตัวอย่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่พบในระบบ นิเวศ และอภิปรายในประเด็นต่อไปนี้ - ระบบนิเวศแต่ละแห่งมีลักษณะเฉพาะทางกายภาพและชีวภาพที่เหมือนหรือแตกต่าง กันอย่างไร - สิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ที่อยู่ในแต่ละระบบนิเวศมีลักษณะที่เหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร - สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีลักษณะที่เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร 6.2 ขั้นกิจกรรม 6.2.1 ให้นักเรียนยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่นักเรียนรู้จัก จะเป็นสัตว์หรือพืชก็ได้ เช่น สุนัข เต่า แมว นก กุหลาบ มะขามหวาน รวมทั้งให้ศึกษาตัวอย่างสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตจากภาพในหนังสือเรียนหน้า 146-149 และจากอินเตอร์เน็ต โดยเชื่อมโยงความรู้เรื่องการสืบพันธุ์กับลักษณะทางพันธุกรรมและนาการอภิปรายเพื่อ ตอบคาถามดังต่อไปนี้ - สิ่งมีชีวตชนิดเดียวกัน เช่น สุนัขพันธุ์ต่าง ๆ จะผสมพันธุ์กันได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ิ - สิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน เช่น ม้ากับลา แมวบ้านกับเสือโคร่ง ผสมพันธุ์กันได้หรือไม่ เพราะเหตุใด - อะไรคือปัจจัยที่ทาให้สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดดารงพันธุ์และสืบทอดลักษณะไปสู่ลูกหลานได้ไม่ สูญพันธุ์ - สาเหตุใดที่ทาให้เกิดสปีชีส์ใหม่ 6.2.2 นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้า สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต จากหนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต หน้า 146-150 และ www.ipst.ac.th 6.2.3 ให้นักเรียนศึกษาแผนภาพ 5.8 ในหนังสือเรียนหน้า 151 เพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับการ เกิดสปีชีส์ใหม่ 6.2.4 นักเรียนนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าหน้าชั้นเรียน อภิปรายและอธิบายร่วมกัน 6.2.5 นักเรียนฝึกเก็บรวบรวมข้อมูลของชนิดและตัวอย่างสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่พบใน สวนพฤกษศาสตร์ภายในโรงเรียน และฝึกจัดกระทากับข้อมูล วิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล ตาม กิจกรรมใน ใบงานที่ 2.1 เรื่อง แบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล 6.2.6 นักเรียนนาเสนอผลการสารวจสิ่งมีชีวิตที่พบในระบบนิเวศภายในโรงเรียนหน้า
  • 17. ชั้นเรียน และอภิปรายเปรียบเทียบความคล้ายคลึงและความแตกต่างของสิ่งมีชีวิตในแต่ละระบบนิเวศ 6.2.7 นักเรียนร่วมกันศึกษาใบความรู้ที่ 2.2 เรื่อง องค์ประกอบของโครงงานและ การเขียนเค้าโครงของโครงงาน แล้วดาเนินการฝึกการเขียนเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจ เกียวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตภายในโรงเรียนตามใบงานที่ 2.2 เรื่องการเขียน ่ เค้าโครงของโครงงาน 6.3 ขั้นสรุป นักเรียนอภิปรายและสรุปร่วมกันเกี่ยวกับความหมายของสปีชีส์ ความหลากหลาย ของสปีชีส์ และกลไกการเกิดสปีส์ใหม่ 7. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 7.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต หน้า 146-151 7.2 ใบงานที่ 2.2 เรื่อง แบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล 7.3. www.ipst.ac.th 8. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ พบภายในสวนพฤกศาสตร์ในโรงเรียน มีการจัด กระทาข้อมูล และสรุปการสารวจได้ สิ่งมีชีวิตในแต่ละระบบของสิ่งมีชีวิตได้เป็นอย่างดี
  • 18. ใบความรู้ที่ 2.1 รายวิชา ว 40285 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต สปีชีส์ หมายถึง กลุ่มของประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ผสมพันธุ์กันแล้วได้ลูกหลานสืบ ทอดต่อไป (ไม่เป็นหมัน) เหตุที่สิ่งมีชีวิตในสปีชีส์เดียวกันสามารถผสมพันธุ์กันแล้ว ให้ลูกหลานที่สมารถสืบ ทอดลักษณะของสปีชีส์ต่อไปได้ เป็นผลมาจากความคล้ายคลึงกันในระดับโครโมโซม เมื่อโครโมโซมในเซลล์ สืบพันธุ์ของพ่อและแม่สามารถเข้าคู่กันได้ จะทาให้มีข้อมูลทางพันธุกรรมครบถ้วนส่งผลต่อให้ชีวิตใหม่ เจริญเติบโตขึ้นได้ สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์จะมีลักษณะเด่นเฉพาะซึ่งแตกต่างไปจากสปีชีส์อื่น สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกัน ดาเนินชีวิตในแบบแผนเดียวกน เช่น พฤติกรรมการหาอาหาร หรือพฤติกรรมการสืบพันธุ์ ที่คล้ายคลึงกัน เป็นต้น แม้สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์จะมีลักษณะเฉพาะที่ต่างไปจากสปีชีส์อื่น แต่ความหลากหลายภายในสปี ชีส์เดียวกันก็ยังมีอยู่ เป็นต้นว่า ความแตกต่างระหว่างสายพันธุ์ ความแตกต่างระหว่างเพศผู้กับเพศเมีย หรือ ความแตกต่างของลักษณะต่าง ๆ ระหว่างวัยที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่กับช่วงวัยที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้ว ความหลากหลายของสปีชีส์ สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะภายนอกคล้ายคลึงกัน อาจมีความแตกต่างทางพฤติกรรม และทางพันธุกรรม มากจนจัดเป็นสปีชีส์เดียวกันไม่ได้ เช่น นกจับแมลง 3 สปีส์ ที่ชาลส์ ดาร์วิน พบซึ่งมีความคล้ายคลึงกันมาก แต่จะมีการผสมพันธุ์แยกเฉพาะในแต่ละสปีชีส์ การแลกเปลี่ยนยีนจึงเกิดเฉพาะในกลุ่ม ทั้งนี้เนื่องจากแต่ละสปี ชีส์มีพฤติกรรมและเสียงร้องที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวในฤดูผสมพันธุ์ โลกเรามีสิ่งมีชีวิตที่ได้รับการระบุสปีชีส์แล้วมากกว่า 1 ล้าน 5 แสนสปีชีส์ โดยสิ่งมีชีวิตกลุ่มที่มี จานวนสปีชีส์มากที่สุดคือแมลง ซึ่งมีถึงประมาณ 750,000 สปีชีส์ การเกิดสปีชีส์ใหม่ เมื่อใดก็ตามที่สิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยๆ และมีการผสมพันธุ์เฉพาะภายในกลุ่ม กลุ่ม ประชากรแต่ละกลุ่มนี้มีสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพที่แตกต่างกัน การคัดเลือกตามธรรมชาติจะนาพาให้ ลักษณะพันธุกรรมของประชากรในกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มแตกต่างกันไปทุกทีจนกลายเป็นสปีชีส์ใหม่ที่เมื่อกลับมา รวมกันอีกครั้งก็ไม่ผสมพันธุ์กันหรือเมื่อผสมพันธุ์กันก็ได้ลูกที่เป็นหมันไม่สามารถสืบลูกหลานร่วมกันได้อีก สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันอาจไม่ผสมพันธุ์กัน มีสาเหตุหลายประการ เช่น มีสิ่งกีดขวางทาง ภูมิศาสตร์ ซึ่งอาจเกิดจากแม่น้าเปลี่ยนทิศทางแบ่งประชากรออกเป็น 2 ส่วนที่ไม่อาจข้ามไปมาได้ หรือกรณี การอพยพย้ายถิ่นโดยไม่กลับมาสืบพันธุ์กันในบริเวณเดิม การที่สิ่งมีชีวิตไม่ผสมพันธุ์ข้ามกลุ่มกันยังอาจเป็นผลมาจากการแปรผันทางพฤติกรรม เช่น ความแตกต่างของพฤติกรรมการหาอาหาร ที่ทาให้ประชากรย่อย ๆ ใช้เวลาส่วนใหญ่หาอาหารอยู่ต่างบริเวณ กัน หรือพฤติกรรมการสืบพันธุ์ที่กลุ่มประชากรที่อาศัยอยู่ร่วมกันเลือกผสมพันธุ์กันในกลุ่มย่อยเท่านั้น ในกรณี ต่าง ๆ เหล่านี้ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในประชากรแต่ละกลุ่มจะเปลี่ยนแปลงไปจนเกิดเป็นสปีชีส์ใหม่ขึ้นมาได้
  • 19. ใบความรู้ที่ 2.2 รายวิชา ว40285 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ ประกอบของโครงงานและการเขียนเค้ าโครง ของโครงงาน องค์ประกอบของโครงงานประกอบด้วย 1. ชื่อโครงงาน 2. ผู้ทาโครงงาน หรือคณะผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5. วัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน 6. สมมติฐานของการศึกษา 7. ขอบเขตของการทาโครงงาน 8. วิธีดาเนินการ 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 10. แผนการ/กาหนดเวลาปฎิบัติงาน
  • 20. เค้าโครงของโครงงาน การเขียนเค้าโครงของโครงงาน ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาและรายละเอียดที่เกี่ยวกับการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ที่มีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ เพื่อนาไปใช้ในการประกอบกับการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ในใบงานที่ 6 1. ชื่อเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน ชื่อเรื่องการทาโครงงานเรื่อง “………..” นั้นเป็นสิ่งสาคัญประการแรก เพราะ ชื่อโครงงานจะช่วยโยงความคิดไปถึงวัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน ฯ และ ควรกาหนดชื่อโครงงานให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักและสื่อความหมายถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องการจะศึกษาด้วย 2. ผู้ทาโครงงานหรือคณะผู้ทาโครงงาน เขียนชื่อผู้รับผิดชอบโครงงานฯ เพื่อจะได้ทราบว่าโครงงานนั้นอยู่ในความรับผิดชอบของใครและ สามารถติดตามได้ที่ไหน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา การเขียนชื่อผู้ให้คาปรึกษาควรให้เกียรติยกย่องและเผยแพร่ รวมทั้งขอบคุณที่ได้แนะนาการทา โครงงานจนบรรลุเป้าหมาย 4. ที่มาและความสาคัญ การเขียนที่มาและความสาคัญของโครงงาน คือ การอธิบายให้กระจ่างชัดว่าทาไม ต้องทา ทาแล้วได้อะไร หากไม่ทาจะเกิดผลเสียอย่างไร ซึ่งมีหลักการเขียนคล้ายการเขียนเรียงความทั่ว ๆ ไป คือ มีคานา เนื้อเรื่อง และสรุป ส่วนที่ 1 คานา : เป็นการบรรยายถึงนโยบาย เกณฑ์ สภาพทั่ว ๆ ไป หรือปัญหาที่มีส่วน สนับสนุนริเริ่มทาโครงงานฯ ส่วนที่ 2 เนื้อเรื่อง : อธิบายถึงรายละเอียดเชื่อมโยงให้เห็นประโยชน์ของการทาโครงงาน โดยมี หลักการ ทฤษฎีสนับสนุนเรื่องที่ศึกษา หรือการบรรยาย ผลกระทบ ถ้าไม่ทาโครงงานฯ เรื่องนี้ ส่วนที่ 3 สรุป : สรุปถึงความจาเป็นที่ต้องดาเนินการตามส่วนที่ 2 เพื่อแก้ไขปัญหา ค้นข้อความรู้ใหม่ ค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ให้เป็นไปตามเหตุผลส่วนที่ 1 5. วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ คือ กาหนดจุดมุ่งหมายปลายทางที่ต้องการให้เกิดจากการทาโครงงานฯ ในการ เขียนวัตถุประสงค์ต้องเขียนให้ชัดเจน อ่านเข้าใจง่ายสอดคล้องกับชื่อเรื่องของโครงงาน หากวัตถุประสงค์หลายประเด็นให้ระบุเป็นข้อ ๆ 6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลที่คาดว่าจะได้รับ คือ การคาดหวังถึงผลการดาเนินการตามโครงการ ในการเขียนต้อง คาดคะเนเหตุการณ์ว่าเมื่อได้ทาโครงงานสิ้นสุดลง ใครเป็นผู้ได้รับประโยชน์อย่างไรและได้รับมากน้อย เพียงใด ผลที่ได้รับสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ศึกษา6. สมมติฐานการศึกษา (ถ้ามี)
  • 21. สมมติฐานการศึกษา เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ผู้ทาโครงงานต้องให้ความสาคัญ เพราะ จะทาให้เป็นการกาหนดแนวทางในการออกแบบการทดลองได้ชัดเจนและรอบคอบ ซึ่งสมมติฐานก็คือ การ คาดคะเนคาตอบของปัญหาอย่างมีหลักและเหตุผล ตามหลักการทฤษฎี รวมทั้งผลของการศึกษาของ โครงงานที่ได้ทามาแล้ว 7. ขอบเขตของการศึกษา การกาหนดขอบเขตของการทาโครงงานก็เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่น่าเชื่อถือ ซึ่งได้แก่ การ กาหนดประชากร กลุ่มตัวอย่าง ตลอดจนตัวแปรที่ศึกษา 1) การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือการกาหนดประชากรที่ศึกษา อาจเป็นคนหรือสัตว์หรือพืช ชื่อใด กลุ่มใด ประเภทใด อยู่ที่ใด เมื่อเวลาใด รวมทั้งกาหนดกลุ่มตัวอย่างที่มี ขนาดเหมาะสมเป็นตัวแทนของประชากรที่สนใจศึกษา 2) ตัวแปรที่ศึกษา ส่วนมากมักเป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล หรือความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวแปรขึ้นไป ผู้ทาโครงงานต้องเข้าใจว่า ตัวแปรใด เป็นตัวแปรต้น ตัวแปรใดเป็นตัวแปรตาม และตัวแปรใดที่เป็นตัวแปรควบคุม เพื่อเป็นแนวทางการออกแบบ การทดลอง ตลอดจนมีผลต่อการเขียนรายงานการทาโครงงานที่ถูกต้อง สื่อความหมายให้ผู้ฟังและผู้อ่านให้ เข้าใจตรงกัน 8. วิธีดาเนินการ วิธีดาเนินการ หมายถึง วิธีการที่จะช่วยให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นนาเสนอโครงการ จนกระทั่งสิ้นสุดโครงการ ซึ่งประกอบด้วย 1) การกาหนดประชากร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา 2) การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล 3) การเก็บรวบรวมข้อมูล 4) การวิเคราะห์ข้อมูล ในการเขียนวิธีดาเนินการให้ระบุกิจกรรมที่ต้องทาให้ชัดเจนว่าจะทาอะไรบ้าง เรียงลาดับ กิจกรรมก่อนและหลังให้ชัดเจน เพื่อสามารถนาโครงการไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและถูกต้อง 9. แผนการกาหนดเวลาปฏิบัติงาน การทาโครงงานฯ ต้องกาหนดตารางเวลาดาเนินการทุกขั้นตอน เพราะการทาตารางเวลาจะ เป็นประโยชน์ให้ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง เป็นประโยชน์ต่อการติดตามประเมินผล การดาเนินงานแต่ละขั้นตอน จนสิ้นสุดการทาโครงงานฯ นั้น 10. เอกสารอ้างอิง เอกสาอ้างอิง คือ รายการเอกสารที่นามาอ้างอิงเพื่อประกอบการทาโครงงานตลอดจน การเขียนรายงานการทาโครงงานและควรเขียนตามหลักการที่นิยมกัน
  • 22. ใบงานที่ 2.1 รายวิชา ว 40285 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง แบบฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล ……………………………………………………………………………………………………… คาสั่ง ให้นักเรียนฝึกการเก็บรวบรวมข้อมูลและฝึกวิเคราะห์ผล และสรุปผลจากข้อมูล จากการสารวจระบบ นิเวศภายในโรงเรียน 1. ชือเรื่อง………………………………………………………………………………………… ่ 2. สถานที่ออกสารวจ……………………………………………………………………………… 3. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจ 4. วิธีดาเนินการ 5. ตารางบันทึกผลการสารวจ 6. อภิปรายผลการสารวจ 7. สรุปผลการสารวจ
  • 23. ใบงานที่ 2.2 รายวิชา ว 40285 วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเขียนเค้าโครงของโครงงาน …………………………………………………………………………………………………… 1. ชื่อโครงงาน ................................................................................................................................. 2. ผู้ทาโครงงาน หรือคณะผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5. วัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน 6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7. สมมติฐานของการศึกษา (ถ้ามี) ตัวแปรที่ศึกษา - ตัวแปรต้น - ตัวแปรตาม
  • 24. 8. ขอบเขตของการทาโครงงาน 9. วิธีดาเนินการ 10. แผนการ/กาหนดเวลาปฎิบัติงาน
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 ้ เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6เวลา 6 ชั่วโมง 30 คะแนน -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. เป้าหมายการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับการจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่ม ๆ ลักษณะสาคัญของ สิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่ม และความสัมพันธ์ระหว่างความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มในระบบนิเวศกับการ อนุรักษ์ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตเหล่านั้น 2. สาระสาคัญ (concept/ทักษะ/กระบวนการ) นักชีววิทยาจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ โดยพิจารณาจากข้อมูลหลายด้าน เกณฑ์ทาง กายภาพได้แก่ ความคล้ายคลึงในทางโครงสร้าง ออร์แกเนลล์ และสารเคมีภายในเซลล์ สิ่งมีชีวิตที่มีความ ใกล้ชิดกันทางพันธุกรรมมากจะมีความคล้ายคลึงกันมาก นกชีววิทยาจาแนกสิ่งมีชีวิตออกได้เป็น 5 กลุ่มใหญ่ หรือ 5 อาณาจักร คือ อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรเห็ดราและยีสต์ อาณาจักรพืช และอาณาจักรสัตว์ 3. สาระสาระการเรียนรู้ 3.2 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต 3.2.1 อาณาจักรมอเนอรา 3.2.2 อาณาจักรโพรทิสตา 3.2.3 อาณาจักรพืช 3.2.4 อาณาจักรสัตว์ 4. หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบัติการ แผนผังมโนทัศน์ของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรต่าง ๆ 5. แนวทางการตรวจให้คะแนน 5.1 แผนผังมโนทัศน์ ประเมินโดยใช้เกณฑ์ดังนี้ (10 คะแนน) รายการประเมิน ระดับคุณภาพ - เขียนผังมโนทัศน์ได้ครอบคลุมทุกอาณาจักร มีรายละเอียดครบถ้วน มี 4 ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตถูกต้อง ครบถ้วน - เขียนผังมโนทัศน์ได้ครอบคลุมทุกอาณาจักร มีรายละเอียดครบถ้วน มี 3 ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตถูกต้องไม่ครบถ้วน - เขียนผังมโนทัศน์ได้ครอบคลุมทุกอาณาจักร มีรายละเอียดไม่ครบถ้วน 2 มีตัวอย่างสิ่งมีชีวิตถูกต้อง - เขียนผังมโนทัศน์ไม่ครอบคลุมทุกอาณาจักร มีรายละเอียดไม่ครบถ้วน 1 มีตัวอย่างสิ่งมีชีวิตไม่ถูกต้อง
  • 26. เกณฑ์การให้คะแนน (การคิดคะแนนระดับคุณภาพที่ได้คูณด้วย 10 แล้วหารด้วย 4) 01.00– 03.00 คะแนน ปรับปรุง 07.00 – 08.00 คะแนน ดี 05.00 – 6.00 คะแนน พอใช้ 09.00 – 10.00 คะแนน ดีมาก เกณฑ์การประเมินตัดสิน ได้คะแนนตั้งแต่ 05.00 (ระดับคุณภาพพอใช้) ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้ 5.1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน นักเรียนและครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางสปีชีส์ ซึ่งมีผลทาให้สิ่งมีชีวิตมีความ หลากหลายมากขึ้น จึงได้มีนักวิทยาศาสตร์จัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่ม ๆ 5.2 ขั้นกิจกรรม 5.2.1 นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิต กับกระบวนการดารงชีวิต หน้า 151-156 และศึกษาใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และจาก www.ipst.ac.th 5.2.2 นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต และความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิต และอภิปรายตามประเด็นต่อไปนี้ - ระบุลักษณะเด่นของสิ่งมีชีวิตในแต่ละอาณาจักร - ระบุตัวอย่างสิ่งมีชีวิตแต่ละอาณาจักรที่พบในท้องถิ่นของนักเรียน - อธิบายคุณค่าและความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ - อภิปรายวิธีการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น 5.2.3 นักเรียนนาข้อมูลที่ได้ดาเนินงานตามขั้นตอนของโครงงานเชิงสารวจมาจัดทาเป็นรูปเล่ม ตาม ใบความรู้ที่ 3.2 เรื่องการเขียนรายงานโครงงาน 5.2.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงสารวจเกี่ยวกับความ หลากหลายของสิ่งมีชีวิต 5.2.5 นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาโครงงานของกลุ่มอื่น ๆ และมีการแลกเปลี่ยนรู้ และอภิปราย ร่วมกัน 5.3 ขั้นสรุป 5.3.1 นักเรียนและครูอภิปราย และสรุปร่วมกันเกี่ยวกับ 1) เกณฑ์ในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต 2) ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 5.3.2 นักเรียนเขียนผังมโนทัศน์เกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
  • 27. 6. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 6.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต หน้า 151-156 6.2 ใบความรู้ที่ 3.1 เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 6.3 ใบความรู้ที่ 3.2 เรื่องการเขียนรายงานโครงงาน 6.4 www.ipst.ac.th 7. บันทึกผลสรุปการจัดการเรียนการสอน นักเรียนสามารถระบุลักษณะเด่นของสิ่งมีชีวิต และแยกแยะสิ่งมีชีวิตที่ไปสารวจออกเป็น หมวดหมู่ได้ และดาเนินการทาโครงงานตามขั้นตอนที่ได้กาหนดไว้ ข้อเสนอแนะ ควรกาหนดให้นักเรียนออกสารวจบริเวณท้องถิ่นของนักเรียนเอง โดยใช้เวลาหลังเลิกเรียน หรือ วันเสาร์-อาทิตย์